ENG1001 ประโยคพื้นฐานและศัพท์ที่จําเป็นในชีวิตประจําวัน 1/2565

การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2565
ข้อสอบกระบวนวิชา ENG 1001 ประโยคพื้นฐานและศัพท์ที่จําเป็นในชีวิตประจําวัน
Part I: Structure (ภาคโครงสร้าง)
Choose the best answer.

1.Jane doesn’t like___food because she doesn’t eat raw fish.
1. China
2. England
3. Japanese
4. Vietnam
ตอบ 3 บทที่ 1 หน้า 5 – 8 คํานามเฉพาะ เป็นชื่อเรียกเฉพาะของ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ชื่อประเทศ
เป็นคํานามที่ต้องขึ้นต้นด้วยอักษรใหญ่ และมีการเปลี่ยนคํานามให้เป็นคุณศัพท์ หมายถึง ประชาชน เชื้อชาติ ภาษา เช่น Italy – Italian, China – Chinese, Indonesia – Indonesian, Japan – Japanese, Argentina – Argentine, Denmark – Dane, Danish, India – Indian, Greece – Greek, Belgium – Belgian, France – French, Russia Russian เป็นต้น

ข้อนี้เดาได้จากตัวเลือก 1-2-4 ล้วนเป็นชื่อประเทศ เหลือตัวเลือก 3 ที่เป็นเชื้อชาติ ชาวญี่ปุ่น จากโจทย์ต้องการ Japanese food = อาหารญี่ปุ่น (ของคนญี่ปุ่น) จึงตอบ Japanese

2.My new neighbor comes from____.She can speak____.
1. Chinese; China
2. Japanese; Japan
3. France; French
4. Greek; Greece
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 1. ประกอบ จากโจทย์ช่องแรก comes from มาจาก ตามด้วยประเทศที่ถูกมี France ชื่อประเทศตัวเลือกที่ 3 ช้อยเดียว และช่องที่สอง speak ตอบภาษา นั่นคือ French ภาษาฝรั่งเศส จึงตอบข้อ 3 ส่วนตัวเลือกอื่นช่องแรก Chinese, Japanese, Greek เป็นชื่อภาษา จึงผิด

3.On way to Scotland yesterday, I had to stop in the middle of the road because a _____of sheep was in my way.
1. flock
2. swarm
3. school
4. herd
ตอบ 1 หน้า 9 สมุหนาม (Collective Noun) หมายถึง คํานามที่มีความหมายแสดงกลุ่ม หมู่ พวก ที่ เป็นกลุ่มของคน สัตว์ สิ่งของ ใช้คําต่างกัน ออกสอบประมาณ 1-2 ข้อทุกเทอม
an army of soldiers ทหารกองหนึ่ง
a band of singers, musicians, outlaws = นักร้อง นักแสดงวงหนึ่ง ผู้ร้ายกลุ่มหนึ่ง
a bunch of keys, bananas, flowers = กุญแจพวงหนึ่ง กล้วยหวีหนึ่ง ดอกไม้ช่อหนึ่ง
a flock of sheep, birds, geese = แกะ นก ห่าน ฝูงหนึ่ง
a herd of cattle, cows, pigs = โค วัว หมู ฝูงหนึ่ง
a school of fish, whales = ปลาฝูงหนึ่ง ปลาวาฬฝูงหนึ่ง
a swarm of bees = ผึ้งฝูงหนึ่ง
a bundle of hay, cash, sticks = หญ้าแห้งกําหนึ่ง เงินมัดหนึ่ง กิ่งไม้มัดหนึ่ง
a brood of chickens, birds = ลูกไก่ ลูกนก คลอกหนึ่ง

4.After the accident, the____ were taken to the hospital immediately.
1. beautiful
2. poorness
3. injured
4. riches
ตอบ 3 หน้า 22 คํานามสมมูลย์ มีหลัก ใช้ the + adj. เป็นคํานาม เช่น the poor (คนจน) the rich (คนรวย) the good (คนดี) the bad (คนไม่ดี) the brave (คนกล้าหาญ) the old (คนแก่) the young (คนหนุ่มสาว) the dead (คนตาย) the wounded (คนบาดเจ็บ) the blind (คนตาบอด) the homeless (คนไร้ที่อยู่) the hungry (คนหิวโหย) the injured (คนบาดเจ็บ)

5.He bought a____of apples for his grandmother, so she promised to make him
an apple pie.
1. basket
2. roll
3. lump
4. fleet
ตอบ 1 หน้า 13 – 14 วัตถุนามจะสามารถนับได้ถ้าอยู่ในภาชนะหรือเป็นหน่วย ชั่ง ตวง วัด หรืออยู่ใน รูปร่างเป็นก้อนเป็นกลุ่ม เช่น a bag of rice ข้าวถุงหนึ่ง), a bottle of wine เหล้าไวน์ขวดหนึ่ง), a glass of milk (นมแก้วหนึ่ง), a jar of jam (แยมขวดหนึ่ง), a kilo of meat (เนื้อวัวกิโลหนึ่ง), two kilos of sugar (น้ำตาลสองกิโล), five spoonfuls of sugar (น้ำตาลห้าช้อน), a pound of flour (แป้งปอนด์หนึ่ง), a bar of soap (สบู่ก้อนหนึ่ง), two drops of ink (น้ำหมึกสองหยด), a loaf of bread (ขนมปังแถวหนึ่ง), a grain of rice (ข้าวเมล็ดหนึ่ง), a slice of pork (เนื้อหมูชิ้นหนึ่ง), two pieces of cake (ขนมเค้กสองชิ้น), a basket of apples (แอปเปิลตระกร้าหนึ่ง), a lump of coal (ถ่านก้อนหนึ่ง), a roll of toilet paper กระดาษชําระม้วนหนึ่ง), a feet of ships (เรือรบกองหนึ่ง)

6.Which of the underlined words is a noun?
1. We have to get up early tomorrow.
2. Mathematics is my favorite subject.
3. He is a great teacher.
4. I don’t need any help.
ตอบ 2 คําที่ขีดเส้นใต้คําไหนทําหน้าที่เป็นคํานาม
ชื่อวิชา เช่น Mathematics, Physics เป็นคํานามหรือดูจากขึ้นต้นประโยคเป็นคํานามตามด้วยกริยา is ส่วน early ทําหน้าที่เป็นคําวิเศษณ์ (adv.) great ทําหน้าที่เป็นคําคุณศัพท์ (adj.) ขยายนาม teacher และ need เป็นคํากริยาที่มีกรรมมารับ

7.You should have asked for____phone number when he was here yesterday.
Now, we have no way to contact him.
1. you
2. his
3. her
4. theirs
ตอบ 2 หน้า 117 – 122 บุรุษสรรพนาม (Personal Pronoun)

you ทําหน้าที่เป็นประธานและกรรม his/her ทําหน้าที่แสดงความเป็นเจ้าของที่มีคํานามตามหลัง ส่วน theirs แสดงความเป็นเจ้าของที่ไม่มีคํานามตามหลัง เมื่อดูโจทย์จะเห็นว่ามีคํานามขวามือคือ

phone number แสดงว่าสามารถตอบสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของที่มีคํานามตามหลังในคอลัมน์ที่ 3 ได้หมดนั่นคือ my, his, her, their, our, your และเมื่อเราดูโจทย์จะเห็นส่วนหลังประโยคมีคําว่า he was แสดงว่าสรรพนามข้างหน้าที่ใช้แทนควรเป็น his เพศชายตามด้วยจึงตอบตัวเลือกที่ 2 คือ his ไม่ใช่
her

8.Don’t worry. We still have____more weeks to finish the project.
1. any
2. much
3. a little a a a
4. a few
ตอบ 2 หน้า 319 สามารถเติมคําต่อไปนี้ เช่น a bit, a little, much, a lot, far, even นําหน้าการ เปรียบเทียบขั้นกว่าได้ เช่น much harder than, far better than, a little more slowly, much more weeks ได้ ข้อนี้เราใช้ much more แสดงถึงยังมีหลายสัปดาห์ที่จะทําโครงการให้เสร็จ แสดงใน แง่บวก ไม่ใช้คําว่า a little more ไม่เข้ากับประโยค

9.This is____fantastic apartment.____kitchen is spacious and there is____
sunlight everywhere.
1. a; The; the
2. the; The; a
3. (blank);The; the
4. a; The; (blank)
ตอบ 4 ใช้ “a” นําหน้าคํานามแสดงจํานวนหนึ่ง ว่าเป็น a fantastic apartment อพาร์ทเมนท์ที่สวยงาม แล้วกล่าวถึงห้องครัว ใช้ “the” เป็นการชี้เฉพาะ และคําว่า sunlight แสงอาทิตย์ เป็นคํานามนับไม่ได้ ก็ไม่ มี article นําหน้า จึงตอบ blank ตรงกับตัวเลือกที่ 4 4

10. I need to buy ____new books.I’ve already read every book in the house.
1. a
2. the
3. any
4. some
ตอบ 4 เป็นเรื่องคํานําหน้าคํานาม 3 นําหน้าคํานามเอกพจน์ the ชี้เฉพาะ แต่จากโจทย์ new books เป็นคํานามพหูพจน์ ตัวเลือก 1-2 จึงผิดไป และประโยคนี้เป็นบอกเล่า เราใช้ some + นามพหูพจน์ได้และ นิยมใช้กับประโยคบอกเล่า แสดงจํานวนหนึ่ง /บางจํานวน ส่วน any นิยมใช้ในประโยคปฏิเสธและคําถาม

11. The man on the stage is_____.
1. one of Mike’s cousin
2. Mike cousin’s
3. Mike’s cousin
4. Mike cousin
ตอบ 3 การแสดงความเป็นเจ้าของ 5 โดยหน้าเป็นคํานาม s หลังเป็นคํานาม เช่น Sam’s son, Bob’s friend ข้อนี้ก็เช่นกันเป็น Mike’s cousin ถ้าใช้ one of แสดงหนึ่งใน… ตามด้วยคํานามหลักขวามือเป็นนามพหูพจน์ เช่น She is one of my friends, one of Mike’s cousins เป็นต้น

12. Dan is very talented. He can play ____violin, and he is also good at____basketball.
1. the; (blank)
2. (blank); the
3. (blank); (blank)
4. the; the
ตอบ 1 หน้า 68 คํานามที่เป็นชื่ออุปกรณ์ดนตรีชนิดต่าง ๆ มี “the” นําหน้า เช่น
Can you play ……..? (คุณ……………ได้ไหม)
the guitar (กีตาร์), the violin (ไวโอนลิน), the flute (ขลุ่ย), the harp (พิณ), the saxophone (แซกโซโฟน), the Xylophone (ระนาด) และหน้า 74 ชื่อ เกม กีฬาต่าง ๆ ไม่มีarticle นำหน้า เช่น basketball, baseball, cricket, football, golf, hockey, ice- skating, soccer, squash, tennis, table tennis, volleyball ฉะนั้น ช่องแรกใช้ the ช่องหลังไม่มี article

13. We’ve got ____milk, but we haven’t got____honey.
1. any; any
2. some; some
3. any; some
4. some; any
ตอบ 4 some นิยมใช้ในประโยคบอกเล่า ส่วน any ในประโยคปฏิเสธ ฉะนั้นประโยคส่วนหน้าเป็นบอก เล่าจึงตอบ some และส่วนหลังมี haven’t = have not ปฏิเสธ จึงตอบ any

14. We miss ___trip to Chiang Mai last month. ____time was fantastic because
we had a chance to feed the elephant.
1. our; That
2. his; Its
3. theirs; This
4. they; Those
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 9. ประกอบ trip เป็นคํานาม ใช้คําสรรพนามประเภท our, his ได้ คงเหลือ ตัวเลือก 1-2 ประโยคส่วนหลังใช้ That + นามเอกพจน์ ก็คือ That time ถูกต้อง ใช้ Its time ไม่ถูกต้อง โครงสร้าง

15. Tina and Kate had a great time at the party. They enjoyed____.
1. herselves
2. theirselves
3. themselves
4. herself
ตอบ 3 ดูตารางในข้อ 9. ประกอบ สรรพนามที่สะท้อนตัวเองของประธาน They ก็คือ themselves

16.Ned is looking for his pen. I think the one in____ hand is____.
1. yours; him
2. your; him’s
3. your; his
4. yours; he’s
ตอบ 3 ดูตารางในข้อ 9. ประกอบ hand เป็นคํานาม ใช้สรรพนาม your และช่องที่ 2 ที่ให้เต็มไม่มี คํานามตามเราตอบคําสรรพนามที่อยู่ในคอลัมน์ที่ 4 คือ his

17. We’ve____beef in the fridge, but don’t have____else in there.
1. any; something
2. any; anything
3. some; anything
4. some; something
ตอบ 3 ส่วนแรกเป็นประโยคบอกเล่าใช้ some และส่วนหลังมีปฏิเสธใช้ anything

18. The children seem____because they aren’t allowed to play outside today.
1. sad
2. sadly
3. sadness
4. be sad
ตอบ 1 หน้า168 – 169, 218 – 219 คําคุณศัพท์ (adj.) ทําหน้าที่ ตามหลัง verb to be หรือหลัง linking verb (ได้แก่ is, am, are, was, were, feel, look, seem, keep, taste, smell, become, get, appear, remain, stay เป็นต้น ส่วน คํากริยาวิเศษณ์ (Adv.) ทําหน้าที่ขยายคํากริยาทั่วไป คําคุณศัพท์ และคํากริยาวิเศษณ์ ดูสูตร
1. S + Verb to be/ Vlk + adj.
2. S + Verb ทั่วไป + adv.
จากโจทย์มีกริยา seem เป็น linking verb จึงตอบ adj. คือ sad

19.____invited____to join____birthday party.
1. He; I; him
2. His; I; him
3. He; me; his
4. His; me; his
ตอบ 3 ช่องแรกใช้สรรพนามรูปประธานเพราะขึ้นต้นประโยคคือ He และช่องที่ 2 ให้ตอบหลังกริยา invited ก็ตอบรูปกรรมก็คือ me และ ช่องที่ 3 มีคํานาม birthday party ตามหลัง ต้องใช้คําสรรพนาม แสดงความเป็นเจ้าของที่มีคํานามตามนั่นคือ his

20.___shirt is too big for me. Let’s cross the street to____shop to get something else.
1. The; that
2. This; that
3. This; this
4. That; this
ตอบ 2 ใช้ This/That นําหน้าคํานามเอกพจน์ได้ ส่วน The ผิดก่อนเพราะไม่ได้ชี้เฉพาะ ส่วนแรกใช้ This
shirt แสดงสิ่งที่ใกล้ผู้พูดว่าเสื้อเชิ้ตนี้ ส่วนหลังที่ให้เติมนั้นจะต้องเป็น that แสดงถึงสิ่งที่อยู่ไกล ว่า that shop (ชักชวนกันข้ามถนนไปยังร้านนั้น) แสดงว่าร้านนั้นอยู่ไกล ใช้ that

21. He needs to buy a____shirt in his graduation ceremony.
1. Italian nice cotton
2. nice Italian cotton
3. cotton nice French
4. nice cotton French
ตอบ 2 หน้า 188 เป็นการเรียงคุณศัพท์ที่มีคุณศัพท์มาขยายคํานามหลายตัว โดยวางไว้หน้าคํานาม คือ คํานามหลักจะอยู่ขวามือของเรา ส่วนหน้าคํานามจะเป็นคุณศัพท์เรียงลําดับ ดังนี้

ที่โจทย์มี a และคํานามหลักขวามือคือ shirt แล้ว ถ้าเรามองตัวเลือกที่จะอยู่กับ shirt ได้ก็ต้องเป็น cotton shirt (เชิ้ตทําจากฝ้าย) และอยู่หน้า cotton ก็คือ Italian ก็ตอบตัวเลือก 2 ได้ หรือถ้ารู้คําว่า nice (ดีงาม) เป็น adj. บอกลักษณะก็ขึ้นก่อนเลย แล้วตามด้วยเชื้อชาติ Italian และนามขยาย cotton

22. This car is____nicer than my last one.
1. many
2. more
3. a little
4. a few
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 8. ประกอบ คําที่นําหน้าขั้นกว่าได้คือ much, a little เพราะที่โจทย์มี nicer เป็น ขั้นกว่าแล้วก็ตอบ a little ได้เลย

23. My new dollhouse is the_____toy I have ever owned.
1. most cute
2. cutest
3. more cute
4. most cute than
ตอบ 2 เราเห็น the และข้างหลังก็มีว่า I have ever owned (เท่าที่ฉันเคยมี) แสดงถึงการใช้ขั้นสุด เพราะ ถ้าเป็นขั้นกว่าจะไม่มี the ฉะนั้นจากคุณศัพท์ cute ทําเป็นขั้นสุดคือ Cutest ตัวเลือกที่ 2 ถูกต้อง ส่วนตัวเลือก ที่ 3-4 เป็นขั้นกว่าไม่ถูกต้อง

24. That shirt looks____You should buy it for your father.
1. be nice
2. nicer
3. nicely
4. nicer than
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 18. ประกอบ กริยา look เป็น linking verb ตามด้วยคําคุณศัพท์ได้เลยคือ nice สามารถใช้ขั้นกว่าก็ได้ว่าดูดีขึ้น look nicer และไม่มีต้องมี be ซ้อนอีกเพราะมีกริยา look แล้ว และไม่ต้องมี
than เพราะส่วนหลังไม่ได้บอกว่าเปรียบเทียบกับอะไร มีจบประโยคเลย

25. This movie seems____Let’s find something more____to watch.
1. boring; interesting
2. boring; interested
3. bored; interesting
4. bored; interested

ตอบ 1 หน้า 177 คุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย -ed, -ing ถ้าใช้กับคน หรือสิ่งมีชีวิต แสดงความรู้สึกใช้รูป – ed เช่น interested, surprised, bored (รู้สึกเบื่อ), disappointed เป็นต้น ถ้าใช้กับสิ่งของ หรือสิ่งไม่มีชีวิต ใช้รูป Ving เช่น interesting (น่าสนใจ), boring (น่าเบื่อ) อย่างโจทย์ข้อนี้ประธานเป็น สิ่งของทั้งสองช่องคือ This movie และ something (สิ่งของ) จึงตอบ boring (น่าเบื่อ) interesting(น่าสนใจ)

26. The baby is____ because it is unhappy.
1. crying
2. making
3. appearing
4. telling
ตอบ 1 กริยาที่ให้เติมแสดงถึงกริยาไม่มีกรรมและเข้ากับประโยคได้ก็คือ crying (The baby is
Crying = เด็กกําลังร้องไห้) ส่วนกริยา making, telling เป็นกริยามีกรรมมารับ และ appearing เป็น linking verb จะตามด้วยคําคุณศัพท์

27. “Is the pandemic over?”
The underlined “Is” is a/an____verb.
1. transitive
2. intransitive
3. linking
4. auxiliary
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 18. ประกอบ กริยา is เป็น linking verb

28. “ASEAN’s residential sector has the second largest electricity demand in the region.
The underlined “has” is a/an____verb.
1. transitive
2. intransitive
3. linking
4. modal
ตอบ 1 ถามว่า “has” ที่ขีดเส้นใต้เป็นกริยาประเภทไหน
กริยาไม่มีกรรม (intransitive verb) หรือกริยามีกรรม (transitive verb) สังเกตได้ง่าย คือดู หลังกริยา ถ้าหลังกริยาตามด้วยคํานามหรือสรรพนามแสดงว่าเป็นกริยามีกรรม แต่ถ้าไม่ใช่ ประเภทคํานามหรือสรรพนาม แสดงว่าเป็นกริยาไม่มีกรรม หรือหลังกริยาถ้ามีบุพบท (to, for, out, in) ตามหรือ adv. ตามแสดงว่าเป็นกริยาไม่มีกรรม (intransitive verb) เช่นข้อนี้

I drive to work every day. (กริยา drive มี to ตาม เป็นกริยาไม่มีกรรม)
The dog is barking loudly.
(กริยา bark มี adv. (loudly) ตามหลังเป็นกริยาไม่มีกรรม)
The boys kicked the ball.
(หลังกริยา kicked มีคํานาม (the ball) ตามแสดงว่าเป็นกริยามีกรรม
กริยา has ตามด้วยคํานาม the second…..ถ้ามี a/an/the นําหน้าแสดงว่าตามด้วยคํานาม
แสดงว่า has เป็นกริยามีกรรม (transitive verb)

29. “Mortgage applications have risen for the first time in six weeks.”
The underlined “risen” is a/an___verb.
1. transitive
2. intransitive
3. linking
4. ditransitive
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 28. ประกอบ กริยา risen ตามด้วยบุพบท for แสดงว่าเป็นกริยาไม่มีกรรม

30. “Mark left his brother some money before going to work.”
The underlined “left” is a/an____verb
1. intransitive
2. linking
3. ditransitive
4. modal

ตอบ 3 หน้า 215 กริยาบางตัวเป็นกริยาที่มีกรรม 2 ตัวมารับได้ (double transitive verb หรือ di- transitive) คือกรรมตรง และกรรมรอง โดยกรรมตรง มักเป็นสิ่งของ และตามด้วยบุรพบท
“to/for” แล้ว ตามด้วยกรรมตรงดูสูตรให้เรียงตามลําดับ อาจจะออก 1 ข้อ ให้เรียง สามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ
S + กริยา + กรรมตรง(สิ่งของ) + to/for + กรรมรอง(คน)
หรือ S + กริยา + กรรมรอง(คน) + กรรมตรง (สิ่งของ)

31. “Countless people around the world mourned the passing of Queen Elizabeth II.
The underlined “mourned” is a/an____verb.
1. linking
2. transitive
3. intransitive
4. ditransitive
ตอบ 2 กริยา moumed ตามด้วย the …. แสดงว่าเป็นคํานาม นั่นคือกริยามีกรรม (transitive verb)

32. Japan’s strict border restrictions____be loosened next week.
1. could
2. had to
3. ought
4. will
ตอบ 4 เราเดาได้จากที่มีคําบอกเวลา next week แสดงอนาคตใช้โครงสร้าง will + V1 นั่นคือตัวเลือก
ที่ 4 will be

33. Benjamin____speak three languages, but none of them well.
1. should
2. shall
3. can
4. must
ตอบ 3 เป็นเรื่องกริยาช่วย เราเห็นกริยาหลัก speak (พูด) ก็เดาได้ว่าต้องใช้ can เพราะ can แสดง ความสามารถ ว่าสามารถพูดได้ ถ้า should เป็นการแนะนํา shall เป็นอนาคต ขออนุญาต must แสดงจําเป็น ว่า ต้อง เป็นการบังคับ

34. A:____you turn that music down, Alex?
B: Sure.
1. Will
2. May
3. Need
4. Are able to
ตอบ 2 ผู้พูดต้องการขอร้องให้ทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดให้ ใช้ Will เช่น
-Will your tum on the air-conditioner? (ช่วยกรุณาเปิดแอร์ให้ด้วยค่ะ)

35. Student: Mrs. Williams,_____I ask a question, please?
Teacher: Yes, Jose.
1. shall
2. have to
3. may
4. ought to

ตอบ 3 ใช้กริยาช่วย may แสดงการขออนุญาตที่สุภาพเป็นอันดับแรก เช่น
May I smoke? (ขอสูบบุหรี่ได้ไหม?)

36. After this seminar, you____better design your career’s path.
1. should can
2. can should
3. are able to should
4. should be able to
ตอบ 4 ดูจากตัวเลือกเราเดาได้ว่าถ้าใช้ตัวเชื่อม will, shall, may, can, could, should, ought to, must อย่างใดอย่างหนึ่งในแต่ละสถานการณ์ แต่จะใช้ซ้อนกันสองตัวไม่ได้ ฉะนั้นตัวเลือกที่ 1 มีทั้ง shouldทั้ง can จึงผิด 2. ก็เช่นกันมีทั้ง can และ should ผิด คงเหลือตัวเลือก 3 และ 4 สามารถ ใช้should ขึ้นก่อนตามด้วยกริยาช่องที่ 1 เสมอก็คือ be แล้วตาม able to ได้ รวมกัน should be able to ถูก

37. It’s already 9:30. The children_____be hungry!
1. shall
2. must
3. would
4. are able to
ตอบ 2 ใช้กริยาช่วย must = ต้องแสดงความจําเป็น “9.30 แล้ว เด็ก ๆ ต้องหิวแน่ ๆ !
shall แสดงอนาคตหรือขออนุญาต would เป็นอดีตของ will ส่วน are able to แสดงสามารถ

38. Protein-rich diets can help you____weight.
1. lose
2. losing
3. lost
4. loses
ตอบ 1 หน้า 283 กริยา help สามารถตามด้วย to + V1 และ V1 ก็ได้ (ได้ 2 อย่าง) และบางครั้งอาจจะมีกรรมหลัง help ก็ได้ ดูตัวอย่าง
– Jane helped arrange the conference.
– Jane helped to arrange the conference.
– Jane helped me (to) arrange the conference.
ฉะนั้นข้อนี้ กริยา help + กรรม + ตอบ V1 ได้ และ to V1 ได้ จึงตอบ lose

39. A: Would you mind_____earlier tomorrow?
B: Not at all.
1. come
2. to come
3. came
4. coming
ตอบ 4 หน้า 276 กลุ่มวลีบางตัว เช่น
Would you mind
Do you mind
have/has trouble + Ving
have/has difficulty
Would you mind + Ving จึงตอบ coming

40. We really enjoyed____in Iceland.
1. travel
2. to travel
3. travelling
4. travelled
ตอบ 3 หน้า 274 กริยาเหล่านี้ตามด้วย Ving ได้แก่

กริยา enjoy ตามด้วย Ving จึงตอบ travelling

41. The supervisor encouraged Suchar____harder in his new position.
1. works
2. to work
3. work
4. working
ตอบ 2 หน้า 280 281 กริยาต่อไปนี้จะตามด้วย กรรมตรง + to + V1

 

กริยา encouraged + กรรม + to V1 จึงตอบ to work

42. Siriya’s boss came into the room, so she stopped____the Internet immediately.
1. browse
2. browses
3. to browse
4. browsing
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 40. ประกอบ กริยา stopped + Ving ในความหมายหยุดการกระทํานั้น

43. Adam parents let him____to Thailand two more years.
1. work
2. works
3. working
4. to work
ตอบ 1
หน้า 279 กริยาที่ตามด้วยกริยาช่องที่ 1 ไม่มี to ที่มักออกประจําคือ กริยา let หรือ make (made) + กรรม + V1 เช่น
His parents let John stay late during weekends.
The cashier made me pay in cash.
ฉะนั้นข้อนี้มี let + กรรม + V1 จึงตอบ work

44. Joe intends____Cynthia and Alex in Canada next year.
1. visit
2. to visit
3. visited
4. visiting
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 41. ประกอบ กริยา intend + to V1 จึงตอบ to visit

45. That____girt started to cry____with joy when she saw her mother come to pick
her up from school.
1. love; loud
2. lovely; loud
3. love; loudly
4. lovely; loudly
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 18. ประกอบ ช่องแรกให้ใส่หน้าคํานาม (girl) ก็คือ คําคุณศัพท์ (adj.) เพราะทํา หน้าที่ขยายคํานาม โดยมักวางหน้าคํานาม ตัวเลือกมี love กับ lovely ซึ่งคํานี้ เราลองนึกคําว่า love (ความรัก, รัก)เป็นคํานามหรือคํากริยา ส่วน lovely เป็น adj. ถึงแม้จะลงท้ายด้วย -ly ก็ตาม ซึ่ง -ly ลงท้ายมักเป็น adv. แต่กลุ่มเช่น costly, elderly, lonely, lovely, lively เป็น adj. และช่องที่ 2 เติมหลังกริยาทั่วไป cry ต้อง ตอบ adv. เพราะทําหน้าที่ขยายกริยา Cry จึงตอบ adv. loudly

46. Teerapong can speak English a lot____than before
1. good
2. well
3. better
4. best
ตอบ 3 เราเดาได้ด้วยการเห็น than จะต้องตอบขั้นกว่า คําที่เติมเป็น adv. เพราะขยายคํากริยา speak นั่น คือ well ทําเป็นขั้นกว่าอยู่ในรูปเดียวกับ good ก็คือ better จึงตอบ better ขั้นกว่า

47. A: Have you seen Edna____?
B: Yes. She arrived a white ago.
1. sometimes
2. very much
3. nowadays
4. yet
ตอบ 4 จากที่ B ตอบว่า เห็นค่ะ เธอมาเมื่อสักครู่นี้ นั่นแสดงว่า A ถามว่าได้เห็นเอ็ดน่าหรือยัง (yet)? มัก วางไว้ท้ายประโยค

48. It’s a good idea to____evaluate your computer’s settings to make sure there are
still right for you.
1. then
2. a lot
3. occasionally
4. there
ตอบ 3 คํากริยาวิเศษณ์ (adv.) ที่ทําหน้าที่ขยายกริยา evaluate แล้วได้ใจความสมบูรณ์คือ occasionally (บางครั้งบางคราว) แสดงความถี่ขยายกริยา evaluate (ประเมินบ้างเป็นครั้งเป็นคราว) นอกนั้น there (ที่นั่น) บอกสถานที่มักวางไว้ท้ายประโยค ส่วย a lot มีดีกรีมาก มักวางไว้ท้ายประโยค เช่นกัน ส่วน then (ต่อมา และแล้ว) แสดงเหตุการณ์ความถี่

49. Those people____want to get rid of illegal drugs in their neighborhood.
1. inside
2. many
3. more
4. really
ตอบ 4 adv. ที่นิยมวางไว้หน้ากริยาคือ really ทําหน้าที่ขยายกริยา want ว่าต้องการจริงๆ ส่วน inside บอกสถานที่ว่า อยู่ข้างใน ไม่วางหน้ากริยา สําหรับ many, more ก็เช่นกันไม่วางหน้ากริยา มักทําหน้าที่ขยาย
adj.

50. Those children were playing_____.
1. noisily in the backyard yesterday afternoon.
2. in the backyard afternoon noisily yesterday.
3. yesterday in the backyard afternoon noisily.
4. afternoon noisily in the backyard yesterday.
ตอบ 1 หน้า 315 ตําแหน่งการวางคํากริยาวิเศษณ์ (adv.) ที่มาขยายคํากริยาสําหรับข้อนี้คือ ขยาย กริยา play บอกอาการ บอกสถานที่ บอกเวลา เรียง

กริยา play เป็น adv. บอกท่าทาง บอกสถานที่ และบอกเวลา

51. This dress, as well these jeans,____for sale.
1. is
2. are
3. has
4. have
ตอบ 1 หน้า 340 ถ้าเจอประโยคที่มีเครื่องหมายคอมม่า (,) คั่น กริยาจะผันตามประธานข้างหน้า
ออกสอบสูตรนี้ทุกเทอม

กริยาผันตาม This dress ตอบกริยาเอกพจน์คือ is

52.The majority of James’ research results____reported.
1. has never been
2. have never been
3. has been never
4. have been never
ตอบ 2 นาม + of + นาม + กริยาจะผันตามคํานามที่อยู่หน้า of นั่นคือกริยาผันตาม The majority (คนส่วนใหญ่) ถึงแม้จะไม่ลงท้ายด้วย -5 ที่เป็นเหมือนนามปกติทั่วไป แต่ถือว่าเป็นคํานามพหูพจน์ จึงตอบ have และคําบอกเวลา never (ไม่เคย) จะวางไว้ตรงกลางระหว่าง have + V3 จึงตอบ have never been

53. Enteritis____an inflammation in the small intestine.
1. are
2. has
3. is
4. have
ตอบ 3 หน้า 343 ประธานที่เป็นชื่อวิชา ชื่อโรค ชื่อเกม แม้จะมีรูปเป็นพหูพจน์ แต่จัดเป็นคํานาม เอกพจน์เสมอ เช่น
– Mathematics has been his subject of interest since high school.
– Mumps causes your face to become swollen.
mumps (โรคคางทูม) เป็นนามเอกพจน์ และที่โจทย์ Enteritis (โรคลําไส้อักเสบ) เป็น เอกพจน์เช่นกัน จึงตอบ is (เป็น อยู่ คือ)

54. Which is correct?
1. Everyone lock good in pink, particularly me.
2. None of the Taylor’s friends are going to vote for her.
3. Greta inspiring so many young people.
4. Both the restrooms and the common area is being renovated.
ตอบ 2
1. ผิด เพราะประธาน Everyone เป็นเอกพจน์ตอบเป็น looks
2. ถูกต้องขึ้นต้นด้วยบอกจํานวนปริมาณ เช่น most of, half of, none of, เลขเศษส่วน + คํานาม + กริยาผันตามคํานาม ฉะนั้นกริยาผันตาม friends กริยาตอบเป็นพหูพจน์คือ are จึงถูกต้อง
3. ประธาน Greta ชื่อคนเป็นเอกพจน์ กริยาต้องเป็น is inspiring
4. ขึ้นต้นด้วย Both กริยาต้องเป็นพหูพจน์ คือ are

55. Alex____one of the youngest players who____been selected for the final match.
1. is; has
2. is; have
3. was; were
4. was; have
ตอบ 1 ประธานคือ Alex คนเดียวเป็นเอกพจน์ตอบ is/was ส่วนหลังที่ให้เติม เราต้องข้างหน้าก่อน ซึ่งมี one of + นามพหูพจน์ + กริยาเอกพจน์ เพราะผันตาม one of เป็นเอกพจน์ จึงตอบ has มีตัวเลือกเดียวกัน หลังที่เป็นเอกพจน์ จึงตอบ 1

56. Some of the passengers on the plane____very upset over the flight delay.
1. were
2. was
3. has been
4. had
ตอบ 1 หน้า 337 ประธานที่ขึ้นต้นเป็นจํานวนหรือปริมาณ และมี of คั่น
Some of
Half of
None of
Most of คํานาม     + กริยาผันตามคํานามที่อยู่หลัง of นี้
All of
เลขเศษส่วน

Some of the rice is damaged. (กริยา is ผันตามคํานาม rice เอกพจน์)
Most of the students do not like English.
(กริยา do พหูพจน์ผันตามนาม students)
ข้อนี้กริยาผันตามคํานาม the passengers ตอบกริยาพหูพจน์คือ were

57. According to the news reporter,____a building in the southeastern part of Taiwan.
1. people four rescued from
2. four people were rescued from
3. four people were rescued by
4. people were rescued four from

ตอบ 2 ประโยคต้องการประธานขึ้นก่อนคือ four people และตามด้วยกริยา were rescued รูป passive voice ถูกกระทํา verb to be + V3 = were rescued (ถูกช่วยเหลือ) จากก… ใช้ from ไม่ใช้ by (โดย) เพราะถ้าใช้ by … จะตามด้วยคน แต่ที่โจทย์เป็นสิ่งของ a building

58. Which is correct?
1. The refugees were sent back to their home country.
2. My boss sent me down to negotiate with Mr. Hudson.
3. Liz sent her mom flowers for Mothers’ Day.
4. All are correct
ตอบ 4 ตอบถูกทุกข้อ
1. กริยาถูกต้องใช้ were sent = ถูกส่ง (มาจากกริยา send sent sent ส่ง) ใช้รูปถูกกระทํา
2. กริยา sent ตามด้วยกรรม me ถูกต้อง
3. กริยา sent ตามด้วยกรรม her mom ถูกต้อง

59. Which is a sentence?
1. The pitcher tense before the game started.
2. Our workload has become heavier since last year.
3. Gabriel Carcia Marquez who won the Nobel Prize.
4. If we should ask the neighbors about when it happened.
ตอบ 2 ถามว่า “ข้อไหนเป็นประโยค (ที่ถูกต้อง)?
1. ประธานคือ The pitcher tense ขาดกริยาหลัก จึงไม่ถูกต้อง
2. เราเห็นคําบอกเวลา since …. ข้างหน้าใช้ Present Perfect Tense S + has/have V3) = has become ถูกต้อง
3. ประธานชื่อคน Gabriel Garcia Marquez แล้วมีอนุประโยค who… ขยาย แต่ยังไม่มีกริยาหลักเลย
4 มีคําเชื่อม If จะต้องมีอนุประโยคอีกท่อน แต่จากโจทย์กล่าวต่อเนื่องเลย ไม่มีประโยคหลักอีกอันจึงไม่ถูก

60. Which is correct?
1. At the end of the summer holidays, the kids to get ready to go back to school.
2. Mrs. Thompson gave her students to a reward in the auditorium.
3. On the way home, Matt at Ben’s apartment and talked about homework.
4. The board members appointed Josh as chairman of the new committee.
ตอบ 4 ข้อไหนถูกต้อง
1. ขึ้นต้น At…เป็นส่วนขยาย ประธานคือ the kid แล้วตามด้วย to เลย ถือขาดกริยาหลัก ควรเป็น will get
2. กริยา gave เป็นกริยามีกรรมมารับสองตัวถ้าใช้กรรมรอง(คน) และตามด้วยกรรมตรง (สิ่งของ) ไม่ต้องมี to คั่น ควรเป็น gave her students a reward ได้เลย
3. ประธานคือ Matt ต้องตามด้วยกริยาคือ Matt was at Ben’s
4. ถูกต้องกริยา appointed มีกรรมารับคือ Josh แล้วตามด้วยส่วนขยายกรรมซึ่งมักเป็นตําแหน่งงานนั่นคือ as chairman จึงถูกต้อง

61. Sean showed_____.
1. his work schedule to his wife
2. his schedule work for his wife
3. for his wife his work schedule
4. his wife for his work schedule
ตอบ 1 หน้า 214 กริยาบางตัวเป็นกริยาที่มีกรรม 2 ตัวมารับได้ (ditransitive verbs หรือ double
transitive verb) หรือเรียกว่า กริยาทวิกรรมคือกรรมตรง (direct object)และกรรมรอง

(indirect object)
โดยกรรมตรง มักเป็นสิ่งของ และตามด้วยบุรพบท “tolfor” แล้วตามด้วยกรรมตรง (คน) ดูสูตรนะคะ ให้เรียงตามลําดับ อาจจะออก 1 ข้อ ให้เรียงสามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ

S + กริยา + กรรมตรง(สิ่งของ) + to/for + กรรมรอง (คน)
S + กริยา + กรรมรอง(คน) + กรรมตรง (สิ่งของ)

 

 

กริยา กรรมตรง + to กรรมรอง (คน)

62. Despite the severe thunderstorm, the pilots____.
1. landed the successful plane
2. to land successfully
3. landed successfully
4. landed its plane
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 18. ประกอบ กริยา landed เป็นกริยาทั่วไปต้องการ adv. มาขยายกริยาทั่วไป เช่น
It rains continually in England during the winter time.
The pilots landed successfully. โดย successfully เป็น adv. ทําหน้าที่ขยายกริยา
landed

63. Sean could go skiing with his family, ___he could stay home and study for the exam.
1. and
2. or
3. for
4. so
ตอบ 2 ข้อนี้ให้ตอบคําเชื่อมความ เราต้องรู้ความหมายของแต่ละคําเชื่อมว่าใช้ในกรณีไหน เช่น

“ฌอนสามารถไปเล่นสกีกับครอบครัว หรือ อยู่บ้านอ่านหนังสือสอบก็ได้”
คําเชื่อมที่ถูกต้องคือ or (หรือ) เป็นการเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง

64. I will check up on you again next week;____you need to rest as much as possible.
1. instead
2. still
3. meanwhile
4. similarly
ตอบ 3 “ผมจะมาตรวจคุณอีกครั้งในสัปดาห์หน้า ขณะเดียวกันคุณต้องพักผ่อนให้มากที่สุด”
meanwhile = ในขณะเดียวกัน

65. Which is correct?
1. Pat opened the door, or she looked outside.
2. It was raining hard; however, I cancelled my appointment.
3. Liz tried to lift the suitcase; accordingly, it was too heavy.
4. Taylor forgot her purse; therefore, she needed to drive back to the office.
ตอบ 4 ข้อไหนถูกต้อง
1. คําเชื่อมไม่ถูกควรเป็น and นั่นคือ Pat opened the door, and she looked outside.
2. คําเชื่อมควรเป็น therefore (ดังนั้น) It was raining hard; therefore, I cancelled my appointment. (ฝนกําลังตากหนัก ดังนั้นฉันจึงยกเลิกการนัดของฉัน)
3. คําเชื่อมควรเป็น however (อย่างไรก็ตาม) Liz tried to lift the suitcase; however, it was too heavy. (ลิซพยายามยกกระเป๋าอย่างไรก็ตามมันหนักเกินที่จะยก)
4. คําเชื่อม therefore ถูกต้อง “เทย์เลอร์ลืมกระเป๋าเงินของเธอ ดังนั้นเธอจึงต้องขับรถกลับไปที่สํานักงาน”

66. Ronni asked Bob to change the light bulb,____he didn’t like fixing things.
1. but
2. so
3. and
4. for
ตอบ 1 “รอนนี่ขอให้บ๊อบเปลี่ยนหลอดไฟ แต่เขาไม่ชอบซ่อม” คําเชื่อม but แสดงความแย้ง

67. Nicki and I were delayed at the airport; _____we would have had enough time
to visit the floating market.
1. therefore
2. nevertheless
3. otherwise
4. finally
ตอบ 1 นิคกับฉันถูกล่าช้าที่สนามบิน ดังนั้นพวกเราจึงมีเวลาเพียงพอที่จะไปเที่ยวตลาดน้ำ”

68. Which is correct?
1. Grace told Ray to turn down the radio; moreover, he didn’t and left the room.
2. Max wants to buy a new bike, nor he can’t afford a new one.
3. James dropped his brand-new mobile phone on the, for it broke.
4. Tammy doesn’t like Jim, yet she often hangs out with him.
ตอบ 4 ข้อไหนถูกต้อง
1. ควรเป็น Grace told Ray to turn down the radio; however, he didn’t and left the room. (เกรซบอกเรย์หรี่วิทยุ แต่เขาไม่ทําและออกจากห้องไป
2. ควรเป็น Max wants to buy a new bike, but he can’t afford a new one. (แม็กซ์ต้องการซื้อจักรยานคันใหม่ แต่เขาไม่สามารถซื้อคันใหม่ได้)
3. ควรเป็น James dropped his brand-new mobile phone on the floor, so it broke. (เจมส์ทํามือถือเครื่องใหม่ตกพื้น ดังนั้นมันก็เลยฟัง)
4. “แทมมี่ไม่ชอบจิม แต่กระนั้นเธอก็ไปเที่ยวกับเขาบ่อย ๆ” ใช้คําเชื่อม yet แต่กระนั้น ถูกต้อง

69. Ron clapped loudly____Tanya went up onstage.
1. how
2. which
3. if
4. when
ตอบ 4 “รอนปรบมือเสียงดังเมื่อธันย่าขึ้นไปบนเวที” ใช้ when (เมื่อ) แสดงเวลา

70. Which is correct?
1. Joe earned an A which she studied very hard everyday.
2. Steve was astonished when he knew that Sofia broke up with Finn.
3. Alan cleaned up the kitchen where his mother came back.
4. That my kids love watching cartoons on weekends.

ตอบ 2 “ข้อไหนถูกต้อง”
1. ควรเป็น Joe eamed an A when she studied very hard every day.
ใช้ when เมื่อ และ every day (ทุกวัน) ต้องห่างกัน
2. ถูกต้อง ใช้ when เมื่อ แสดงเวลา
3. ควรเป็น Alan cleaned up the kitchen when his mother came back.
4. ควรเป็น My kids ข้างหน้าไม่ต้องมี That ก็คือ That กับ my เป็นคํานําหน้าคํานามทั้งคู่ จะใช้สองตัวซ้อน กันไม่ได้

71._____my kids aren’t on Facebook often, they have more time to study and talk to me.
1. Since
2. Why
3. Before
4. That
ตอบ 1 “เนื่องจากลูก ๆ ของฉันไม่ได้เล่นเฟสบุ๊คบ่อย พวกเขาจึงมีเวลาศึกษาและพูดคุยมากขึ้นกับฉัน” คํา Since = Because = เนื่องจาก เพราะว่า

72. Gordon guzzled chips and chocolate bars all day_____he is on a diet.
1. unless
2. because
3. as soon as
4. although
ตอบ 4 “กอร์ดอนกินของขบเคี้ยวและช็อคโกแลตแท่งทั้งวัน ถึงแม้ว่าเขาจะกําลังไดเอทอยู่ก็ตาม”
although = ถึงแม้ว่า แสดงความแย้ง
unless = นอกเสียจาก
because = เพราะว่า
as soon as = ทันทีทันใด

73. The guy____I just told you about is Jennie’s cousin.
1. who
2. whom
3. whose
4. this
ตอบ 2 หน้า 401 – 410 ให้เติมประพันธ์สรรพนาม โดยให้สังเกตจากข้างหน้าคําที่ให้เติมช่องว่างว่า เป็นคนหรือสิ่งของหรือสถานที่ เราดูคํานามข้างหน้าก่อนว่าเป็นอะไร ถ้าเป็น
คน who + verb (คํากริยา) ในที่นี้คือ is
คน whose + คํานาม + V
คน whom + S + Verb คําว่า S มักเป็นคําสรรพนามเช่น I saw, you met
สิ่งของ which + Verb หรือ which + S + V.
สถานที่ where + S + V. เช่น where I live
เวลา when + S + V
the reason why + S + V
ข้างหน้ามี The guy (ผู้ชาย) เป็นคน และขวามือเป็นคําสรรพนามรูปประธาน I just told ต้องตอบ whom เพราะ whom + ตามด้วยสรรพนามรูปประธาน (I) ถ้าเป็น who + กริยา และ whose + คํานาม

74. Brad loves camping, _____his wife enjoys reading and cooking at home.
1. when
2. where
3. even if
4. whereas
ตอบ 4 “แบรดชองตั้งแคมป์ ขณะที่ภรรยาชอบอ่านหนังสือและทําอาหารที่บ้าน” when = เมื่อ แสดงเวลา where แสดงสถานที่ even if = ถึงแม้ว่า whereas = แต่ ในขณะที่ แสดงความแย้ง เหมือนกับ but

75. Which is correct?
1. When Eric first met Joan, and he didn’t like her.
2. Before you leave the room, you must close all the windows.
3. I don’t know when or not the package has arrived.
4. What Linda kept telling us beyond our imagination.
ตอบ 2 ข้อไหนถูกต้อง
1. ผิดตรงที่โจทย์มีคําเชื่อม When เมื่อ… แล้ว จะมี and มาคั่นอีก ไม่ถูกต้อง
2. ถูกต้อง “ก่อนคุณออกจากห้อง คุณต้องปิดหน้าต่างทุกบาน” ใช้ Before (ก่อน)
3. ควรเป็น I don’t know whether or not the package has arrived, whether มักคู่กับ or not
4. ควรเป็น What Linda kept telling us was beyond our imagination.
ขึ้นต้นด้วย What…..telling us เป็น Noun Clause อนุประโยคที่ขึ้นต้นเป็นประธานต้องตาม
กริยาหลักคือ was

Part II: Vocabulary (คําศัพท์)
Choose the best answer.

76. In Japanese_____food is a hugely important part.
1. culture
2. condition
3. riot
4. series
ถาม ในวัฒนธรรมญี่ปุ่น อาหารเป็นส่วนสําคัญอย่างยิ่ง
ถ้าดูจากตัวเลือกแล้ว หาดูคําศัพท์ที่เรามีเรียนในวิชา ENG 1001 จะคงเหลือตัวเลือกที่ 1 และ 3 แต่ เมื่อข้อความข้างเคียงมีคําว่า Japanese (คนญี่ปุ่น) ก็อาจเดาคําว่าวัฒนธรรมได้เลย เราไม่ตอบว่าการ จลาจลญี่ปุ่นแน่
ตอบ 1 1. วัฒนธรรม 2. สภาพ เงื่อนไข 3. การจลาจล 4. ละครที่เล่นเป็นตอน ๆ ชุด ๆ

77. The new car is far_____to the old one. For one thing, it has a built-in navigation system.
1. superior
2. delicate
3. frightening
4. adorable
ถาม รถรุ่นใหม่ดีกว่ารถรุ่นเก่ามาก สิ่งหนึ่งคือมันมีระบบนําทางติดตั้งในรถ
ตอบ 1 1. ดีกว่า เหนือกว่า 2. เปราะบาง 3. ตกใจกลัว 4. น่ารัก
เรามีเรียน superior ที่มักตามด้วย to จึงเดาตอบตัวนี้ได้ ส่วน frightening ใช้กับความรู้สึกตกใจ
น่ากลัว

78. Pamela was clear about her____as a mother.
1. uncertainty
2. pattern
3. supply
4. role
ถาม พาเมล่าชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทของเธอในฐานะแม่
ตอบ 4 1. ความไม่แน่นอน 2. รูปแบบ 3. สิ่งของ 4. บทบาท
เรามีเรียน uncertainty กับ role พอจะเดาได้จากส่วนหลังที่ว่าในฐานะแม่ นั่นคือ บทบาท

79. Ken was confident, so her sang on stage in English without ____.
1. self-doubt
2. freedom
3. responsibility
4. suggestion
ถาม เคนมีความมั่นใจ ดังนั้นเธอจึงร้องเพลงบนเวทีเป็นภาษาอังกฤษด้วยความมั่นใจ
ตอบ 1 1. ความไม่แน่ใจในตัวเอง 2. เสรีภาพ 3. ความรับผิดชอบ 4. คําแนะนํา
self-doubt = ความไม่แน่ใจในตัวเอง แต่ที่โจทย์มี without (ไม่ ปราศจาก) รวมกันคือความมั่นใจในตัวเอง

80. His idea is very____Companies all over the world have adopted his methods to
maximize their profits.
1. naive
2. ambiguous
3. influential
4. emotional
ถาม ความคิดของเขามีอิทธิพลมาก บริษัทต่าง ๆ ทั่วโลกได้นําวิธีการของเขาไปใช้เพื่อผลกําไรสูงสุด
ตอบ 3 1. ไร้เดียงสา2. คลุมเครือ 3. มีอิทธิพล 4. เต็มไปด้วยอารมณ์
จากตัวเลือกหากจะเดาได้ก็คือดูว่าเราเรียนคําศัพท์ใน ENG 1001 คําเดียวคือ influential

81. That building is government_____ so you can’t enter without authorization.
1. president
2. source
3. property
4. principle
ถาม อาคารนั้นเป็นทรัพย์สินของรัฐบาล ดังนั้นจึงไม่สามารถเข้าไปได้หากไม่ได้รับอนุญาต
ตอบ 3 1. ประธาน 2. แหล่งที่มา กําเนิด 3. ทรัพย์สมบัติ 4. หลักการ
เรามีเรียน Source แหล่ง อาจตามด้วย from / of แต่เดาจากข้อความหลังว่า เข้าไม่ได้แสดงว่า เป็นทรัพย์สินที่ส่วนตัวเจาะจง

82. Students should____on studying.
1. get rid of
2. concentrate
3. involve
4. beautify
ถาม นักเรียนควรตั้งใจเรียน
ตอบ 2
1. กําจัด
2. มีสมาธิ ตั้งใจ
3. เกี่ยวพัน
4. ทําให้สวย
กริยา concentrate on = focus on = จดจ่อ มีสมาธิ ตั้งใจ

83. Although Tim is an American citizen, he is Asian by_____.
1. campus
2. descent
3. rivalry
4. purpose
ถาม แม้ว่าทีมจะเป็นพลเมืองอเมริกัน แต่เขาก็มีเชื้อสายเอเชีย
ตอบ 2 1. วิทยาเขต 2. ต้นตระกูล สายโลหิต 3. คู่แข่ง 4. จุดประสงค์
มีเรียน Campus ใช้กับพื้นที่ มหาวิทยาลัยเป็นต้น แต่ที่โจทย์กล่าวถึง citizen พลเมือง แสดงว่า ตอบศัพท์ descent หมายถึง ต้นตระกูล เชื้อสาย

84. I want a teacher who can satisfy my____The ones I got now don’t like it when I
ask questions.
1. volunteer
2. aspect
3. meaning
4. curiosity
ถาม ฉันต้องการครูที่สามารถตอบสนองความอยากรู้ของฉัน สิ่งที่ฉันได้รับตอนนี้ฉันไม่ชอบเมื่อฉันถาม
คําถาม
ตอบ 4
1. อาสาสมัคร
2. ลักษณะ แง่
3. ความหมาย
4. ความอยากรู้อยากเห็น

85. The design____ are a bit complicated. That’s why some people don’t like this
building.
1. concepts
2. fairness
3. promotion
4. individuals
ถาม แนวคิดการออกแบบค่อนข้างซับซ้อน นั่นเป็นเหตุผลที่บางคนไม่ชอบอาคารนี้
ตอบ 1 1. แนวคิด ความคิด 2. ความยุติธรรม 3. การเลื่อนตําแหน่ง 4. แต่ละบุคคล

86. Our sales went up by 25% last month. I think Lana did a____job as the new head of marketing.
1. close
2. terrific
3. broad
4. false
ถาม ยอดขายของเราเพิ่มขึ้น 25% เมื่อเดือนที่แล้ว ฉันคิดว่าลาน่าทํางานได้ยอดเยี่ยมในฐานะเป็นหัวหน้า
ฝ่ายการตลาดคนใหม่
ตอบ 2 1. ปิด 2. ยอดเยี่ยม มหัศจรรย์ 3. กว้างขวาง 4. ผิด

87. If we succeed, it will be the greatest scientific____of the decade.
1. meaning
2. rivalry
3. extension
4. achievement
ถาม ถ้าเราทําสําเร็จ มันจะเป็นความสําเร็จทางวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของทศวรรษ
ตอบ 4 1. ความหมาย 2. การแข่งขัน 3. การยืด ขยาย 4. ความสําเร็จ

88. The book____Anna as a devoted mother and loving wife.
1. approached
2. portrayed
3. believed
4. considered
ถาม หนังสือเล่มนี้พรรณนาแอนนาเป็นแม่ที่อุทิศตนและเป็นภรรยาที่น่ารัก
ตอบ 2 1. เข้าใกล้ 2. บรรยาย พรรณนา 3. เชื่อ 4. คิด พิจารณา
มีเรียน approached เข้าใกล้ ใช้กับสถานที่ ประธานเป็นคน เช่น ใกล้อาคาร หรือทะเล เป็นต้น ประธานเป็นหนังสือใช้ portrayed บรรยาย

89. Vicky answered without the slightest____when she was asked to join our company.
1. community
2. opportunity
3. trophy
4. hesitation
ถาม วิกกี้ตอบโดยไม่ลังเลแม้แต่น้อย เมื่อเธอถูกขอให้เข้าร่วมบริษัทของเรา
ตอบ 4 1. ชุมชน 2. โอกาส 3. ถ้วยรางวัล 4. ความรีรอ ลังเล
เดาจากตัวเลือกมีเรียนคําศัพท์วิชานี้ตัวเดียวคือ hesitation

90. Do you know that ketchup is____made from potatoes?
1. briskly
2. efficiently
3. healthily
4. primarily
ถาม คุณรู้หรือไม่ว่าซอสมะเขือเทศทํามาจากมันฝรั่งเป็นหลัก
ตอบ 4 บทที่ 5 1. อย่างเร็ว 2. อย่างมีประสิทธิภาพ 3. แข็งแรง 4. เป็นหลัก สําคัญ
ถ้าเดาจากตัวเลือกมีเรียนที่เป็น y คือ briskiy / primarily คําแรก briskly ใช้เช่น walk briskly เดิน พูด เป็นต้น ส่วนข้อนี้กล่าวถึงสิ่งของที่ทํามาจาก…. เป็นหลัก

91. Einstein’s natural_____led him to ask many questions each day.
1. curiosity
2. decision
3. property
4. talent
ถาม พรสวรรค์ตามธรรมชาติของไอน์สไตน์ทําให้เขาถามคําถามมากมายในแต่ละวัน
ตอบ 4 บทที่ 6 1. ความอยากรู้อยากเห็น 2. การตัดสินใจ 3. ทรัพย์สมบัติ 4. พรสวรรค์

92. I do enjoy reading the book Tim gave me. It’s a collection of American____.
1. benefit
2. waterway
3. humor
4. hesitation
ถาม ฉันสนุกกับการอ่านหนังสือที่ทิมให้ฉัน มันเป็นการรวบรวมอารมณ์ขันแบบอเมริกัน
ตอบ 3 1. ผลดี ประโยชน์ 2. ทางน้ำ 3. อารมณ์ขัน 4. ความลังเล

93. Dan’s____ over the loss of his grandmother never subsided.
1. .action
2. custom
3. misery
4. reward
ถาม ความเศร้าโศกของแดนต่อการสูญเสียคุณย่าของเขาไม่เคยบรรเทาลง
ตอบ 3 1. การกระทํา 2. วัฒนธรรม 3. ความทุกข์ ความเศร้า 4. รางวัล

94. It’s clear that the woman has been trying to___ her desire to become the next
manager.
1. boost
2. fulfil
3. lose
4. dislike
ถาม เห็นได้ชัดว่าผู้หญิงคนนี้พยายามเติมเต็มความปรารถนาของเธอที่จะเป็นผู้จัดการคนต่อไป
ตอบ 2 บทที่ 3 1. สนับสนุน ส่งเสริม 2. เติมเต็ม 3. แพ้ สูญเสีย 4. ไม่ชอบ
คําว่า fulfil one’s desire = ทําให้ความปรารถนานั้นเติมเต็มหรือสมบูรณ์

95. It’s not very nice of him to find ____with other people.
1. expression
2. fault
3. decision
4. opinion
ถาม ไม่ใช่เรื่องดีสําหรับเขาที่จะหาความคิดเห็นกับคนอื่น
ตอบ 4 บทที่ 7 1. การแสดงออก 2. ความผิดพลาด 3. การตัดสินใจ 4. ความคิดเห็น

96. Most college freshmen really enjoy their newfound____.
1. amount
2. betrayal
3. independence
4. worry
ถาม นักศึกษาปีหนึ่งของมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ชอบความเป็นอิสระที่ได้ค้นพบสิ่งใหม่ ๆ
ตอบ 3 บทที่ 7 1. จํานวน 2. การทรยศ 3. ความเป็นอิสระ 4. ความกังวล

97. Susan’s____whether she will further her M.A. now or later has been made.
1. custom
2. action
3. talent
4. decision
ถาม ซูซานได้ทําการตัดสินใจแล้วว่าเธอจะเรียนต่อในระดับปริญญาโทตอนนี้หรือหลังจากนี้
ตอบ 4 1. วัฒนธรรม 2. การกระทํา 3. พรสวรรค์ 4. การตัดสินใจ

98. The first rule of life is that____have consequences, John.
1. actions
2. conclusions
3. failures
4. properties
ถาม กฎข้อแรกของชีวิตคือ การกระทํามีผลตามมานะ จอห์น
ตอบ 1 1. การกระทํา 2. ข้อสรุป 3. ความล้มเหลว 4. คุณสมบัติ

99. What’s the____of money I have to pay you, Bill?
1. amount
2. surface
3. concept
4. extension
ถาม ฉันต้องจ่ายจํานวนเงินให้คุณเท่าไหร่ บิลล์
ตอบ 1 1. จํานวน 2. พื้นผิว 3. แนวคิด 4. การขยาย

100. it’s hard to____students in an online class.
1. value
2. seek
3. frighten
4. motivate
ถาม เป็นการยากที่จะกระตุ้นนักเรียนในชั้นเรียนออนไลน์
ตอบ 4 บทที่ 10 1. คุณค่า 2. เสาะหา 3. ทําให้ตกใจ 4. กระตุ้น ปลุกเร้า

101. Gambling and alcoholism affect all____of family life.
1. stereotypes
2. fairness
3. aspects
4. notions

ถาม การพนันและโรคพิษสุราเรื้อรังส่งผลกระทบต่อชีวิตครอบครัวทุกด้าน
ตอบ 3 บทที่ 9 1. แบบแผน 2. ความยุติธรรม 3. ด้าน แง่มุม 4. ความคิด

102. Let me reiterate that we are____with foreign companies for a share of the market.
1. tightening
2. competing
3. falling
4. viewing
ถาม ขอย้ำอีกครั้งว่าเรากําลังแข่งขันกับบริษัทต่างชาติเพื่อชิงส่งแบ่งตลาด
ตอบ 2 บทที่ 9 1. แน่นตึง 2. แข่งขัน 3. ล้ม ตก 4. ดู มอง

103. George’s sickness has given him a whole new____on wealth.
1. graduation
2. rivalry
3. merit
4. perspective
ถาม ความเจ็บป่วยของจอร์จทําให้เขามีมุมมองใหม่เกี่ยวกับความมั่งคั่ง
ตอบ 4 บทที่ 9 1. การสําเร็จการศึกษา 2. การแข่งขัน 3. การทําบุญ 4. มุมมอง

104. I think you are looking for a mature and ____relationship.
1. meaningful
2. viewpoint
3. sincerity
4. experience
ถาม ฉันคิดว่าคุณกําลังมองหาความสัมพันธ์ที่เป็นผู้ใหญ่และมีความหมาย
ตอบ 1 บทที่ 9 1. มีความหมาย 2. มุมมอง 3. ความจริงใจ ซื่อสัตย์ 4. ประสบการณ์

105. Not everyone is____ by self-interest.
1. approached
2. motivated
3. extended
4. pursued
ถาม ไม่ใช่ทุกคนที่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน
ตอบ 4 1. เข้าใกล้ 2. กระตุ้น 3. ขยาย 4. แสวงหา ติดตาม

106. Susan’s famous painting____life after death.
1. myths
2. portrays
3. causes
4. continues
ถาม ภาพวาดที่มีชื่อเสียงของซูซานพรรณนาถึงชีวิตหลังความตาย
ตอบ 2 บทที่ 10 1. ตํานาน 2. พรรณนา 3. สาเหตุ 4. ดําเนินต่อไป

107. This victory may be a____for us to win the trophy.
1. springboard
2. point
3. believe
4. story
ถาม ชัยชนะครั้งนี้อาจะเป็นจุดเริ่มต้นให้เราคว้าถ้วยรางวัล
ตอบ 1 1. จุดเริ่มต้น 2. จุด 3. เชื่อ 4. เรื่องราว

108. Sometimes starting a new life in a new country is both____and exciting.
1. approachable
2. continued
3. unscientific
4. scary
ถาม บางครั้งการเริ่มต้นชีวิตใหม่ในประเทศใหม่มีทั้งสิ่งที่น่ากลัวและน่าตื่นเต้น
ตอบ 4 1. สามารถเข้าใกล้ 2. ดําเนินต่อไป 3. ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ 4. น่ากลัว ตื่นตระหนก

109. The truck driver was still____when the ambulance arrived.
1. affective
2. speculative
3. conscious
4. obvious
ถาม คนขับรถบรรทุกยังมีสติเมื่อรถพยาบาลมาถึง
ตอบ 3 1. เกี่ยวกับอารมณ์ 2. คาดเดา คาดการณ์ 3. มีสติรู้สึกตัว 4. ชัดเจน

110. Don is a smart and____young man.
1. sophisticated
2. representative
3. inclusive
4. reflexive
ถาม ตอนเป็นชายหนุ่มที่ฉลาดและมีการศึกษา
ตอบ 1 1. มีการศึกษา ซับซ้อน 2. ตัวแทน 3. รวมถึง 4. สะท้อน

111. The learners should be able to draw a/an____between traditional and modern
societies.
1. expression
2. convention
3. image
4. distinction
ถาม ผู้เรียนควรสามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างสังคมดั้งเดิมและสังคมสมัยใหม่ได้
ตอบ 4 1. การแสดงออก 2. ธรรมเนียม 3. ภาพลักษณ์ 4. ความแตกต่าง
คํา distinction มักคู่กับ between = ความแตกต่างระหว่าง….

112. Panya’s refusal to work on weekends was____as a lack of commitment to the organization.
1. represented
2. interpreted
3. aware
4. created
ถาม การปฏิเสธของปัญญาที่จะทํางานในวันหยุดสุดสัปดาห์ถูกตีความว่าเป็นการขาดความผูกพันต่อ
องค์กร
ตอบ 2 บทที่ 11 1. แทน 2. ตีความ แปลความ 3. รู้ ตระหนัก 4. สร้าง ก่อเกิด

113. Moving to a new school can be a/an_____for young children.
1. causes
2. surface
3. layer
4. upheaval
ถาม การย้ายไปยังโรงเรียนใหม่อาจเป็นเรื่องการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่สําหรับเด็กเล็ก
ตอบ 4 1. สาเหตุ 2.พื้นผิว 3. ชั้น 4. การเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่

114. Aunt Nana taught Rita to____the paper along dotted line, and she could do it.
1. collapse
2. erupt
3. fold
4. experience
ถาม ป้านานาสอนริต้าพับกระดาษตามเส้นประและเธอก็ทําได้
ตอบ 3 บทที่ 12 1. ทรุด ยุบ 2. ประทุ ระเบิด 3. พับ ม้วน งอ 4. ประสบการณ์

115. If you watch my video, you would enjoy the beauty of New England____.
1. landscape
2. succession
3. pang
4. pain
ถาม ถ้าคุณดูวิดีโอของฉัน คุณจะเพลิดเพลินไปกับความสวยงามของภูมิทัศน์ของนิวอิงแลนด์ ตอบ 1 บทที่ 12 1. ภูมิทัศน์ 2. ความต่อเนื่อง 3. ความทุกข์ทรมาน 4. ความเจ็บปวด

116. The company provides employees with various benefits.
1. believes
2. gives
3. fulfils
4. postpones
ถาม บริษัทให้สวัสดิการต่าง ๆ กับพนักงาน
ตอบ 2 1. เชื่อ 2. ให้ จัดหาให้ 3. ทําให้สมบูรณ์ 4. เลื่อน
provide = give = จัดหาให้ จัดให้

117. Possibly, Jack’ll come to the party after his evening class.
1. Definitely
2. Sometimes
3. Maybe
4. Briskly
ถาม แจ็คอาจจะมางานปาร์ตี้หลังเลิกเรียนตอนเย็นก็อาจะเป็นไปได้
ตอบ 3 1. อย่างแน่นอน 2 บางครั้ง3. อาจจะ 4. อย่างรวดเร็ว

possibly = maybe = อาจจะเป็นไปได้

118. Pierre is a man of French descent.
1. citizenship
2. ancestor
3. etiquette
4. misery
ถาม ปิแอร์เป็นชายที่มีเชื้อสายฝรั่งเศส
ตอบ 2 1. ความเป็นพลเมือง 2. บรรพบุรุษ 3. กติกา มารยาท 4. ความทุกข์ยาก
descent = ancestor = ต้นตระกูล สายโลหิต

119. Everybody admired the student’s courage when he saved the girl’s life.
1. bravery
2. development
3. efficiency
4. reward
ถาม ทุกคนชื่นชมความกล้าหาญของนักเรียนเมื่อเขาช่วยชีวิตเด็กหญิง
ตอบ 1 1. ความกล้าหาญ 2. การพัฒนา 3. ประสิทธิภาพ 4. รางวัล

120. Tom gets used to getting up early.
1. is accustomed to
2. is responsible for
3. gets himself fulfilled
4. used to
ถามทอมคุ้นเคยกับการตื่นเช้า
ตอบ 1 1. คุ้นเคย เคยชิน 2. รับผิดชอบ 3. ทําให้ตัวเองบรรลุ 4. เคยใช้
gets used to = is accustomed to = คุ้นเคย เคยชิน

ENG1001 ประโยคพื้นฐานและศัพท์ที่จําเป็นในชีวิตประจําวัน s/2564

การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2564
ข้อสอบกระบวนวิชา ENG 1001 ประโยคพื้นฐานและศัพท์ที่จําเป็นในชีวิตประจําวัน
Directions: Choose the best answer.
Part I: Structure (ภาคโครงสร้าง)

1.A: Did they take any photographs on the trip to London?
B: They took some, but not____.
1. much
2. many
3. few
4. none
ตอบ 2 หน้า 148 คําสรรพนามที่ใช้ much, many โดย much แทนคํานามที่นับไม่ได้ และ many แทน คํานามนับได้พหูพจน์ จากประโยคส่วนหน้าว่า They took some (พวกเขาได้ถ่ายรูปไว้บ้าง) แต่ไม่มาก นั่นคือ Some ตัวหน้าแทนคํานาม photographs นามพหูพจน์และบอกว่าแต่ถ่ายไม่มาก ใช้ many คํานามพหูพจน์photographs ส่วนตัวเลือกที่ 3 few แสดงจํานวนน้อย ไม่เข้ากับความหมายส่วนหน้าที่ว่า ได้ถ่ายบ้าง แต่ไม่มาก จะตอบว่า แต่ไม่น้อย (few) จะผิดความหมายไป และ none เป็นปฏิเสธว่าไม่มี ก็ไม่ ถูกต้อง

2.He plays____piano very beautifully.
1. the
2. a
3. an
4. (blank)
ตอบ 1. หน้า 68 คํานําหน้าคํานาม ใช้ “the” นําหน้าคํานามที่เป็นชื่ออุปกรณ์ดนตรีชนิดต่าง ๆ เช่น the guitar (กีตาร์), the piano (เปียโน), the violin (ไวโอลิน), the flute (ขลุ่ย), the saxophone (แซด โซโฟน) เป็นต้น แต่ถ้าเป็นเกม กีฬา จะไม่มี article นําหน้าเช่น football, basketball, golf เป็นต้น

3.Tina has two sisters.____are now traveling in Chiang Mai.
1. He
2. She
3. They
4. These
ตอบ 3 หน้า 117-118 บุรุษสรรพนาม (Personal Pronoun)

จากโจทย์มี 2 ประโยคโดยประโยคแรกว่า “ทีนามีพี่สาวสองคน พวกเขากําลังเดินทางมาเชียงใหม่” ขึ้นต้นประโยคใหม่ ให้สังเกตกริยาก็ได้ เป็น are กริยาพหูพจน์ แสดงว่าประธานสรรพนามที่ตอบจะ เป็นรูปพหูพจน์ที่แทน two sisters นั่นคือ They ส่วน These (สิ่งเหล่านี้) แทนคํานามพหูพจน์ที่ เป็นสิ่งของ

4.We live in____old cottage by____sea.
1. an; the
2. a; an
3. the; the
4. an; an

ตอบ 1 หน้า 58 คํานามที่นับได้บางคําที่มีคุณศัพท์วางขยายอยู่ข้างหน้า เวลาใช้ an, an, the ต้องระวัง เสียงแรกของคําคุณศัพท์ด้วยว่าเป็นเสียงสระหรือพยัญชนะ ถ้าเป็นพยัญชนะใช้ 2 แต่ถ้าเป็นสระ (a, e, i, o u) ต้องใช้ an เช่น a cottage แต่ถ้ามี old ซึ่งเป็นคําคุณศัพท์ขึ้นด้วยสระ 0 ใช้ an รวมกันเป็น an old cottage ทําให้เราคาดเดาคงเหลือตัวเลือก 1 และ 4 แต่ตัวเลือก 4 an ผิดแน่นอน เราไม่ใช้ by an sea จึงผิด แต่เราใช้ by the sea เป็นการใช้ “the” ชี้เฉพาะ

5.The film____we saw last week was fantastic.
1. where
2. when
3. which
4. whom
ตอบ 3 หน้า 158 หรือหน้า 415 ให้เติมประพันธ์สรรพนาม โดยให้สังเกตจากข้างหน้าคําที่ให้เติม ช่องว่างว่าเป็นคนหรือสิ่งของหรือสถานที่ เราดูคํานามข้างหน้าก่อนว่าเป็นอะไร ถ้าเป็น
คน who + verb (คํากริยา) ในที่นี้คือ is
คน whose + คํานาม + V
คน whom + S + Verb คําว่า S มักเป็นคําสรรพนามเช่น I saw, you met
สิ่งของ which + Verb หรือ which + S + V.
สถานที่ where + S + V. เช่น where I live
เวลา when + S + V
the reason why + S + V
what ใช้แทน สิ่งของ
that ใช้แทนได้ทั้งคน สัตว์และสิ่งของ
จากโจทย์ดูคํานามข้างหน้าเป็น The film (ภาพยนตร์) เป็นสิ่งของ ใช้ประพันธ์สรรพนามแทนได้
คือ which ซึ่งใช้แทนสิ่งของได้

6.You must be patient,____you may not succeed.
1. and
2. nor
3. so
4. or
ตอบ 4 ข้อนี้ให้ตอบคําเชื่อมความ เราต้องรู้ความหมายของแต่ละคําเชื่อมว่าใช้ในกรณีไหน เช่น
ดูตาราง

เทียบประโยค “คุณต้องอดทน มิฉะนั้นคุณจะไม่ประสบผลสําเร็จ” คําเชื่อมที่ใส่ได้ใจความสมบูรณ์
คือ Or หมายถึง มิฉะนั้น

7.Love makes____world go round.
1. a
2. an
3. the
4. (blank)
ตอบ 3 หน้า 65 ใช้ “the” นําหน้าคํานามที่มีอยู่สิ่งเดียว อันเดียว เช่น the sun, the moon, the stars, the earth, the universe และคําที่หมายถึงทิศต่างๆ เช่น the north, the south, the west, the east เป็นต้น

8.I don’t want to waste a drop of gasoline,____ it is very expensive these days.
1. but
2. so
3. for
4. nor
ตอบ 3 ดูคําอธิบายในตารางข้อ 6 ประกอบ “ฉันไม่อยากเปลืองน้ํามันเพราะช่วงนี้น้ำมันแพงมาก” คําเชื่อม for ถ้าตามด้วยประโยคมีความหมายเดียวกับ because หมายถึง เพราะ

9.I have tons of assignments to mark, so I need a pen____flows smoothly.
1. that
2. which
3. whose
4. Both 1 and 2 are correct
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 5. เพิ่มเติม คํานามข้างหน้าคือ a pen เป็นสิ่งของสามารถใช้ which และ that ประพันธ์สรรพนามแทนได้ จึงตอบถูก 1 และ 2

10.The man____ car was stolen last month has recently been fired.
1. who
2. whose
3. whom
4. None is correct
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 5. เพิ่มเติม คํานาม The man เป็นคน สามารถใช้ได้ทั้งตัวเลือก 1,2และ 3 แต่เมื่อดู คําที่ตามมาคือ car เป็นคํานาม แสดงว่าต้องตอบ whose เพราะ whose ตามด้วยคํานามเสมอ แสดงความ เป็นเจ้าของของว่ารถของคุณผู้ชายคนนั้น

11.Do you want to watch____basketball?
1. a
2. an
3. the
4. (blank)
ตอบ 4 หน้า 74 ไม่มี article นําหน้าคํานามที่เป็นชื่อเกม กีฬาต่างๆ เช่น basketball, baseball,
cricket, football, golf, hockey ดูตัวอย่าง
– Do you like to play football? หน้า football ไม่มี article นําหน้าตอบ blank คือเว้นว่าง

12.Jacob is the man____owns the big house.
1. whose
2. who
3. whom
4. which
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 5. เพิ่มเติม คํานาม the man เป็นคน สามารถตอบตัวเลือก 1, 2 และ 3 ได้ แต่คําที่ ตามมาคือ Owns เป็นเจ้าของเป็นคํากริยา แสดงว่าต้องตอบ who ทําหน้าที่เป็นประธาน เพราะ who + คํากริยาเสมอ

13:The man____ is standing behind you is my brother.
1. who
2. which
3. where
4. whom
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 5 ประกอบ ลักษณะเดียวกับข้อ 12. the man เป็นคน และตามมาด้วย is เป็น
ค่ากริยาจึงตอบ who + คํากริยา

14.A____of bananas used to cost almost 100 baht.
1. bundle
2. bunch
3. brood
4. brooch
ตอบ 2 หน้า 9 สมุหนาม (Collective Noun) หมายถึง คํานามที่มีความหมายแสดงกลุ่ม หมู่ พวก ที่ เป็นกลุ่มของคน สัตว์ สิ่งของ ใช้คําต่างกัน ออกสอบประมาณ 1-2 ข้อทุกเทอม
an army of soldiers = ทหารกองหนึ่ง
a band of singers, musicians, outlaws = นักร้อง นักแสดงวงหนึ่ง ผู้ร้ายกลุ่มหนึ่ง
a bunch of keys, bananas, flowers = กุญแจพวงหนึ่ง กล้วยหวีหนึ่ง ดอกไม้ช่อหนึ่ง
a flock of sheep, birds, geese = แกะ นก ห่าน ฝูงหนึ่ง
a herd of cattle, cows, pigs = โค วัว หมู ฝูงหนึ่ง
a school of fish, whales = ปลาฝูงหนึ่ง ปลาวาฬฝูงหนึ่ง
a swarm of bees = ผึ้งฝูงหนึ่ง
a bundle of hay, cash, sticks = หญ้าแห้งกําหนึ่ง เงินมัดหนึ่ง กิ่งไม้มัดหนึ่ง
a brood of chickens, birds = ลูกไก ลูกนก คลอกหนึ่ง

15.Some patients cannot help____,so someone should be with them all the time
1. they
2. themselves
3. them
4. theirs
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 3. เพิ่มเติม เป็นเรื่องสรรพนามที่สะท้อนตัวเอง โดยดูจากประธานข้างหน้ามีคํานาม หลักคือ patients คํานามพหูพจน์ และคําที่ให้ตอบอยู่หลังกริยาเพราะต้องการกรรมที่สะท้อนตัวพวกเขาเองก็ คือ themselves ว่า ผู้ป่วยบางคนไม่สามารถช่วยเหลือตัวพวกเขาเอง

16.Do you know that____ gold is a precious material?
1. the
2. a
3. an
4. (blank)
ตอบ 4 หน้า 69 โดยทั่วไปคํานามที่ไม่ต้องมี article นําหน้าได้แก่ นามนับไม่ได้หรือวัตถุนาม เช่น rice (ข้าว) water (น้ำ) music (ดนตรี) gold (ทอง) silk (ไหม) wood (ไม้) wool (ขนแกะ) copper (ทองแดง) mud (โคลน) เป็นต้น

17.This is___brother, Ryan.
1. I
2. me
3. my
4. mine
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 3. เพิ่มเติม เราเห็นด้านขวามีคํานาม brother แสดงว่าต้องการคําสรรพนามที่แสดง ความเป็นเจ้าของเช่น my, his, her, their, your ตามด้วยคํานามเสมอ เช่น my car (รถของฉัน) my brother (พี่ชายของฉัน) his house (บ้านของเขา) เป็นต้น

18.I’m thirsty. Can I have___please?
1. a lump of cookie
2. a jar of sugar
3. a bottle of rice
4. a glass of water
ตอบ 4 หน้า 13 วัตถุนามเป็นคํานามนับไม่ได้ แต่สามารถนับได้ถ้าอยู่ในภาชนะหรือเป็นหน่วย ชั่ง ตวง วัด หรืออยู่ในรูปร่างเป็นก้อนเป็นกลุ่ม โดยนับได้ที่ภาชนะ หรือหน่วย หรือก้อน และมักมี of คั่นกลาง เช่นใน
ภาชนะต่าง ๆ เช่น
a bag of rice = ข้าวถุงหนึ่ง
a bottle of wine = เหล้าไวน์ขวดหนึ่ง
a glass of water = น้ำแก้วหนึ่ง
a jar of jam = แยมขวดหนึ่ง

หรือในความหมายของชั่ง ตวง วัด เช่น a kilo of meat = เนื้อวัวกิโลหนึ่ง
ในความหมายเป็นชิ้น ๆ หรือเป็นก้อน two lumps of sugar = น้ำตาลสองก้อน

สําหรับข้อนี้มีเกริ่นนํามาก่อนว่า “ฉันหิ้วน้ำ ขอน้ำสักแก้วค่ะ” จึงตอบ a glass of water

19.It looks old and shabby because nobody____in this apartment.
1. live
2. have lived
3. was living
4. lives
ตอบ 4 หน้า 98 คําที่ขึ้นต้นด้วยต่อไปนี้ให้ตอบกริยาเอกพจน์ เสมอ เช่น

ประธาน nobody + กริยาเอกพจน์ในข้อนี้คือ lives เป็นกริยาช่องที่ 1 เป็นรูปปัจจุบันใช้กาลหรือ tense เดียวกับประโยคส่วนหน้าที่ใช้ looks เป็นปัจจุบันเช่นกัน ฉะนั้น was living เป็นอดีตจึงผิด

20.A: Please take____seat.
B: Thank you, madam.
1. a
2. an
3. the
4. some
ตอบ 1 หน้า 61 ใช้ “a” ในสํานวนต่าง ๆ เช่น คํากริยา take หรือ have หรือคํากริยาอื่นๆ + a + คํานาม

take a bath = อาบน้ำ
take a walk = เดินเล่น
take a break = หยุดพัก
take a seat = นั่ง
take a look = ดู
take a picture = ถ่ายรูป
have a chance = มีโอกาส
have a good time = มีความสุข
give a speech = กล่าวสุนทรพจน์
give a kiss = จูบ
give an idea = เสนอความคิด
do a favor = ช่วยเหลือ
make a change = เปลี่ยน
make a deal = ตกลงกัน
go for a walk = ไปเดินเล่น
go for a drive = ไปขับรถเล่น
be a shame = น่าละอาย
be a pity = น่าสงสาร

21.Dan suffers from____.
1. alcohol
2. drunk
3. alcoholism
4. drink
ตอบ 3 หน้า 15 คํานามประเภทอาการนาม เป็นคํานามที่จับต้องไม่ได้ เป็นสถานะ คุณลักษณะ (ความดี ความ งาม) การกระทํา เป็นต้น คําที่เติมในช่องว่างได้คํานาม เพราะหลัง from ซึ่งเป็นบุพบท จะตามด้วยคํานาม เสมอ เราเรียกว่า บุพบทวลี เหมือนในภาษาไทยนะ คําที่เติมมาจากคํานาม + ปัจจัย -ism เช่น alcohol เป็น alcoholism (โรคพิษสุราเรื้อรัง) เทียบตัวอย่าง

People who suffer from alcoholism can’t stop drinking large quantities of alcohol. (คนที่เป็นโรคพิษสุราเรื้อรังไม่อาจจะหยุดดื่มเหล้าจํานวนมาก ๆ ได้)

22.This is the house____the famous actor lived before he died.
1. which
2. when
3. why
4. where

ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 5 ประกอบ ข้างหน้ามีคํานาม the house เป็นการบอกสถานที่ จึงตอบ where

23.Which is correct?
1. His shirt was spoiled by two grains of ink.
2. John bought a head of bread.
3. I prefer an ear of corn to a head of lettuce.
4. We saw a pack of sheep in the field.
ตอบ 3 ข้อไหนถูกต้อง
ตัวเลือกข้อ 1 ผิด คํานามหลักคือ ink ต้องใช้ความหมายเป็นเช่น two drops of ink (น้ำหมึกสองหยด)
ตัวเลือกข้อ 2 ผิด ต้องเป็น a loaf of bread (ขนมปังแถวหนึ่ง)
ตัวเลือกข้อ 3 ถูกต้อง ใช้ an ear of corn (ข้าวโพดฝักหนึ่ง) และ a head of lettuce (ผักกาดหัวหนึ่ง)
ตัวเลือกข้อ 4 ผิด ต้องเป็น a flock of sheep (แกะฝูงหนึ่ง)

24.A: What day is today, Kate?
B:_____is Wednesday.
1. She
2. Its
3. Hers
4. it
ตอบ 4 หน้า 125 คําสรรพนามที่ไม่ใช้บุรุษสรรพนาม เช่น ใช้ It ขึ้นต้นประโยคเป็นประธานหน้า verb to be หมายถึง อากาศ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ (ฝนตก ฟ้าร้อง) บอกระยะทางและเวลา เป็นต้น เช่น
It is hot. (อากาศร้อน)
It is cloudy. (เมฆครึ้ม)
It is raining. (ฝนกําลังตก)
It is Monday today. (วันนี้วันจันทร์)
It is warmer yesterday. (เมื่อวานอากาศอบอุ่นกว่าวันนี้)
It is sunny. (แดดจัดดี)
It is a half past six. (หกโมงครึ่งแล้ว)
It is about five miles from here to Soho. (ระยะทางประมาณ 5 ไมล์ จากที่นี้ถึงโซโห)

25.Johnny Depp is ____actor.
1. a
2. an
3, the
4. (blank)
ตอบ 2 หน้า 59 ใช้ “alan” นําหน้าคํานามที่แสดงอาชีพ และมักตามหลัง verb to be เช่น a student (เป็นนักศึกษา) a nurse (นางพยาบาล) a lecturer (อาจารย์) a psychiatrist (นักจิตแพทย์) a doctor (แพทย์) a housewife (แม่บ้าน) an actor (นักแสดงชาย) an actress (นักแสดงหญิง) an engineer (วิศวกร) เป็นต้น

26.Which sentence contains a transitive verb?
1. The soup tastes good.
2. They felt like a warm bath.
3. My knees are aching badly
4. She enjoys running.
ตอบ 4 ประโยคในเป็นกริยามีกรรม
ตัวเลือกข้อ 1 กริยา tastes เป็นกริยา linking verb มักตามด้วย adj. นั่นคือ good
กริยา linking verb ได้แก่ feel, look, smell, sound, taste, seem, keep เป็นต้น
ตัวเลือกข้อ 2 กริยา fell (felt) เป็น linking verb ตามด้วย like และต่อด้วยคํานามได้
ตัวเลือกข้อ 3 กริยา aching (ache) เป็นกริยาหลักตามด้วย badly เป็น adv. คํากริยาวิเศษณ์ ถือว่าเป็น กริยาที่ไม่มีกรรม ส่วนตัวเลือกข้อ 4 กริยา enjoys ตามด้วย running ซึ่งเป็นรูป ving ถือว่าเป็นคํานาม จึง เป็นกริยามีกรรมมารับ (transitive verb)

27._____house is that?
1. Who
2. What
3. Whose
4. How
ตอบ 3 หน้า 148 – 150 คําสรรพนามที่ใช้เป็นคําถาม
ถ้า Who ตามด้วยกริยา เช่น Who keeps the keys? (ใครเก็บกุญแจ)
What (อะไร) แทนสิ่งของ อยู่ในตําแหน่งทั้งประธานและกรรมได้เช่น What make you angry? (อะไรทําให้คุณโกรธ) What do you want? (คุณต้องการอะไร)
Whose + คํานามเสมอ แสดงความเจ้าของ เช่น Whose key is this? (กุญแจดอกนี้ของใคร) ข้อนี้เช่นกัน Whose house is that? (บ้านหลังนั้นของใคร)

28.You looked very tired after class.
You____rest.
1. should
2. ought
3. must
4. may
ตอบ 1 เป็นเรื่องกริยาช่วย ประโยคเกริ่นนําว่า “คุณดูเหนื่อยมากหลังเลิกเรียน” และแนะนําว่า “คุณควรไป พักผ่อนนะ” เป็นการแสดงการแนะนํา ใช้ should หรือ ought to “ควรจะ” จึงตอบ should + V1 (rest) ได้เลย แต่ถ้า ought ต้องมี to ตาม ส่วน must (ต้อง) เป็นการบังคับ และ may (อาจจะ) แสดงการคาดคะเน ความเป็นไปได้

29.Nara has____to Lopburi with her husband.
1. sent
2. found
3. seemed
4. gone
ตอบ 4 หน้า 216 คําช่องว่างที่ให้เติมต้องการเติมกริยาไม่มีกรรม เพราะตามด้วย to นั่นก็คือกริยาที่ไม่มี กรรม บ่งบอกอาการหรือบรรยายเกี่ยวกับประธานเท่านั้น เช่น go, walk, ache, run squeak และอื่น ๆ เป็นต้น เช่น He has gone to Chiangmai and has not come back yet. (เขาได้ไปเชียงใหม่และยัง ไม่ได้กลับมา) ส่วน กริยา sent, found เป็นกริยาที่มีกรรมมารับ และกริยา seemed เป็น linking verb ตามด้วย adj.

30._____you please give me some advice, sir?
1. Would
2. Must
3. May
4. Need
ตอบ 1 หน้า 248 กริยาช่วย Would /Will เท่านั้นที่ใช้กับ please ได้ เช่น
Would you please open the door for me? (คุณช่วยเปิดประตูให้ฉันหน่อย)

31.There is a special school for____near my house.
1. blind
2. a blinder
3. blinds
4. the blind
ตอบ 4 หน้า 22 คํานามสมมูลย์ มีหลัก ใช้ the + adj. เป็นคํานาม เช่น the poor (คนจน) the rich (คนรวย) the good (คนดี) the bad (คนไม่ดี) the brave (คนกล้าหาญ) the old (คนแก่) the young (คนหนุ่มสาว) the dead (คนตาย) the wounded (คนบาดเจ็บ) the blind (คนตาบอด) the homeless (คนไร้ที่อยู่) the hungry (คนหิวโหย) the injured (คนบาดเจ็บ)

32.“Jane will finish her assignment tomorrow.”
The verb “finish” in the previous sentence is a(n)____verb.
1. di-transitive
2. linking
3. transitive
4. intransitive
ตอบ 3 กริยา “finish” ในประโยคข้างต้นเป็นกริยาประเภทไหน
กริยามีกรรมหรือไม่มีกรรม มีหลักคือหากริยาหลักก่อนแล้วดูหลังกริยาว่าตามด้วยอะไร ถ้าตามด้วยคํานาม หรือสรรพนามแสดงว่าเป็นกริยามีกรรม แต่ถ้าตามด้วยส่วนขยายเช่น ตามด้วย adv. หรือมีบุพบทตามแสดง ว่าเป็นกริยาไม่มีกรรม อย่างข้อนี้หลังกริยา finish ตามด้วย her assignment (her + คํานาม) ถือว่าเป็น กรรม จึงตอบ finish เป็นกริยามีกรรม (transitive verb)

33.I bought a box of chocolate ____my best friend on Valentine’s Day.
1. in
2. for
3. to
4. with
ตอบ 2 หน้า 215 กริยาบางตัวเป็นกริยาที่มีกรรม 2 ตัวมารับได้ (double transitive verb) หรือเรียกว่า กริยาทวิกรรมคือกรรมตรง (direct object) และกรรมรอง (indirect object) โดยกรรมตรง มักเป็นสิ่งของ และตามด้วยบุรพบท “tolfor” แล้วตามด้วยกรรมตรง (คน) ดูสูตร ให้เรียงตามลําดับ อาจจะออก 1 ข้อ ให้เรียงสามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ

S + กริยา + กรรมตรง (สิ่งของ) + to/for + กรรมรอง (คน)
หรือ S + กริยา + กรรมรอง(คน) + กรรมตรง (สิ่งของ)

Jennie sent an e-mail to her brother
กริยา กรรมตรง(สิ่งของ) กรรมรอง (คน) (indirect object)
ตอบ for กรรมรอง (คน)

John bought a diamond ring for his wife.
กริยา กรรมตรง ตอบ for กรรมรอง(คน)

34.Kyle____to be very happy after he moved to the new apartment.
1. appear
2. enjoy
3. enjoys
4. appears
ตอบ 4 หน้า 219 ให้เติมคํากริยา ดูจากข้างหลังมี to be ตามแสดงว่าต้องหากริยาที่ตามด้วย to be ได้ นั่นคือกริยา prove, appear และ seem สามารถตามด้วย to be แล้วจึงมีคุณศัพท์ (adj.) เป็นส่วนขยาย ได้ เช่น

Jane seemed to be very happy after her marriage. (เจนดูมีความสุขหลังจากแต่งงาน)
The sales appears to be very attractive to many housewives.
(การลดราคาดูเหมือนจะดึงดูดความสนใจของแม่บ้านทั้งหลายมาก
ส่วนกริยา enjoy เป็นกริยาที่มีกรรมมารับ

35.Frank is working_____harder than last year.
1. more
2. many
3. most
4. much
ตอบ 4 หน้า 319 สามารถเติมคําต่อไปนี้ เช่น a bit, a little, much, a lot, far, even นําหน้าการ เปรียบเทียบขั้นกว่าได้ เช่น much harder than, far better than, a little more slowly ได้

36.Can Laura____?
1. swims
2. swim
3. swam
4. swum
ตอบ 2 จะเห็นกริยาช่วย can มีแล้วทําเป็นประโยคคําถามยก Can ไว้หน้าประธาน แต่กริยาช่วย can ก็ยังตามด้วยกริยาช่องที่ 1 ไม่ผันเสมอ จึงตอบ Swim กริยาช่องที่ 1 ไม่ต้องมี 5 ไม่ต้องผัน เป็นช่อง 2/3 เลย ถ้าทําเป็นประโยคบอกเล่าก็ว่า Laura can swim.

37.At the festival, we met____girls.
1. young beautiful some Japanese
2. beautiful some Japanese young
3. some beautiful young Japanese
4. young Japanese beautiful some
ตอบ 3 หน้า 188 เป็นการเรียงคุณศัพท์ที่มีคุณศัพท์มาขยายคํานามหลายตัว โดยวางไว้หน้าคํานาม คือ คํานามหลักจะอยู่ขวามือของเรา ส่วนหน้าคํานามจะเป็นคุณศัพท์เรียงลําดับ ดังนี้ ตามสูตร

คุณศัพท์มีหลายตัวเรียงขึ้นอันแรกก็คือคํานําหน้านาม หรือบอกปริมาณ นั่นคือ some มาก่อน ถ้าเรารู้
ก็ตอบได้ทันที เชื้อชาติอยู่หลัง ที่โจทย์มีนามหลักอยู่ คือ girls

38.I apologize for____your name.
1. mispronounce
2. mispronouncing
3. to mispronounce
4. mispronounced
ตอบ 2 หน้า 276 กริยาต่อไปนี้จะมีบุพบทตามและให้ตอบ Ving เช่น

approve of (พอใจ)
apologize for (ขอโทษ)
feel like (รู้สึกชอบ)
disapprove (ไม่พอใจ)
get/be used to (เคยชิน)
look forward to (รอคอย)

กริยา apologized for + Ving = mispronouncing

39.____I check in before 12 o’clock?
1. May
2. Ought
3. Am
4. Have
ตอบ 1 หน้า 238 กริยาช่วย May สามารถใช้เมื่อผู้พูดต้องการแสดงความเป็นไปได้ในปัจจุบัน เช่น It may rain this evening. (ฝนอาจจะตกเย็นนี้) หรือใช้เมื่อผู้พูดต้องการขออนุญาตหรือขอร้อง เช่น May I come in? ขอเข้าไปได้ไหม? สําหรับข้อนี้ก็ใช้ May เป็นการขออนุญาต May I check in.. (ฉันขอเช็คอินก่อน
เที่ยงได้ไหม)

40.Lana usually helps her grandmother_____the shopping bags.
1. carry
2. carries
3. carried
4. carrying
ตอบ 1 หน้า 283 กริยา help สามารถตามด้วย to + V1 และ V1 ก็ได้ (ได้ 2 อย่าง) และบางครั้งอาจจะมีกรรมหลัง help ก็ได้ ดูตัวอย่าง

Jane helped arrange the conference.
Jane helped to arrange the conference.
Jane helped me (to) arrange the conference.
ข้อนี้กริยา help + กรรม + ตอบตามด้วย V1 หรือ to V1 ก็ได้ แต่ตัวเลือกมีข้อ 1 ข้อเดียวคือ carry

41.My father wants me____an engineer.
1. is
2. be
3. being
4. to be
ตอบ 4 หน้า 280 คํากริยาที่ตาม infinite with to คือ to + V1 ออกทุกเทอม

ฉะนั้นกริยา want มี to + V1 = to be ตรงกับตัวเลือกข้อ 4

42.Kate always puts on_____.
1. a skirt clean nice
2. nice clean a skirt
3. clean a skirt nice
4.a nice clean skirt
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 37. ประกอบ adj. + คํานาม โดย adj. ประเภทคํานําหน้าคํานามหรือปริมาณมา ก่อนนั้นคือ 2 มาก่อนเลย แล้วตามด้วย คุณภาพ nice clean ถ้าไม่รู้ก็เดาว่า skirt เป็นคํานามต้องอยู่ หลังสุด ก็ตอบดังเลือกข้อ 4 ได้เลย

43.A: Did you see the concert last night?
B: Yes,____did.
1. you
2. I
3. yours
4. me
ตอบ 2 เป็นเรื่องคําสรรพนาม เมื่อ เอ ถามว่า “คุณได้ชมคอนเสิร์ตเมื่อคืนนี้ไหม” ปีก็ต้องตอบว่า ใช่ ฉันได้ดู คําสรรพนาม ถาม You ก็ตอบ เป็น

44.I was very____to see Jane again last night.
1. pleased
2. please
3. pleasing
4. to please
ตอบ 1 หน้า 177 คุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย -ed, -ing ถ้าใช้กับคน หรือสิ่งมีชีวิต แสดงความรู้สึกใช้รูป – ed เช่น interested, surprised, bored (รู้สึกเบื่อ), disappointed (รู้สึกผิดหวัง) เป็นต้น ถ้า ใช้กับสิ่งของหรือสิ่งไม่มีชีวิต ใช้รูป -Ving เช่น interesting (น่าสนใจ), boring (น่าเบื่อ) exciting (น่าตื่นเต้น) ฉะนั้นจากประโยคประธานคือ คือ ! รู้สึกดีใจพอใจ ตอบ pleased

45.Olivia’s parents let her____shopping with her friends.
1. went
2. going
3. to go
4.go
ตอบ 4 หน้า 279 กริยา make/made หรือ let สองตัวนี้เป็นที่นิยมออกสอบออกมาให้ตอบกริยาช่องที่
ไม่ต้องมี to ตาม เช่น
The sad movie always makes me cry.
Let us go shopping.

ฉะนั้น กริยา let + กรรม + V1 จึงตอบ go

46.They____to give you a ride to the hospital.
1. can
2. may
3. are able
4. will
ตอบ 3 เป็นเรื่องกริยาช่วย can, may, will จะตามด้วย V1 ไม่มี to แต่ที่โจทย์มี to อยู่หลัง จึงเป็นกริยา are able to เพราะ able ตามด้วย to เสมอ

47.“Those new windows squeak loudly. The verb “squeak” is a(n)_____verb.
1. transitive
2. intransitive
3. linking
4. di-transitive .
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 26. ประกอบ กริยา squeak ตามด้วย loudly เป็น adv. นั่นแสดงว่ากริยา squeak เป็นกริยาไม่มีกรรม (intransitive verb)

48.Paul looks_____than Elizabeth does.
1. old
2. older
3. oldest
4. very old
ตอบ 2 เมื่อเราเห็น than อยู่ขวา ให้ตอบเป็นการเปรียบเทียบขั้นกว่าเสมอ ฉะนั้นจากคุณศัพท์ old เป็นขั้น
กว่าคือ older

49.Betty is_____daughter in the family.
1. an old
2. the elderly
3. an olderly
4. the eldest
ตอบ 4 ถ้าเราเห็น in + สถานที่ เช่น in the family, in the world หรือ of all (ของทั้งหมด) หรือ of the three (เปรียบเทียบของสามอย่าง) ถ้าเปรียบเทียบตั้งแต่ 3 อย่างหรือมากกว่า ให้ตอบขั้นสุด ฉะนั้นจาก old ผัน older felder ขั้นสุดเป็น oldest eldest ลงท้าย -est เป็นขั้นสุด

50.Don’t forget_____ your sister tonight!
1. call
2. calls
3. called
4. to call
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 41. ประกอบ กริยา forget + to V1 จึงตอบ to call

51. · The woman____you saw at the airport is my mother.
1. which
2. whom
3. whose
4. when
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ คํานามข้างหน้าคือ The woman เป็นคน และส่วนหลังเป็นสรรพนาม
ในรูปประธาน + กริยา คําที่เติมคือ whom

52.It was very cold on the snowy day;____Megan wore a coat.
1. therefore
2. otherwise
3. besides
4. however
ตอบ 1 “มันหนาวมากในวันที่หิมะตก ดังนั้น แมแกนจึงสวมเสื้อคลุม
therefore – ดังนั้น
besides – นอกจากนี้
otherwise – มิฉะนั้น
however – อย่างไรก็ตาม

53.It’s noisy in here. You should speak____so people can hear you.
1. loud
2. quick
3. more loudly
4. most quickly
ตอบ 3 “ที่นี่เสียงดัง คุณควรพูดให้ดังขึ้น เพื่อว่าผู้คนจะได้ยินคุณ”
เป็นการบอกให้พูดเสียงดังขึ้น ใช้ขั้นกว่า more loudly

54.My father is afraid of heights, so he avoids_____by plane.
1. travel
2. travels
3. traveling
4. to travel
ตอบ 3 หน้า 274 กริยาเหล่านี้ตามด้วย Ving ได้แก่

avoid admit delay miss resist put off
enjoy dread carry on postpone risk keep
carry fancy regret practice stop go on
deny keep on finish recall suggest like

กริยา avoid + Ving = traveling

55.”He considers himself a professional golfer.”
The word “himself” is the_____of the previous sentence.
1. subject
2. verb
3. object
4. complement
ตอบ 3. หน้า 221 กริยามีกรรมต่อไปนี้ตามด้วยกรรมตรงและส่วนขยายกรรม (complement เช่น
appoint (แต่งตั้ง) elect (เลือกตั้ง) prove (พิสูจน์)
declare (ประกาศ) proclaim (ประกาศ) consider (พิจารณา)

S + กริยาข้างต้น + กรรม (object) + ส่วนขยายกรรม (Object Complement)

– The chairman appointed Jane his secretary.
(ประธานแต่งตั้งเจนเป็นเลขานุการ)

– He considers himself a professional golfer. (เขาถือว่าตัวเองเป็นนักกอล์ฟมืออาชีพ)
กริยา + กรรม + ส่วนขยายกรรม ฉะนั้น himself คือ กรรม (object)

56.Neither the teacher nor the students____in the classroom.
1. is
2. am
3. are
4. was
ตอบ 3 หน้า 338 เป็นเรื่องกริยาสอดคล้องกับประธานตัวไหนดูประโยคที่มีคําเชื่อมเหล่านี้กริยาจะผันตามประธานที่อยู่ใกล้ที่สุด
ประธาน + of + ประธาน
Either …..ประธาน….or…ประธาน…
Neither….ประธาน…nor…..                  + กริยาผันตามประธานตัวที่อยู่ใกล้
Not only……but…..

นั่นคือ Neither…. nor … กริยาผันตาม the students จึงตอบกริยาพหูพจน์คือ are

57.I’ve____gone to England.
1. there
2. well
3. quite
4. never
ตอบ 4 หน้า 310 เป็นเรื่องกริยาวิเศษณ์ (adv.) ที่ให้เติมนั้นต้องหาคําที่ใส่วางหน้ากริยา gone (go) ได้นั่น คือ never คือ never go (ไม่เคยไป) ส่วน there (ที่นั่น) บอกสถานที่วางไว้ท้ายประโยค และ well, quite เป็น adv. ทําหน้าที่ขยายกริยาหรือ adj./adv. เช่น very well, quite well เป็นต้น

58.Which is a correct sentence?
1. Tigers twice daily.
2. After the football match.
3. Most plants are useful.
4. A blind man with sunglasses.
ตอบ 3 ประโยคไหนถูกต้อง
ตัวเลือกข้อ 1 ผิดเพราะขาดกริยาหลัก ต้องเป็น Tigers are fed twice daily. (เสือถูกให้อาหารวันละ 2 ครั้ง) ตัวเลือกข้อ 2 ผิด ถ้ามีคําเชื่อมเช่น Before After, when, where, because แสดงถึงประโยคต้อง มีมากว่า 1 ประโยคมารวมกันหรือซ้อนกันเสมอ แต่ตัวเลือกมีแค่ท่อนเดียวจึงผิด
ตัวเลือกข้อ 3. ประโยคมี ประธานคือ Most plants และมีคํากริยาคือ are จึงเป็นประโยคที่ถูกต้องสมบูรณ์
ตัวเลือกข้อ 4 ขาดกริยา ในประโยค

59.Basketball players normally become____ tired after a game.
1. terrible
2. terrify
3. terrific
4. terribly
ตอบ 4 หน้า 312 คํากริยาวิเศษณ์ (adv.) ทําหน้าที่ 3 อย่างคือ 1. ขยายกริยา 2. ขยาย adj.
3. ขยาย adv.

1. S + Verb to be/ Vlk + adj.
2. S + Verb to be/Vlk + adv.+ adj.

Einstein was exceptionally intelligent. (S + verb to be + adv. + adj.)
Basketball players normally become terribly tired after a game.
VIK adv. adj.
terribly เป็น adv. ทําหน้าที่ขยาย tired ซึ่งเป็น adj. ว่า เหนื่อยอย่างมาก

60.My siblings were watching the game____last night.
1. in the room living happily
2. happily in the living room
3. the living in happily room
4. in happily the living room
ตอบ 2 หน้า 315 ตําแหน่งการวางคํากริยาวิเศษณ์ (adv.) ที่มาขยายคํากริยาสําหรับข้อนี้คือ ขยาย กริยา watch

61.Everyone, as well as the girls,____a great time studying English.
1. have
2. has
3. to have
4. are having
ตอบ 2 หน้า 340 ถ้าเจอประโยคที่มีเครื่องหมายคอมม่า (1) คั่น กริยาจะผันตามประธานข้างหน้า
ออกสอบสูตรนี้ทุกเทอม
S, not, with, together with, + กริยาผันตาม S ข้างหน้า
no less that, as well as…
กริยาผันตามประธานตัวหน้าคือ Everyone ตอบกริยาเอกพจน์มีตัวเลือกข้อเดียวคือ has

62.Bangkok____the capital of Thailand.
1. be
2. are
3. am
4. is
ตอบ 4 ข้อนี้ประธานเป็นคํานามธรรมดา Bangkok นามเอกพจน์ก็ตอบกริยาเอกพจน์คือ is

63.News____as quickly as a forest fire.
1. spread
2. spreads
3. to spread
4. are spreading
ตอบ 2 หน้า 343 ประธานที่เป็นชื่อวิชา ชื่อเกม แม้จะมีรูปพหูพจน์ แต่ก็จัดเป็นคํานามเอกพจน์เสมอ ตอบ กริยาเอกพจน์ เช่น Economics (วิชาเศรษฐศาสตร์) Physics, mumps (โรคคางทูม), measles (โรค หัด), billiards (บิลเลียด), news (ข่าว)

News spreads as quickly as a forest fire. (ข่าวแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วราวกับไฟป่า)
Economics is a subject I do not understand. (วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่ฉันไม่เข้าใจ)

64.”Lightning can be dangerous.”
The word “Lightning” is the____of the previous sentence.
1. main verb
2. helping verb
3. complement
4. subject
ตอบ 4 คําว่า “Lightning” ในประโยคเป็นอะไร
เราสังเกตว่าขึ้นต้นประโยคและมีกริยา can be ตามด้วย แสดงว่าทําหน้าที่ประธาน รูป Ving สามารถเป็น คํานามได้ ถ้าวางขึ้นต้นประโยคก็คือทําหน้าที่เป็นประธาน

65.Dan doesn’t mind____for his wife at the bus station every evening.
1. waits
2. waiting
3. to wait
4. wait
ตอบ 2 หน้า 276 วลีบางวลี เช่น Would you mind, I don’t mind, และ I have trouble ตามด้วย Ving ฉะนั้นข้อนี้ตรง doesn’t mind + Ving จึงตอบ waiting

66.Kate is beautiful,____she is very thoughtful.
1. and
2. for
3. but
4. yet
ตอบ 1 “เคทเป็นคนสวยและช่างคิดมาก” ตอบคําเชื่อม and เป็นการบอกข้อมูลเพิ่มไปในทิศทางเดียวกัน ถ้า but / yet แสดงความแย้ง ส่วน for = because = เพราะว่า

67.Which is a correct sentence?
1. The bus arriving on time.
2. The picnic be on Saturday.
3. The baby keeps Matt busy.
4. He sent a gift his friend.
ตอบ 3 ประโยคไหนถูกต้อง
ตัวเลือกข้อ 1 ผิด กริยา Ving มาเลยไม่ได้ ต้องเป็น The bus arrives on time.
ตัวเลือกข้อ 2 ผิด ต้องเป็น The picnic is on Saturday.
ตัวเลือกข้อ 3 ถูก มีกริยา keeps ที่ถูกต้อง ตามด้วย กรรม และ adj.
ตัวเลือกข้อ 4 ผิด ต้องเป็น He sent a gift to his friend. ต้องมี to คั่นระหว่างกรรมตรงกับกรรมรอง

68.The injured____well taken care of by doctors.
1. was
2. were
3. is
4. being
ตอบ 2 หน้า 345 คํานามบางคํามีรูปเป็นเอกพจน์ แต่มีความหมายเป็นพหูพจน์ ตอบกริยาพหูพจน์ เช่น people, public, police, clergy, folk, poultry, cattle, military และคํานามในรูป the + adj. หมายถึงคน หรือจําพวก เช่น the poor, the rich, the blind, the deaf, the injured ตอบกริยาพหูพจน์
The injured were carried to the hospital, while the dead were left at the scene.
The poor have been given life-supporting bags.

69.Both boys____traveling to places in Scotland.
1. love
2. loving
3. loves
4. to love
ตอบ 1 หน้า 333 คําที่ขึ้นต้นด้วย all, both, few, many, some, several ใช้กับคํานามนับได้พหูพจน์ ตอบกริยาพหูพจน์ สําหรับข้อนี้ขึ้นต้นด้วย Both ก็ตอบกริยาพหูพจน์คือ love
Few students attend Mathematics classes.
Both cars are still in good condition.

70.Gia can’t sell the piece of land,___can she sell her house.
1. yet
2. or
3. So
4. nor
ตอบ 4 เราเห็นประโยคแรกเป็นปฏิเสธ มี can’t มาจาก cannot และประโยคส่วนหลังยกกริยาช่วยยกไว้หน้าประธานก็คือ Can อยู่หน้า she ประโยคแบบนี้จะมี คําเชื่อมเดียวที่ทําได้คือ nor = และไม่เป็นปฏิเสธ ขนานทั้งประโยคหน้าและหลัง “เกียไม่สามารถขายที่ดินและไม่สามารถขายบ้านเช่นกัน”

71.Throw them away! None of these desserts____delicious.
1. is
2. are
3. be
4. been
ตอบ 2 หน้า 337 ประธานที่ขึ้นต้นเป็นจํานวนหรือปริมาณ และมี of คั่น ดูสูตร

Some of
Half of
None of
Most of
All of                คํานาม + กริยาผันตามคํานามที่อยู่หลัง of นี้
เลขเศษส่วน

Some of the rice is damaged. (กริยา is ผันตามคํานาม rice เอกพจน์)
Most of the students do not like English. (กริยา do พหูพจน์ผันตามนาม students)

One-third of our employees are expected to go back..
กริยาผันตามคํานาม these desserts เป็นคํานามพหูพจน์ จึงตอบกริยาพหูพจน์คือ are

72. The passengers stood waiting____for their train.
1. patiently
2. patient
3. patients
4. patience
ตอบ 1 wait เป็นกริยาทั่วไป และใช้ adv. ทําหน้าที่ขยายกริยาได้จึงตอบ patiently

73.One-third of the rice paddy____sold.
1. are
2. am
3. were
4. is
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 71. ประกอบ กริยาผันตามคํานาม rice paddy เป็นคํานามเอกพจน์ ตอบกริยา
เอกพจน์คือ is

74.Ice cream and cake____every child’s favorite dessert.
1. am
2. are
3. be
4. is
ตอบ 4 หน้า 331 อาหาร + and + อาหาร ใช้กินคู่กัน ตอบกริยาเอกพจน์ เช่น
– Rice and curry is usually our breakfast. (ข้าวราดแกงเป็นอาหารเช้าของเรา)
– Ice cream and cake is very easy to cook. (ไอศกรีมและเค้กเป็นที่นิยมในหมู่เด็ก

75.Jane played piano,___Whitney did her homework.
1. or
2. but
3. nor
4. finally
ตอบ 2 “แจนเล่นเปียโน แต่วิสนีย์ทําการบ้าน” สองประโยคแสดงความแตกต่าง ๆ คนต่างทําไม่
เหมือนกัน จึงตอบ but (แต่)

Part II: Vocabulary (คําศัพท์)
Choose the best answer

76.Mandy was in a state of____ after being offered the new job.
1. extension
2. comment
3. hesitation
4. compass
ถาม แมนดี้อยู่ในสภาวะลังเลหลังได้รับการเสนองานใหม่
ตอบ 3 บทที่ 1 1. การขยาย 2. คําวิจารณ์ 3. ความรีรอ ลังเล 4. เข็มทิศ

77.”I am not happy,” Simon said, with____in his voice.
1. predecessor
2. disappointment
3. opinion
4. independence
ถาม“ผมไม่มีความสุข” ไซม่อนพูดด้วยน้ำเสียงของความผิดหวัง
ตอบ 2 บทที่ 6 1. บรรพบุรุษ 2. ความผิดหวัง 3. ความคิดเห็น 4. อิสรภาพ

78.Sofia didn’t have time to plan how to____Susan.
1. approach
2. erupt
3. fold
4. utter
ถาม โซเฟียไม่มีเวลาวางแผนวิธีเข้าหาซูซาน
ตอบ 1 1. เข้าใกล้ เข้าหา 2. ปะทุ ระเบิด 3. พับ ม้วน 4. พูด เปล่งเสีย

79.The teacher has given the student_____advice.
1. expressive
2. conscientious
3. meaningful
4. extensive

ถาม ครูได้ให้คําแนะนําที่มีความหมายแก่นักเรียน
ตอบ 3 บทที่ 9 1. การแสดงออก 2. ความมีจิตสํานึก 3. เต็มไปด้วยความหมาย 4. การขยาย

80.If the manager wants to talk to me about a/an____to my contract, then no problem.
1. concept
2. delusion
3. extension
4. predecessor
ถาม ถ้าผู้จัดการต้องการคุยกับฉันเกี่ยวกับการขยายสัญญาของฉัน ฉันก็ไม่มีปัญหา
ตอบ 3 บทที่ 10 1. ความคิด 2. ความคิดเพ้อเจ้อ 3. การขยาย (ระยะเวลา) 4. บรรพบุรุษ

81.Up to two million people are facing____ food shortages in the coming months.
1. fertile
2. eternal
3. chronic
4. ambitious
ถาม ผู้คนกว่าสองล้านคนกําลังเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนอาหารเรื้อรังอีกไม่กี่เดือนข้างหน้า
ตอบ 3 บทที่ 8 1. อุดมสมบูรณ์ 2. นิรันดร ไม่เปลี่ยนแปลง 3. เรื้อรัง 4. ทะเยอทะยาน

82.I have recently been promoted to a_____position.
1. honest
2. prestigious
3. independent
4. efficient
ถาม ฉันเพิ่งได้รับการเลื่อนยศเป็นตําแหน่งที่มีเกียรติ
ตอบ 2 บทที่ 9 1. ซื่อสัตย์ 2. มีเกียรติ เป็นที่นับถือ 3. อิสรภาพ 4. ประสิทธิภาพ

83.An elderly woman developed the _____that she was dead and that she was in another place.
1. delusion
2. side-effect
3. riot
4. springboard
ถาม หญิงชราคนหนึ่งเกิดอาการเพ้อเจ้อว่าเธอตายแล้วและเธอไปอยู่อีกที่หนึ่ง
ตอบ 1 บทที่ 10 1. ความคิดเพ้อเจ้อ 2. ผลข้างเคียง 3. การจลาจล

84.Interest in normally charged____even if you pay the bill in full on time.
1. briskly
2. meaningfully
3. immediately
4. ideally
ถาม ดอกเบี้ยปกติจะเรียกเก็บทันที แม้ว่าคุณจะจ่ายบิลเต็มจํานวนตรงเวลาก็ตาม
ตอบ 3 บทที่ 8 1. อย่างรวดเร็ว 2. อย่างมีความหมาย 3. ทันทีทันใด 4. อย่างมีอุดมการณ์

85.Some of the____ railway lines cross that river.
1. eternal
2. ambitious
3. unaffected
4. metropolitan
ถาม รถไฟฟ้ามหานครบางสายข้ามแม่น้ำสายนั้น
ตอบ 4 บทที่ 4 1. ไม่เปลี่ยนแปลง 2. ทะเยอทะยาน 3. เป็นธรรมชาติ 4. มหานคร

86.A_____of the heat loss was that living conditions in northern Europe became endurable.
1. disappointment
2. side-effect
3. hesitation
4. springboard
ถาม ผลข้างเคียงของการสูญเสียความร้อนคือสภาพความเป็นอยู่ในยุโรปตอนเหนือกลายเป็นสิ่งที่อดทน
ตอบ 2 บทที่ 8 1. ความผิดหวัง 2. ผลข้างเคียง 3. ความลังเล 4. จุดเริ่มต้น

87.It did take me a while to_____waking up early, but it’s no problem now.
1. be affected by
2. feel good to
3. use a clock to
4. get used to

ถาม ฉันต้องใช้เวลาสักพักกว่าจะชินกับการตื่นเช้า แต่ตอนนี้ไม่มีปัญหาแล้ว
ตอบ 4 บทที่ 7 1. ได้รับผลโดย 2. รู้สึกดี 3. ใช้นาฬิกาเพื่อ 4. ชิน เคยชิน

88. She repeated her____about Nick’s new car, “New wheels.”
1. waterway
2. comment
3. extension
4. plague
ถาม เธอย้ำความคิดเห็นของเธอเกี่ยวกับรถใหม่ของนิคว่า “ล้อใหม่”
ตอบ 2 บทที่ 5 1.ทางน้ำ 2. คําวิจารณ์ 3. การขยาย 4. ทําให้เดือดร้อน

89.The blurring of the_____between animals and humans is central to the debate
about animal rights.
1. gesture
2. etiquette
3. distinction
4. hesitation
ถาม ความไม่ชัดเจนของความแตกต่างระหว่างสัตว์และมนุษย์เป็นหัวใจสําคัญของการอภิปรายเกี่ยวกับ
สิทธิสัตว์
ตอบ 3 บทที่ 5 1. กิริยาท่าทาง 2. มารยาท 3. ความแตกต่าง 4. ความลังเล

90.Kate works as a/an____at that law firm.
1. intern
2. faith
3. disappointment
4. springboard
ถาม เคททํางานเป็นนักศึกษาฝึกหัดงานที่สํานักงานกฎหมายนั้น
ตอบ 1 บทที่ 2 1. นักศึกษาฝึกหัด 2. เลื่อมใส ศรัทธา 3. ความผิดหวัง 4. จุดเริ่มต้น

91.He didn’t have the____to break up with her today.
1. strength
2. distinction
3. extension
4. enrollment
ถาม วันนี้เขาไม่มีความมั่นใจที่จะบอกเลิกกับเธอ
ตอบ 1 บทที่ 3 3 1. ความมั่นใจ ความกล้าหาญ 2. ความแตกต่าง 3. การขยาย 4. การลงทะเบียน

92.I love his____and his courage.
1. waterway
2. plague
3. source
4. honesty
ถาม ฉันชอบความซื่อสัตย์และความกล้าหาญของเขา
ตอบ 4 บทที่ 9 1.ทางน้ำ 2. ทําให้หงุดหงิด 3. แหล่งที่มา 4. ความซื่อสัตย์

93.This analysis method was used to____the outcome.
1. predict
2. aim at
3. enroll
4. jut out
ถาม วิธีการวิเคราะห์นี้ใช้เพื่อพยากรณ์ไปที่ผลลัพธ์
ตอบ 1 บทที่ 5 1. ทํานาย พยากรณ์ 2. มุ่งไป เล็งไปที่ 3. ลงทะเบียน 4. ยื่นออกไป

94.The most important questions raised in a scientific view appear to be the____of the whole problem.
1. faith
2. delusion
3. triumph
4. misconception
ถาม คําถามที่สําคัญที่สุดในมุมมองทางวิทยาศาสตร์ดูเหมือนจะเป็นความเข้าใจผิดของปัญหาทั้งหมด
ตอบ 4 บทที่ 11 1 ความเลื่อมใส ศรัทธา 2. ความคิดเพ้อเจ้อ 3. ชัยชนะ 4. ความเข้าใจผิด

95.The visitor made a ____with her hand.
1. springboard
2. disappointment
3. gesture
4. side-effect

ถาม แขกทําท่าทางด้วยมือของเธอ
ตอบ 3 บทที่ 11 1. จุดเริ่มต้น 2. ความผิดหวัง 3. ท่าทาง 4. ผลข้างเคียง

96.What do you____from us?
1. approach
2. seek
3. sacrifice
4. affect
ถาม คุณต้องการอะไรจากเรา?
ตอบ 2 บทที่ 10 1. เข้าใกล้ 2. แสวงหา ค้นหา ขอ 3. เสียสละ 4. มีผลต่อ

97.These animals seem____by the climate.
1. unaffected
2. prevention
3. ambitious
4. respected
ถาม สัตว์เหล่านี้ดูเหมือนไม่ได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศ
ตอบ 1 บทที่ 1 1. ไม่ได้รับผลกระทบ 2. การป้องกัน 3. ความทะเยอทะยาน 4. เป็นที่เคารพ

98.We are living on the____of the earth.
1. crust
2. prestigious
3. influential
4. meaningful
ถาม เราอยู่บนเปลือกโลก
ตอบ 1 บทที่ 12 1. เปลือกโลก 2. มีเกียรติ 3. มีอิทธิพล 4. เต็มไปด้วยความหมาย

99.More chaos could____at any moment.
1. erupt
2. portray
3. look up
4. aim at
ถาม ความวุ่นวายอาจปะทุขึ้นได้ทุกเมื่อ
ตอบ 1 บทที่ 12 1. ปะทุระเบิด 2. พรรณนา 3. เงยขึ้นมามอง 4. เล็งไปที่

100. I like to____a newspaper neatly after I finish reading it.
1. fold
2. utter
3. predict.
4. compete
ถาม ฉันชอบพับหนังสือพิมพ์ให้เรียบร้อยหลังจากอ่านเสร็จ
ตอบ 1 บทที่ 12 1. พับ ม้วน 2. พูด เปล่งเสียง 3. ทํานาย 4. แข่งขัน

101. No description can____the marvelous house.
1. predict
2. earn
3. portray
4. get used to
ถาม ไม่มีคําอธิบายใดๆ สามารถพรรณนาถึงบ้านที่มหัศจรรย์นี้ได้
ตอบ 3 บทที่ 10 1. ทํานาย 2. ได้รับ 3. พรรณนา วาดภาพ 4. เคยชิน

102. I encouraged him to____at Ramkhamhaeng University, in the hope he’d find
an interest.
1. earn
2. approach
3. jut out
4. enroll
ถาม ฉันสนับสนุนให้เขาสมัครเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยรามคําแหงด้วยความหวังที่เขาจะได้พบความ
น่าสนใจ
ตอบ 4 บทที่ 2 1. ได้รับ 2. เข้าใกล้ 3. ยื่นออกมา 4. สมัครเข้าเรียน

103. He was making it____enough.
1. chronic
2. prestigious
3. eternal
4. plain

ถาม เขากําลังทําให้มันชัดเจนพอ
ตอบ 4 บทที่ 11 1. เรื้อรัง 2. มีเกียรติ 3. ไม่มีสิ้นสุด 4. ง่าย ชัดแจ้ง ไม่ซับซ้อน

104. I appreciate all the____ you have in me.
1. waterway
2. triumph
3. predecessor
4. faith
ถาม ฉันซาบซึ้งในความศรัทธาทั้งหมดที่คุณมีในตัวฉัน
ตอบ 4 บทที่ 3 1. ทางน้ำ 2. ชัยชนะ 3. บรรพบุรุษ 4. ความศรัทธา

105. We may____that these books are still expensive.
1. speculate
2. fold
3. opt out
4. conclude
ถาม เราอาจจะสรุปได้ว่าหนังสือพวกนี้ยังแพงอยู่
ตอบ 4 บทที่ 6 1. คาดการณ์ 2. พับ 3. เลือก 4. พูดสรุป

106. Climate and____soil are important elements in growing crops.
1. limitless
2. metropolitan
3. fertile
4. ideal
ถาม สภาพภูมิอากาศและดินอุดมสมบูรณ์เป็นองค์ประกอบที่สําคัญในการปลูกพืชผล
ตอบ 3 บทที่ 12 1. ไม่มีขีดจํากัด 2. มหานคร 3. อุดมสมบูรณ์ 4. อุดมคติ

107. Victor has always____ taking part in the Olympic Games
1. erupted
2. aimed at
3. affected
4. shrink
ถาม วิคเตอร์ตั้งเป้าที่จะมีส่วนร่วมในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเสมอมา
ตอบ 2 บทที่ 6 1. ปะทุ ระเบิด 2. มีจิตใจมุ่งมั่น เล็งไปที่ 3. มีผลต่อ 4. หด ถอย

108. Wisdom comes with age, but some would rather have____ youth.
1. preventive
2. ideal
3. chronic
4. eternal
ถาม ปัญญามากับอายุ แต่บางคนจะมีมาตั้งแต่อายุเยาว์วัยตลอดไป
ตอบ 4 บทที่ 12 1. ที่ป้องกัน 2. อุดมคติ 3. เรื้อรัง 4. นิรันดร ไม่สิ้นสุด

109. Ben wished to say “Good night” but he could not___a word.
1. erupt
2. utter
3. shrink
4. enroll
ถาม เบ็นอยากจะพูดว่า “ราตรีสวัสดิ์” แต่เขาไม่สามารถพูดอะไรได้สักคํา
ตอบ 2 บทที่ 4 1. ปะทุ ระเบิด 2. พูด เปล่งเสียง 3. หด ถอยห่าง 4. ลงทะเบียนเรียน

110. To protect the forest and wild life was Tom’s main____.
1. curiosity
2. responsibility
3. devotion
4. endeavor
ถาม หน้าที่หลักของทอมคือการปกป้องผืนป่าและชีวิตป่า
ตอบ 2 บทที่ 7 1. ความอยากรู้อยากเห็น 2. หน้าที่ความรับผิดชอบ 3. การอุทิศตน 4. ความพยายาม

111. Public____against slavery created a political liability for politicians in Britain.
1. intern
2. plague
3. honesty
4. opinion
ถาม ความคิดเห็นสาธารณะต่อความเป็นทาสทําให้เกิดความรับผิดทางการเมืองสําหรับนักการเมือง
ในสหราชอาณาจักร

ตอบ 4 1. นักศึกษาฝึกหัด 2. ทําให้หงุดหงิดรําคาญ 3. ความซื่อสัตย์ 4. ความคิดเห็น

112. She chose to____her comfort so that she’d have the chance to do this.
1. earn
2. aim at
3. approach
4. sacrifice
ถาม เธอเลือกที่จะเสียสละความสบายของเธอเพื่อที่เธอจะได้มีโอกาสทําสิ่งนี้
ตอบ 4 บทที่ 3 1. ได้รับ 2. เพ่งเล็งไปที่ 3. เข้าใกล้ 4. ความเสียสละ

113. Peter held a/an____position in the company.
1. perspective
2. so far
3. preventive
4. influential
ถาม ปีเตอร์ดํารงตําแหน่งที่มีอิทธิพลในบริษัท
ตอบ 4 บทที่ 5 1. ทัศนะ มุมมอง 2. จนบัดนี้ 3. ที่ป้องกัน 4. มีอิทธิพล

114. A scene of____ and disorder happened in London.
1. riot
2. prevention
3. etiquette
4. efficiency
ถาม เกิดเหตุจลาจลและความวุ่นวายในลอนดอน
ตอบ 1 บทที่ 2 1. การจลาจล 2. การป้องกัน 3. กติกามารยาท 4. ความมีประสิทธิภาพ

115. If the majority was against____.Scotland would continue within the United Kingdom.
1. misconception
2. conscience
3. delusion
4. independence
ถาม ถ้าคนส่วนใหญ่ขัดต่อความเป็นอิสรภาพ สกอตแลนด์จะยังคงอยู่ภายในการปกครองของสหราชอาณาจักร
ตอบ 4 บทที่ 7 1. การเข้าใจผิด 2. ความมีสติ 3. ความคิดเพ้อเจ้อ 4. ความมีอิสรภาพ

116. Jennie seemed to be his best____of information.
1. comment
2. side-effect
3. distinction
4. source
ถาม เจนนี่ดูเหมือนจะเป็นแหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดของเขา
ตอบ 4 บทที่ 5 1. คําวิจารณ์ 2. ผลข้างเคียง 3. ความแตกต่าง 4. แหล่ง

117. The athletes___against one another for trophies.
1. portray
2. compete
3. enroll
4. predict
ถาม นักกีฬาแข่งขันกันชิงถ้วยรางวัล
ตอบ 2 บทที่ 9 1. พรรณนา วาดภาพ 2. แข่งขัน 3. ลงทะเบียนเรียน 4. ทํานาย พยากรณ์

118. Only___students get the best marks.
1. ambitious
2. waterway
3. prediction
4. honesty
ถาม เฉพาะนักเรียนที่มีความกระตือรือร้นเท่านั้นที่จะได้รับคะแนนที่ดีที่สุด
ตอบ 1 บทที่ 2 1. ทะเยอทะยาน, กระตือรือร้น 2. ทางน้ำ 3. การทํานาย 4. ความซื่อสัตย์

119.This way, you can___your suit as high as you like.
1. utter
2. look up
3. prevent
4. situate
ถาม ด้วยวิธีนี้ คุณสามารถค้นหาชุดสูทของคุณสูงเท่าที่คุณต้องการ
ตอบ 2 บทที่ 6 1. พูด เปล่งเสียง 2. ค้นหา เงยขึ้นมามอง 3. ป้องกัน 4. ตั้งอยู่

120. There’s no harm in a bit of healthy____.
1. waterway
2. expression
3. prosperity
4. curiosity
ถาม ไม่มีอันตรายสําหรับความอยากรู้อยากเห็นทางด้านสุขภาพเล็ก ๆ น้อย ๆ
ตอบ 4 บทที่ 5 1. ทางน้ำ 2. การแสดงออก 3. ความมั่งคั่ง 4. ความอยากรู้อยากเห็น

ENG1001 ประโยคพื้นฐานและศัพท์ที่จําเป็นในชีวิตประจําวัน 2/2564

การสอบไล่ภาค 2 ปีการศึกษา 2564
ข้อสอบกระบวนวิชา ENG 1001 ประโยคพื้นฐานและศัพท์ที่จําเป็นในชีวิตประจําวัน
Directions: Choose the best answer.
Part: Structure (ภาคโครงสร้าง)

1.The tire was flat,____I called a service station.
1. so
2. for
3. but
4. or
ตอบ 1 ข้อนี้ให้ตอบคําเชื่อมความ เราต้องรู้ความหมายของแต่ละคําเชื่อมว่าใช้ในกรณีไหน เช่น

จากประโยค “ยางแบน ดังนั้น ฉันเลยโทรแจ้งสถานีบริการ” คําเชื่อมที่เข้าใจความประโยคได้
คือ so = ดังนั้น

2. shirt looks nice on you. When did you buy ____?
1. This; them
2. That; its
3. That; them
4. This; it
ตอบ 4 คํานําหน้าคํานาม This, That + คํานามเอกพจน์ ซึ่ง shirt ก็เป็นคํานามเอกพจน์ ส่วนคําที่เติมอัน ที่ 2 นั้นจะใช้คําสรรพนามตามหลังกริยา buy ก็คือรูปกรรม และแทนคํานาม shirt (เชิ้ต) เป็น สิ่งของก็ต้องตอบ it

3. I saw a _____of bees in the garden last week.
1. troop
2. herd
3. school
4. swarm
ตอบ 4 หน้า 9 สมุหนาม (Collective Noun) หมายถึง คํานามที่มีความหมายแสดงกลุ่ม หมู่ พวก ที่ เป็นกลุ่มของคน สัตว์ สิ่งของ ใช้คําต่างกัน ออกสอบประมาณ 1-2 ข้อทุกเทอม
an army of soldiers = ทหารกองหนึ่ง
a band of singers, musicians, outlaws = นักร้อง นักแสดงวงหนึ่ง ผู้ร้ายกลุ่มหนึ่ง
a bunch of keys, grapes, flowers = กุญแจพวงหนึ่ง องุ่นพวงหนึ่ง ดอกไม้ช่อหนึ่ง
a flock of sheep, birds, geese = แกะ นก ท่าน ฝูงหนึ่ง
a herd of cattle, cows, pigs = โค วัว หมู ฝูงหนึ่ง
a school of fish, whalesปลา = ฝูงหนึ่ง ปลาวาฬฝูงหนึ่ง
a swarm of bees = ผึ้งฝูงหนึ่ง

4._____are students I had taught over the past few years. I think _____ look fantastic as today is ____ graduation ceremony.
1. Them; these; their
2. Those; they; their
3. These; their; they
4. Their; those; they
ตอบ 2 ช่องแรกคํานําหน้าคํานาม Those, These + คํานามพหูพจน์ หรือ + กริยาพหูพจน์ ช่องที่ 2 มีกริยา look เป็นกริยาพหูพจน์ แสดงว่าคําสรรพนามข้างหน้าต้องการรูปประธานคือ they และช่องที่ 3 เติมคําสรรพ นามแสดงความเป็นเจ้าของที่แทนคํานามพหูพจน์ students ก็คือ their + คํานาม (graduation)
หน้า 117 – 122 บุรุษสรรพนาม (Personal Pronoun)

5.Which is correct?
1. We call Eric our president.
2. When you say nothing at all.
3. At the foot of the hill a pair of deer.
4. Derek admired a lot.
ตอบ 1 ข้อไหนถูกต้อง
1. ถูกต้อง มีประธานและกริยา call ที่มีกรรมมารับ (Eric)
2. ถ้าประโยคมีคําเชื่อมหรือประพันธ์สรรพนามเช่น When, where, because, so, therefore แสดงว่า เป็นความรวมหรือความซ้อนจะต้องมีมากว่า 1 ประโยคก็คือมีประธานกริยามากกว่า 1 ตัว ในตัวเลือกจะ เห็นว่ามี you say เพียงท่อนเดียว จึงนับว่าไม่ถูกต้อง
3. ประโยคขาดกริยาหลัก โจทย์นี้ขึ้นต้นด้วยบุพบทวลี (At the foot of the hill) ได้ และประธานคือ a pair of deer แต่ไม่มีกริยาตามหลังมา เช่นมี is standing ก็จะถูกต้อง
4. กริยา admired เป็นกริยามีกรรมตามหลัง เช่น admired John ชื่นชมจอห์น ต้องมีกรรมมารับ

6.Which is correct?
1. Ashley and Joe canceled their trip; nevertheless, they have been extremely busy.
2. Amanda is happy; however, she won a lottery.
3. Ryan is working; besides, Naomi is watching TV.
4. Mia lost her passport; consequently, she had to wait for a new one.
ตอบ 4 ข้อไหนถูกต้อง
1. คําเชื่อมความผิด “แอชลีย์และโจยกเลิกการเดินทางเพราะพวกเขายุ่งมาก” ควรเป็นคําเชื่อม because
2. คําเชื่อมควรเป็น because “อแมนด้ามีความสุขเพราะเธอถูกล็อตเตอรี่”
3. คําเชื่อมควรเป็น while (ในขณะที่) “ไรอันกําลังทํางาน ในขณะที่ นาโอมิกําลังดูโทรทัศน์”
4. คําเชื่อม consequently (ผลที่ตามมา, ดังนั้น) ถูกต้อง “มีอาทําหนังสือเดินทางหาย ดังนั้นเธอต้องรอเล่ม
ใหม่”

7.Adam decided not ____ the position in Bangkok because he wanted to stay in Chiang Mai.
1. accept
2. accepting
3. to accept
4. accepted
ตอบ 3 หน้า 280 คํากริยาที่ตาม infinite with to คือ to + V1

Somsak worked very hard so he managed to get many As.
The Smiths have resolved to settle down in South Africa.
ฉะนั้นกริยา decided มี to ตาม จึงตอบ to accept

8.This is a famous ____ restaurant. The ingredients are all imported from _____.
1. Japanese; Japan
2. China; Chinese
3. Italy; Italian
4. France: French
ตอบ 1 บทที่ 1 หน้า 5 – 8 คํานามเฉพาะ เป็นชื่อเรียกเฉพาะของ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ชื่อประเทศ
เป็นคํานามที่ต้องขึ้นต้นด้วยอักษรใหญ่ และมีการเปลี่ยนคํานามให้เป็นคุณศัพท์ หมายถึง ประชาชน เชื้อชาติ ภาษา เช่น Italy – Italian, China – Chinese, Indonesia – Indonesian, Japan – Japanese, Argentina – Argentine, Denmark – Dane, Danish, India – Indian, Greece – Greek, Belgium – Belgian, France – French, Russia – Russian เป็นต้น
ช่องแรกใส่เชื้อชาติ ก็คือ Japanese restaurant (ร้านอาหารญี่ปุ่น) และมาจาก ตามด้วย ประเทศคือ Japan

9.Chiang Mai is an ____ city. Tourists are always ____ by its many attractions.
1. amazing; amazing
2. amazed; amazing
3. amazing; amazed
4. amazed; amazed
ตอบ 3 หน้า 177 คุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย -ed, -ing ถ้าใช้กับคน หรือสิ่งมีชีวิต แสดงความรู้สึกใช้รูป – ed เช่น interested, surprised, bored (รู้สึกเบื่อ), disappointed (รู้สึกผิดหวัง) เป็นต้น ถ้า ใช้กับสิ่งของหรือสิ่งไม่มีชีวิต ใช้รูป -Ving เช่น interesting (น่าสนใจ), boring (น่าเบื่อ) exciting (น่าตื่นเต้น) เราดูจากช่องแรกว่าเชียงใหม่เป็นเมืองน่าฉงน ใช้กับสิ่งของคือ amazing และช่องหลังใช้ประธานคนคือนักท่องเที่ยว (Tourists) รู้สึก จึงตอบ amazed

10.Let’s have a picnic ____ this Saturday.
1. very
2. in the park
3. always
4. secretly
ตอบ 2 หน้า 308 ข้างหน้ามีสถานที่ว่าไปปิคนิกก็ตามด้วยสถานที่ว่าในสวนสาธารณะ (in the park) ถ้าเป็นคํากริยาวิเศษณ์พวก always วางไว้หน้ากริยา ส่วน secretly บอกอาการอาจวางไว้หลัง คํากริยา ส่วน very (มาก) บอกดีกว่า มาก ทําหน้าที่ขยายคําคุณศัพท์หรือคําวิเศษณ์ด้วยกันได้

11.My uncle _____.
1. stories tell well
2. tell well stories
3. tell stories well
4. well tells stories

ตอบ 3 หลังประธานตามด้วยกริยาคือ tell และเป็นกริยาที่มีกรรมมารับจึงตามด้วยกรรมคือ stories และตามด้วยคํากริยาวิเศษณ์ (adv.) = well ตามหลังกรรมอีกที

12.Alan loves outdoor activities,____ his girlfriend prefers to stay at home.
1. in case
2. so that
3. whereas
4. until
ตอบ 3 “อลันชอบทํากิจกรรมกลางแจ้ง แต่ในขณะที่ แฟนสาวของเขาชอบอยู่บ้านมากกว่า”
whereas = แต่ในขณะที่ เป็นตัวเชื่อมแสดงความแย้ง ความแตกต่าง

13.The baby is six months old, so he ____walk.
1. won’t
2. can’t
3. oughtn’t
4. mustn’t
ตอบ 2 หน้า 234 กริยาช่วย can, could, be able to แสดงความสามารถ หรือ can’t ไม่สามารถ จากโจทย์แสดงเติมคําว่า can’t walk = ไม่สามารถเดินได้

14.This movie is ____I’m____that I chose this one instead of the horror movie.
1. bored; disappointing
2. bored; disappointed
3. boring; disappointed
4. boring; disappointing
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 9. ประกอบ ช่องแรกประธานคือสิ่งของ (movie = ภาพยนตร์) น่าเบื่อจึงตอบ boring และช่องที่ 2 I’m รู้สึกผิดหวังใช้ลงท้ายด้วย -ed นั่นคือ disappointed

15.After learning the exam result, Adam appeared ____ to everyone’s suggestions.
1. indifferently
2. to be indifferently
3. indifferent
4. to indifferent
ตอบ 3 หน้า168 – 169, 218 – 219 คําคุณศัพท์ (adj.) ทําหน้าที่ ตามหลัง verb to be หรือหลัง linking verb (ได้แก่ is, am, are, was, were, feel, look, seem, keep, taste, smell,
become, get, appear, remain, stay เป็นต้น ส่วน คํากริยาวิเศษณ์ (Adv.) ทําหน้าที่ขยาย คํากริยาทั่วไป คําคุณศัพท์ และคํากริยา

1. S + Verb to be/ Vik. + adj.

เช่น The pilot remained calm after the accident.
She appeared strong after the operation.
ฉะนั้นกริยา appeared ตามด้วยคํา adj. คือ indifferent ถ้า indifferently เป็น adv.

16.Jane had dinner at a _____restaurant.
1. taste
2. fame
3. nice
4. deliciously
ตอบ 3 หน้า 169 คําคุณศัพท์ (adj.) ทําหน้าที่ขยายคํานามและมักวางไว้หน้าคํานาม เช่น a beautiful smile, a big house และข้อนี้เติมคําคุณศัพท์ที่เข้ากับ restaurant ได้คือ a nice
restaurant = ร้านอาหารที่ดี โดย nice ทําหน้าที่เป็น adj. หมายถึง ดี สวยงาม ส่วน taste เป็นคํากริยาและคํานาม และ fame เป็นคํานาม deliciously เป็น adv. ไม่เข้ากับโจทย์

17.Wittaya bought ____.
1. for his wife a diamond ring
2. his ring a diamond for wife
3. a diamond ring for his wife
4. his wife a diamond ring for

ตอบ 3 หน้า 214 กริยาบางตัวเป็นกริยาที่มีกรรม 2 ตัวมารับได้ (ditransitive verbs หรือ double transitive verb) หรือเรียกว่า กริยาทวิกรรมคือกรรมตรง (direct object) และกรรมรอง (indirect object)
โดยกรรมตรง มักเป็นสิ่งของ และตามด้วยบุรพบท “to/for” แล้วตามด้วยกรรมตรง (คน)
ให้เรียงตามลําดับ อาจจะออก 1 ข้อ ให้เรียงสามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ

S + กริยา + กรรมตรง (สิ่งของ) + to/for + กรรมรอง (คน)
หรือ S + กริยา + กรรมรอง (คน) + กรรมตรง (สิ่งของ)

(จอห์นซื้อแหวนเพชรให้ภรรยาของเขา)

18.We live in ____old house at_____ end of the road.
1. an; the
2. an; an
3. a; the
4. a; a

ตอบ 1 หน้า 58 คํานามที่นับได้บางคําที่มีคําคุณศัพท์วางขยายอยู่ข้างหน้า ใช้ a, an สอดคล้องกับ คําคุณศัพท์นั้น เช่น an interesting book ใช้ an นําหน้า interesting มีสระ 1 ฉะนั้นในช่องแรกที่ให้เติม มี old ก็คือ สระ 0 จึงตอบ an เป็น an old house และช่องหลังใช้ “the” เป็นการชี้เฉพาะที่ผู้พูดและผู้ฟังรู้ ว่าเป็นสิ่งไหน

19._____the sun is shining; my children like to play outside.
1. When
2. In order that
3. Although
4. Why
ตอบ 1 หน้า 398 ใช้ When บอกเวลาว่า “เมื่อ….” เช่น When Jack was young = เมื่อฉันเป็นเด็ก ข้อนี้ก็เหมือนกัน “เมื่อแดดออก ลูก ๆ ชอบออกไปเล่นนอกบ้าน” จึงตอบ When เป็นการบอกเวลา

20.One-third of our employees _____ expected to go back to their hometown during the Songkran holidays.
1. have
2. are
3. has
4. is
ตอบ 2 หน้า 337 ประธานที่ขึ้นต้นเป็นจํานวนหรือปริมาณ และมี of คั่น ดูสูตร

Some of the rice is damaged. (กริยา is ผันตามคํานาม rice เอกพจน์)
Most of the students do not like English. (กริยา do พหูพจน์ผันตามนาม students)
One-third of our employees are expected to go back.. (กริยา are พหูพจน์ผัน ตามคํานาม employees พหูพจน์ และใช้ are expected แสดงการถูกคาดหวัง

21.Should we tell ____about ____plan before we do it?
1. her; our
2. she; ours
3. hers; ours
4. she; our

ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 4 ประกอบ ช่องแรกให้ตอบหลังกริยา tell ซึ่งเป็นกริยาที่ต้องการกรรมมารับ จึงตอบ สรรพนามรูปกรรมคือ her และช่องที่ 2 ข้างหลังมีคํานามคือ plan ตอบสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของที่มี คํานามตามหลังก็คือ our รวมกัน our plan

22.The weather was awful yesterday;______,Toni didn’t go swimming.
1. likewise
2. moreover
3. still
4. therefore
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 1. ประกอบ “เมื่อวานอากาศแย่มาก ดังนั้นโทนี่ไม่ไปว่ายน้ำ” โดย therefore = ดังนั้น

23.Which is INCORRECT?
1. All of the team members elected him their leader.
2. A close look at blood can turn his face white.
3. She wrapped her book with plastic covers.
4. The soup tasted deliciously.
ตอบ 4 ข้อไหนไม่ถูกต้อง
1. ถูกต้องมีกริยา elected ตามด้วยกรรม (him) และส่วนขยายกรรม their leader เลือกเขาเป็นหัวหน้า
2. ถูกต้องกริยา turn + กรรม + adj.
3. ถูกต้องกริยา wrapped ตามด้วยกรรม
4. ไม่ถูกต้องเพราะกริยา tasted เป็นกริยา linking verb จะตามด้วย adj. ต้องเป็น delicious

24.Which of the following sentences contains a “modal” verb?
1. Today is the most beautiful
2. You could have helped out more around the house, John.
3. Sam cleaned the bathroom and the kitchen.
4. I mostly work out at the gym.
ตอบ 2 ประโยคไหนต่อไปนี้ที่มีกริยา “ช่วย”
คําว่า “modal verb คือ กริยาช่วยเช่น can, could, may, might, will, would, should, ought to, must เป็นต้น

25.”I don’t think John is going out tonight.” The verb “think” is a(n) _____verb.
1. transitive
2. linking
3. intransitive
4. di-transitive
ตอบ 1 กริยา “think” เป็นกริยาประเภทไหน
วิธีดูให้ดูหลังกริยาว่าตามด้วยคําอะไร อย่างข้อนี้กริยา think ตามด้วย John ซึ่งเป็นชื่อคนคือคํานาม ถ้าหาก ว่าตามด้วยคํานามหรือสรรพนาม แสดงว่าเป็นกริยามีกรรม (transitive verb)

26.I can’t play____guitar, but I can play a bit of_____flute.
1. (blank); the
2. the; the
3. the; (blank)
4. (blank); (blank)
ตอบ 2 หน้า 68 ใช้ “the” นําหน้าชื่ออุปกรณ์ดนตรีชนิดต่าง ๆ เช่น the guitar (กีตาร์) the violin (ไวโอลิน) the flute (ขลุ่ย) the saxophone (แซกโซโฟน) the Xylophone (ระนาด) the piano (เปียโน)

27._____Sophie said and_____she did are two different things.
1. Which; which
2. When; why
3. What, what
4. What; that
ตอบ 3 หน้า 415 416 เป็น noun clause อนุประโยคที่ทําหน้าที่เป็นประธานของประโยคหรือเป็น กรรมของคํากริยาหรือกรรมของบุพบท ทําหน้าที่เหมือนคํานามธรรมดาเพียงแต่เป็นกลุ่มคําที่ขึ้นต้นด้วย
what, when, where, why, how, that เป็นต้น เช่น
– What he told us was unbelievable. (สิ่งที่เขาบอกเราไม่น่าเชื่อถือ) โดย What he told us เป็น noun clause ทําหน้าที่เป็นประธานของประโยค โดยสังเกตว่า noun clause มีประธาน (he) และคํากริยา (told)

28._____the bus leaves on time, we will reach Hua Hin by noon.
1. If
2. Before
3. When
4. After
ตอบ 1 หน้า 414 เป็นอนุประโยคย่อยที่บอกเงื่อนไข เช่น if, unless, even if เป็นต้น “ถ้าเราออกตรงเวลา เราจะถึงหัวหินตอนเที่ยง” คําเชื่อมที่เข้ากับโจทย์คือ If (ถ้าหากว่า ถ้า) นอกนั้น Before (ก่อน) When (เมื่อ) After (หลังจาก)

29.The speaker _____ different marketing strategies in the video.
1. discussed
2. appeared
3. started ๆ
4. turned
ตอบ 1 “วิทยากรพูดคุยถึงกลยุทธ์ทางการตลาดต่าง ๆ ในวีดีโอ” คํากริยาที่เข้ากับโจทย์คือ discussed = พูด ถกเถียง ส่วน appeared = ปรากฏให้เห็น started = เริ่มต้น turned = หัน เปลี่ยน

30.Pim looks very tired after having worked for 8 hours. She ____ have a rest.
1. had to
2. should
3. could
4. may
ตอบ 2 เป็นเรื่องกริยาช่วย โดย had to = must = ต้อง แสดงความจําเป็นหรือบังคับ ส่วน should = ought to = ควรจะ เป็นการแนะนํา, could = สามารถ, may = อาจจะแสดงความเป็นไปได้ ความ น่าจะเป็น จากโจทย์เป็นการแนะนําว่า พิมดูเหนื่อยมากหลังจากทํางานเป็นเวลา 8 ชั่วโมง เธอควรจะพักผ่อน

31.Linda_____drive a car because she doesn’t have a driving license yet.
1. might not
2. can’t
3. won’t
4. wouldn’t
ตอบ 2 เป็นเรื่องกริยาช่วย might not = อาจจะไม่แสดงการคาดคะเน can’t = cannot = ไม่ สามารถ แสดงความสามารถ, won’t = will not = จะไม่แสดงอนาคต, wouldn’t = would not = เป็น รูปอดีตของ will จากโจทย์ ลินดาไม่สามารถขับรถได้เพราะเธอยังไม่มีใบขับขี่ cannot drive a car (ขับรถ ไม่ได้)

32.____Anna didn’t turn in her take-home exam, she received an F.
1. If
2. Because
3. That
4. When
ตอบ 1“ถ้าแอนนาไม่ส่งข้อสอบกลับคืนครู เธอจะได้เอฟ” คําเชื่อมเข้ากับโจทย์คือ If (ถ้า)

33.Ben was not at the store,_____was he at home yesterday.
1. nor
2. next
3. then
4. yet
ตอบ 1 คําเชื่อมที่เรามีเรียนคือ nor = และไม่ เป็นการปฏิเสธทั้งประโยคหน้าและประโยคหลัง และ yet = แต่กระนั้นก็ตาม เป็นการแสดงความแย้ง ที่เหลือตัวเลือกไม่ได้เรียนก็จะไม่ตอบ ถ้าเราสังเกตประโยคแรกมี not ก็คือปฏิเสธ และประโยคหลังยกกริยา was ขึ้นหน้าประธาน (he) นั่นก็คือคําเชื่อมที่มีลักษณะประโยค แบบนี้ได้ก็คือ nor โดยประโยคนี้ตีความว่า “เบนส์ไม่ได้อยู่ที่ร้าน และเขาก็ไม่อยู่บ้านเมื่อวานนี้ด้วย”

34.Which is a “sentence fragment”?
1. Now it is raining harder, so you can stand under my umbrella.
2. According to the police, ten missing children were reported this month.
3. Jogging as a way of exercise good for both children and adults.
4. If she told me that she was leaving, I would call a taxi for her.
ตอบ 3 ข้อไหนเป็นประโยคไม่สมบูรณ์? การดูว่าเป็นประโยคสมบูรณ์ก็ดูว่ามีประธานมีกริยาครบไหม
1. เป็นประโยคความรวมที่เชื่อมด้วย 50 แยกเป็นสองประโยคได้ เป็นประโยคสมบูรณ์
2. เป็นประโยคสมบูรณ์เพราะมีประธาน ten missing children และกริยา were reported
3. ไม่สมบูรณ์เพราะกริยาหลักไม่มี ต้องเป็น Jogging is a way……. นั่นคือต้องมีกริยา is
4. เป็นประโยคความซ้อนที่สมบูรณ์มีคําเชื่อมมีประธานสองส่วน เชื่อมด้วย If ถือว่าสมบูรณ์

35.That is____I have ever seen.
1. more English brick beautiful old house
2. more old beautiful brick English house
3. the most old beautiful English house brick
4. the most beautiful old English brick house
ตอบ 4 หน้า 188 เป็นการเรียงคุณศัพท์ที่มีคุณศัพท์มาขยายคํานามหลายตัว โดยวางไว้หน้าคํานาม คือ คํานามหลักจะอยู่ขวามือของเรา ส่วนหน้าคํานามจะเป็นคุณศัพท์เรียงลําดับ ดังนี้

คําคุณศัพท์ + คํานาม

คําว่า I have ever seen (ที่ฉันเคยเห็นมา) นั่นคือข้างหน้าต้องตอบเป็นขั้นสุด เราเรียงจากการมี
the + most + beautiful คุณศัพท์บอกลักษณะ หรือดูไปหลังสุดเราจะใช้คําว่า brick house บ้าน อิฐ โดย house เป็นคํานามหลักอยู่ขวามือสุด และคํานามวัตถุเช่น gold (ทอง) silk (ไหม) brick (อิฐ) จะเป็นนามขยายทําหน้าที่เป็นคุณศัพท์ไม่อยู่หลังสุด จึงตอบตัวเลือกที่ 4 ส่วนตัวเลือกที่ 3 คําว่า the most old ไม่ถูกต้อง ในการทําขั้นสุดมีแต่ the oldest

36.The hairdresser cut my hair____today than last time.
1. quickly
2. quick
3. more quickly
4. the quickest
ตอบ 3 เราเห็นคําว่า than ด้านขวามือ ข้างหน้าต้องตอบขั้นกว่าเสมอ (ออกทุกเทอม) ก็จะเห็นการทําขั้น กว่ามีใส่ -er หรือ more นําหน้า จึงตอบ more quickly

37.Apinya____eats junk food because she knows it’s not very healthy.
1. deliciously
2. Sometimes
3. a lot
4. always
ตอบ 2 เป็นกริยาวิเศษณ์ (adv.) ที่ต่างกัน โดย deliciously ทําหน้าที่ขยายกริยา แต่มักวางหลังกริยา ส่วน sometimes = บางครั้งบางคราว, a lot = จํานวนมาก, always = เป็นประจํา จากโจทย์ “อภิญญากิน อาหารขยะเป็นบางครั้ง เพราะเธอรู้ว่ามันไม่ดีต่อสุขภาพ” จึงตอบ sometimes บางครั้ง

38.Liz and Jenna are proud of this homemade cake because they made it ____.
1. themselves
2. herself
3. herselves
4. theirselves

ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 4. ประกอบ คําสรรพนามสะท้อนตัวเองโดยประธานคือ Liz and Jenna หรือดู จากประโยคหลังใช้สรรพนาม they เมื่อสะท้อนตัวพวกเขาเอง เราใช้ themselves (เพราะมีสองคนเป็น
พหูพจน์)

39.Of all the students in this class, Paula is _____.
1. the more smart
2. most smart
3. more smart
4. the smartest
ตอบ 4 เราเห็นคําว่า of all ของทั้งหมด แสดงว่าหลายคน ถ้ามีตั้งแต่ 3 คนหรือมากกว่านั้นเราใช้ขั้นสุดจาก คุณศัพท์ Smart ทําเป็นขั้นสุดคือ Smartest และใส่ the นําหน้า เป็น the smartest

40._____the plane_____on time tomorrow?
1. Will; be
2. Must; to be
3. Could; being
4. Should; been
ตอบ 1 เราเห็นคําบอกเวลา tomorrow (พรุ่งนี้) แสดงถึงอนาคต เราใช้ will be เมื่อเป็นประโยคคําถามก็ยก Will ไว้หน้าประธาน the plane

41.My mother is_____teacher. She bought_____new computer yesterday to prepare for____.
online classes next semester.
1. a; a; the
2. the; the; the
3. a; the; the
4. the; the; a
ตอบ 1 ใช้ “a” นําหน้าคํานามที่บอกอาชีพ และช่องที่ 2 ใช้ “a” แสดงคํานามนับได้หมายถึง สิ่งหนึ่ง ก็คือ ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่เครื่องหนึ่ง และใช้ “the” แสดงการชี้เฉพาะในช่องที่ 3

42.Which is correct?
1. Never the boys make loud noises.
2. Please come tomorrow to school.
3. Daniel has been working too hard.
4. They can run very quick.
ตอบ 3 ข้อไหนถูกต้อง
1. น่าจะเป็น The boys never make loud noises.
2. น่าจะเป็น Please come tomorrow at school.
3. ถูกต้อง ประธาน Daniel และมีกริยาแสดงการกระทําต่อเนื่อง has been working
4. น่าจะเป็น They can run very quickly.

43.The doctor suggested that I_____eat less greasy food.
1. should
2. have to
3. could
4. would
ตอบ 1“หมอแนะนําให้ฉันควรทานอาหารที่มีไขมันน้อย” กริยาช่วยที่แสดงการแนะนําคือ should =
ควรจะ นอกนั้น have to แสดงบังคับ could แสดงสามารถ would เป็นอดีตของ will แสดงอนาคต

44.Neither Ronnie’s car key nor his cell phones____here.
1. is
2. are
3. have
4. has
ตอบ 2 หน้า 338 เป็นเรื่องกริยาสอดคล้องกับประธานตัวไหน ประโยคที่มีคําเชื่อมเหล่านี้กริยาจะผันตามประธานที่อยู่ใกล้ที่สุด
ประธาน + of + ประธาน
Either …..ประธาน….or…ประธาน…
Neither….ประธาน….nor….. + กริยาผันตามประธานตัวที่อยู่ใกล้
Not only……but…
นั่นคือ Neither…. nor … กริยาผันตาม his cell phones นามพหูพจน์ตอบกริยาพหูพจน์ ก็คือ are (อยู่) here (ที่นี่)

45.A: Have you prepared for the_____exam tomorrow?
B: No, I haven’t. I hope it will be as easy as my_____tests last semester.
1. French; Italy
2. France: Italian
3. French; Italian
4. France; Italy
ตอบ 3 เราจะตอบจากประเทศทําให้กลายเป็นเชื้อชาติ ทําหน้าที่เป็นคุณศัพท์ขยายคํานาม เช่น
Japanese food (อาหารญี่ปุ่น) จากโจทย์มีคํานาม exam, tests ฉะนั้นจะตอบเป็นคุณศัพท์แสดงเชื้อชาติ
จึงตอบ French และ Italian

46.The new CEO and the new mayor____together on an environmental project.
1. are worked
2. is working
3. are working
4. is worked
ตอบ 3 หน้า 332 กริยาสอดคล้องกับประธาน
1. The + นาม + and + the + นาม + กริยาพหูพจน์ (the 2 ตัว)
2. The + นาม + and + นาม+ กริยาเอกพจน์ (the ตัวเดียว)

– The secretary and the treasurer do not attend the meeting.
– The new CEO and the new mayor are working together on an environmental project. มี the 2 ตัว กริยาตอบพหูพจน์คือ are working

47.George and Kate walked along the beach,_____they got sand all over their feet.
1. yet
2. but
3. for
4. and
ตอบ 4 “จอร์จและเคทเดินไปตามชายหาด และพวกเขาได้ทรายเต็มเท้า” คําเชื่อมที่เติมคือ and แสดงการ บอกข้อมูลเพิ่มเติม

48.I bought a____picture frame from the antique shop last week.
1. beautiful brown wooden
2. new wooden round
3. small glass blue
4. big red gold Italian
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 35. ประกอบ เป็นการเรียงคุณศัพท์ในกรณีที่มีคุณศัพท์หลายประเภทมาขยายหน้าคํานาม
ข้อ 1 ถูกต้องเรียงบอกคุณภาพ beautiful และสี และวัตถุนาม wooden นําหน้านามหลัก picture
frame
ข้อ 2. ต้องเป็น a new round wooden picture frame
ข้อ 3. ต้องเป็น small blue glass picture frame
ข้อ 4. ต้องเป็น big red Italian gold picture frame

49.The builder of my assistants’ houses_____next month.
1. is getting married
2. are getting married
3. get marry
4. gets marry
ตอบ 1 โครงสร้างที่มี of คั่นระหว่างคํานามทั่วไป ก็คือ นาม + of + นาม กริยาจะผันตามนามที่อยู่หน้า of นั่นคือ กริยาผันตามนาม The builder ซึ่งเป็นคํานามเอกพจน์ จึงตอบกริยาเอกพจน์คือ is getting married ส่วนตัวเลือก 4 gets marry ไม่ถูกต้อง

50.We should prepare____food for the road trip.
1. several
2. some
3. many
4. a few
ตอบ 2 ทั้ง several, some, many, a few + คํานามนับได้พหูพจน์ แต่ some + นามนับไม่ได้ด้วย

ฉะนั้นจึงตอบ some เพราะ food เป็นคํานามนับไม่ได้เอกพจน์

51.The city’s gate decorated with Christmas lights____the perfect site for a photo.
1. are
2. is
3. has
4. have
ตอบ 1 กริยาผันตามประธานตัวหน้าซึ่งกล่าวถึง The city’s gate decorated with Christmas lights
เป็นคํานามพหูพจน์ ตอบกริยาพหูพจน์ คือ are

52.Which is correct?
1. Ed sent a postcard girlfriend yesterday.
2. Harry mailed a present for his friend.
3. Jamie packed a suitcase to his children.
4. Shawn made a gift for his grandparent.
ตอบ 4 ข้อไหนถูกต้อง หน้า 215 กริยา sent/mailed/packed/made มีกรรมมารับ 2 ตัวต้องเรียง มีทั้งกรรมตรงและกรรมได้เลย (คนกับสิ่งของ) เพราะกริยาบางตัวเป็นกริยาที่มีกรรม 2 ตัวมารับได้ (double transitive verb) คือกรรมตรง (direct object)และกรรมรอง (indirect object) โดยกรรมตรง มักเป็น สิ่งของ และตามด้วยบุรพบท “tolfor” แล้วตามด้วยกรรมตรง (คน) ดูสูตรนะคะ ให้เรียงตามลําดับ ให้เรียง สามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ

S + กริยา + กรรมตรง (สิ่งของ) + to/for + กรรมรอง(คน)

หรือ S + กริยา + กรรมรอง(คน) + กรรมตรง (สิ่งของ)

กริยา send (sent) ส่ง และ mail (ส่ง)จะใช้บุพบท to

ส่วนกริยา pack (แพค) และ make (made) ใช้บุพบท for จึงตอบตัวเลือกที่ 4 ถูกต้อง

53.Mary doesn’t____spicy food.
1. liked
2. like
3. to like
4. likes
ตอบ 2 จากประโยคมีกริยาช่วย verb to do (do, does, did) มาแล้ว จะต้องตามด้วยกริยาช่องที่ 1 ที่ไม่ต้องเติม s, ed หรือ to นําหน้าอีก เช่น I don’t like spicy food. เป็นต้น

54.Max avoided_____his mobile phone when other people were in the room.
1. to use
2. using
3. used
4. use
ตอบ 2 หน้า 274 กริยาเหล่านี้ตามด้วย Ving ได้แก่

avoid + Ving nou using

55.Don gave a laptop_____his sister.
1. with
2. to
3. by
4. for
ตอบ 2
ดูคําอธิบายข้อ 52. ประกอบ

56.Swimming is____easier for people with injury than running.
1. much
2. many
3. several
4. a few
ตอบ 1 หน้า 319 ข้างหน้าการเปรียบเทียบขั้นกว่า เราสามารถเติมคําเหล่านี้ได้

a bit a little much a lot far even

easier เป็นขั้นกว่าแล้ว ฉะนั้นสามารถใส่ much นําหน้าได้เช่น much bigger เป็นต้น

57.The ruins of various temples in Ayutthaya_____presented by the Fine Arts Department.
1. have
2. are
3. has
4. is
ตอบ 2 ประธานที่มี of คั่น กริยาจะผันตามคํานามที่อยู่หน้า of นั่นคือกริยาผันตาม The ruins จึงตอบ กริยาพหูพจน์คือ are และใช้ are presented by เป็นรูปถูกกระทํา

58.”Jamin waited for his mother.” The word “_____”is the main verb in the sentence.
1. waited
2. for
3. his mother
4. Jamin
ตอบ 1คําอะไรที่เป็นกริยาหลักของประโยค
เราสามารถแบ่งออกเป็น ประธานคือ Jamin และกริยาหลักคือ waited (main verb)

59.Jenny went to clean the table:_____Dan started to prepare dinner.

1. meanwhile
2. indeed
3. for example
4. in fact
ตอบ 1 หน้า 386 คําเชื่อม meanwhile (ในขณะเดียวกัน) แสดงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 2 อย่าง มักเป็น การเล่าเรื่องราว indeed (อันที่จริงแล้ว) for example (ยกตัวอย่าง) in fact (อันที่จริงแล้ว) จาก
ประโยค “เจนนี่ทําความสะอาดโต๊ะ ในขณะที่ แคนเตรียมอาหารเย็น” จึงตอบ meanwhile เทียบตัวอย่าง
อื่น
Joy wants to be as writer; meanwhile, she practices every day.
(จอยต้องการเป็นนักเขียนในขณะเดียวกันนี้เธอฝึกฝนทุกวัน)

60.National Park officials do not permit anyone____the park without an official guide.
1. to enter
2. enters
3. enter
4. entered
ตอบ 1 หน้า 280 – 281 กริยาต่อไปนี้จะตามด้วย กรรมตรง + to + V1

กริยา permit + กรรม + to +V1 จึงตอบ to enter

61.I have____close friends, but they are all wonderful.
1. a few
2. a little
3. little
4. much
ตอบ 1 หน้า 104 few, a few นําหน้าคํานามพหูพจน์ ส่วน little, a little, much + นําหน้าคํานามนับ ไม่ได้ ฉะนั้นดูคํานามที่ให้มาคือ close friends (เพื่อนสนิท เป็นคํานามพหูพจน์) จึงตอบ a few เช่น a few friends, a few workers เป็นต้น

62.____man has been standing there watching you for hours. Do you know____?
1. That; his
2. That; him
3. This; him
4. This; his
ตอบ 2 This/ That + คํานามเอกพจน์ และจากช่องแรกน่าจะมีความหมายแสดงว่าผู้ชายคนนั้นที่กําลัง ยืนอยู่ แสดงว่าอยู่ไกล เราใช้ That และต่อด้วยคําถามว่า คุณรู้จักเขาไหม ให้ตอบคําสรรพนามที่อยู่หลังกริยา know ที่ต้องการกรรมมารับแทน That man ก็คือ him

63.Which sentence is NOT correct?
1. Jane always writes Thee many letters.
2. lonely walked around the park.
3. She kindly gave me a birthday gift.
4. We arrived at the school early.
ตอบ 2 ประโยคไหนไม่ถูกต้อง
1. กริยา writes มีกรรมมารับ 2 ตัวคือ Theeเป็นชื่อคนเป็นกรรมรอง และ many letters เป็นกรรมตรง
2. ไม่ถูกต้องเพราะ lonely เป็นคําคุณศัพท์ (adj.) ถึงแม้จะลงท้ายด้วย ly ก็ตาม หมายถึง โดยเดี่ยว เหงา หงอย เช่น I was very sad and lonely. ถ้าให้ถูกต้องต้องเป็น I walked alone. โดย alone เป็นได้ ทั้ง adj. และ adv. วางหลังกริยาทั่วไปทําหน้าที่เป็น adv. หมายถึงถึง ฉันเดินโดยลําพัง คนเดียว
3. kindly เป็น adv. วางไว้หน้ากริยาได้
4. early เป็น adv. นิยมวางไว้ท้ายประโยค

64.Ann and Tom had trouble____our house.
1. finding
2. find
3. found
4. to find
ตอบ 1 หน้า 276 กลุ่มวลีบางตัว เช่น

Would you mind
Do you mind
have/has trouble                      + Ving ตอบ moving
have/has difficulty

นั่นคือ trouble + Ving จึงตอบ finding

65.Only____deserve_____.
1. the brave; the fair
2. the braves; the fair
3. the brave; the fairs
4. the braves; the fairs
ตอบ 1 หน้า 20 คํานามสมมูลย์ โดยไม่ได้มาจากคํานามโดยตรง ใช้คําคุณศัพท์ (adj.) ที่บอกคุณลักษณะ แล้วใส่ the + adj. ทําให้กลายเป็นคํานามได้ เช่น the good (คนดี), the bad (คนไม่ดี), the poor (คนจน), the rich (คนรวย), the old (คนแก่), the young (คนหนุ่มสาว), the brave (ผู้กล้าหาญ), the dead (คน ตาย), the injured (คนบาดเจ็บ), the sick (คนป่วย), the disabled (คนพิการ), the handicapped (คน พิการ), the dead (คนตาย), the fair (หญิงงาม) เป็นต้น จากตัวเลือกตอบ the brave กับ the fair

66.Which has an “object complement”?
1. The company appointed Anna the new project manager.
2. She contracted COVID-19 from her neighbor.
3. They worked in a fast food restaurant during school break.
4. His whole body ached after the accident.
ตอบ 1 ข้อไหนมี “ส่วนขยายกรรม”
หน้า 221 กริยามีกรรมต่อไปนี้ตามด้วยกรรมตรงและส่วนขยายกรรม (complement เช่น
appoint (แต่งตั้ง)
elect (เลือกตั้ง)
declare (ประกาศ)
proclaim (ประกาศ)
prove (พิสูจน์)
consider (พิจารณา)

สูตร

S + กริยาเฉพาะ + กรรม (คน) + ส่วนขยายกรรม (คือตําแหน่งงาน) เช่น

The villagers elected Ted their new leader.
ตน ตําแหน่ง (หัวหน้าคนใหม่)

The chairman appointed Jane his secretary.
(ประธานแต่งตั้งเจนเป็นเลขานุการ)

สําหรับข้อนี้มีกริยา appointed ตามด้วยกรรมคือ Anna ชื่อคน และส่วนขยายกรรมคือ the new project manager = ผู้จัดการโครงการคนใหม่ เป็นคํานามขยาย Anna แอนนาคน เดียวกัน

67.She looks____than her brother.
1. the tall
2. tall
3. tallest
4. taller
ตอบ 4 เห็น than ตอบขั้นกว่าได้เลย ก็คือ taller พยางค์ด้วยใส่ er

68.An essay is a form of writing____every student will encounter while in school.
1. what
2. when
3. how
4. that
ตอบ 4 หน้า 401 – 410 ให้เติมประพันธ์สรรพนาม โดยให้สังเกตจากข้างหน้าคําที่ให้เติมช่องว่างว่า
เป็นคนหรือสิ่งของหรือสถานที่ เราดูคํานามข้างหน้าก่อนว่าเป็นอะไร ถ้าเป็น
คน who + verb (คํากริยา) ในที่นี้คือ is
คน whose + คํานาม + V
คน whom + S + Verb คําว่า S มักเป็นคําสรรพนามเช่น I saw, you met
สิ่งของ which + Verb หรือ which + S + V.
สถานที่where + S + V. เช่น where I live
เวลา when + S + V
the reason why + S + V
ส่วน that ใช้แทนได้ทั้งคนสัตว์หรือสิ่งของ เราจะเห็น writing (การเขียน) เป็นสิ่งของสามารถใช้ which ไม่มีในตัวเลือกก็ตอบ that แทนได้

69.I can’t help_____how my grandmother’s life would have been different if she had
been able to go to college.
1. wonder
2. wondering
3. wondered
4. wonderful
ตอบ 2 หน้า 284 กริยา help สามารถตามด้วย V1 หรือ to + V1 ก็ได้ เช่น
Jane helped arrange the conference. ( help + V1)
Jane helped to arrange the conference. (help + to arrange = to V1 ก็ได้)
ยกเว้นสํานวนคําว่า cannot help หรือ can’t help, couldn’t help แปลว่า “อดไม่ได้” ตามด้วย Ving เสมอ เช่น can’t help laughing = อดไม่ได้ที่จะหัวเราะ ฉะนั้น จึงตอบ can’t help wondering

70.Which is correct?
1. During the conference, the journalists are taken pictures.
2. Every day a dog running and its chasing the kids.
3. Everyone determined passing the exam and graduating sooner or later.
4. You need to identify the basic pattern of the following sentences.
ตอบ 4 ข้อไหนถูกต้อง
1. ควรเป็น the journalists were taken pictures. ใช้รูป Tense ที่เป็นอดีตกาลเพราะเป็นเรื่องเล่า
2. ควรเป็น Every day a dog runs and chases the kids. เป็นเหตุการณ์เกิดทุกวันใช้ V1
3. ควรเป็น Everyone is determined to pass เป็นกริยามี to ตาม
4. ถูกต้องกริยา need to แสดงจําเป็นต้อง

71.Dave remembers_____in that town when he was a child.
1. be
2. to be
3. been
4. being
ตอบ 4 หน้า 282 กริยา remember (จําได้) กับเหตุการณ์ที่เกิดในอดีตใช้ remember + Ving

72.Is this book_____? I left_____here yesterday, but I’m not sure where _____is exactly.
1. yours; mine; it
2. yours; my; its
3. your; my; it
4. your; mine; its
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 4. ประกอบ ช่องแรกเป็นคําถามไม่มีคํานามตามหลังเราใช้ yours (เพราะมาจาก your book) และช่องที่ 2 เช่นกันไม่มีคํานามตามหลัง คําว่า here เป็นคําวิเศษณ์ขยายเท่านั้น จึงตอบ mine ที่ไม่มีคํานามตาม และช่องที่ 3 ใช้คําสรรพนามแทน this book ก็คือ it รูปประธานเพราะตามด้วยกริยา is

73.My boss lent me the money; _____I couldn’t pay for my tuition fee.
1. also
2. otherwise
3. furthermore
4. consequently
ตอบ 2 “เจ้านายของฉันให้ฉันยืมเงิน มิฉะนั้น ฉันไม่สามารถจ่ายค่าเล่าเรียนได้”
also = เช่นกัน อีกด้วย เป็นการบอกข้อมูลเพิ่มเติม otherwise = มิฉะนั้น
furthermore = ยิ่งไปกว่านั้น เหมือน also ส่วน consequently = ผลที่ตามมา

74.Sunee’s father didn’t let her____overnight at Urai’s house.
1. staying
2. to stay
3. stays
4. stay
ตอบ 4 หน้า 279 กริยาที่ตามด้วยกริยาช่องที่ 1 ไม่มี to ที่มักออกประจําคือ กริยา let
make (made) + กรรม + V1 เช่น
His parents let John stay late during weekends.
The cashier made me pay in cash.
ฉะนั้นข้อนี้มี let + กรรม (her) + V1 จึงตอบ stay

75.Which is correct?
1. Then James and I to the theater.
2. Ariana written all the names of her production team.
3. Will and Chris went to the press conference.
4. I really improving my English language skills.
ตอบ 3 ข้อไหนถูกต้อง
1. ผิดเพราะประธาน James and 1 ต้องตามด้วยกริยาหลัก เช่น went to the theater ไปดูหนัง
2. ผิด เพราะประธาน Ariana ต้องตามกริยาช่องที่ 2 คือ wrote ไม่ใช่กริยาช่องที่ 3 written
3. ถูกต้องเพราะมีประธาน Will and Chris ตามด้วยกริยา went to
4. ผิด เพราะประธาน 1 ตามด้วยกริยา am ก่อน ต้องเป็น I am really improving……

Part II: Vocabulary (คําศัพท์)
Choose the best answer

76.Sunsanee, a(n)_____nun, won the US Humanitarian Award in 2008.
1. maximum
2. preventive
3. conscious
4. influential
ถาม ศันสนีย์ แม่ชีผู้ทรงอิทธิพล ได้รับรางวัล US Humanitarian Award ในปี 2008
ตอบ 4 บทที่ 5 หน้า 199 1. มากที่สุด 2. ที่ป้องกันได้ 3. มีสติ 4. มีอิทธิพล

77.During the COVID-19 pandemic, more people____to shop online rather than in-person.
1. opt
2. fulfill
3. conclude
4. show up
ถาม ในช่วงที่โควิด-19 แพร่ระบาด ผู้คนจํานวนมากขึ้นเลือกซื้อสินค้าออนไลน์มากกว่าที่หน้าร้าน
ตอบ 1 บทที่ 7 หน้า 268 1. เลือก 2. เติมเต็ม 3. สรุป 4. ปรากฏตัว แสดงให้เห็น

78.When I heard the news, I felt absolutely_____.
1. close
2. continued
3. inspected
4. terrific
ถาม พอได้ยินข่าว ฉันรู้สึกมหัศจรรย์จริง ๆ
ตอบ 4 หน้า 367 1. ปิด ใกล้ชิด 2. ดําเนินต่อไป 3. ตรวจสอบ 4. ยอดเยี่ยม มหัศจรรย์

79.This restaurant is popular because of its ____location.
1. ideal
2. incomplete
3. identifiable
4. incomprehensible
ถาม ร้านอาหารนี้ดังเพราะทําเลที่ตั้งดีเยี่ยม
ตอบ 1 บทที่ 4 หน้า 168 1. อุดมคติ สมบูรณ์แบบ 2. ไม่สมบูรณ์ 3. สามารถระบุ 4. ไม่เข้าใจ

80.Our university has a long tradition of athletic____.
1. side
2. notion
3. excellence
4. ground
ถาม มหาวิทยาลัยของเรามีความเป็นเลิศด้านการกีฬามาอย่างยาวนาน
ตอบ 3 บทที่ 9 หน้า 327 1. ข้าง ด้าน 2. ความคิด 3. ความเยี่ยมยอด โดดเด่น 4. พื้นสนาม

81.The manager put forward a plan for improving our office____.
1. talent
2. courage
3. specialist
4. efficiency
ถาม ผู้จัดการเสนอแผนการปรับปรุงประสิทธิภาพสํานักงานของเรา
ตอบ 4 บทที่ 6 6 หน้า 231 1. พรสวรรค์ 2. ความกล้าหาญ 3. ผู้เชี่ยวชาญ 4. ความมีประสิทธิภาพ

82.The outbreaks of____has led to a decline in population.
1. peace
2. Facility
3. flag
4. plague
ถาม ความเดือดร้อนของโรคระบาดทําให้ประชากรลดลง
ตอบ 4 บทที่ 1 หน้า 3 1. ความสงบ 2. สิ่งอํานวยความสะดวก 3. ธง 4. ความเดือดร้อน

83.That movie star’s violence____ a public outcry.
1. predicted
2. got used to
3. determined
4. triggered
ถาม ความรุนแรงของดาราหนังคนนั้นก่อให้เกิดการโห่ร้องของสาธารณชน
ตอบ 4 บทที่ 8 1. ทํานาย พยากรณ์ 2. เคยชิน 3. ประเมิน 4. ก่อให้เกิด

84.Ken____his chair back while listening to his mom’s complaint.
1. caused
2. erupted
3. enable
4. tilted
ถาม เคนเอียงเก้าอี้ขณะฟังคําบ่นของแม่
ตอบ 3 บทที่ 12 หน้า 397 1. ก่อให้เกิด 2. ปะทุ ระเบิด 3. สามารถทําให้ 4. เอียง ตะแคง

85.What are some features of the English_____?
1. crust
2. sequence
3. surface
4. landscape
ถาม อะไรคือคุณสมบัติบางอย่างของสิ่งที่ปรากฏทางด้านภาษาอังกฤษ
ตอบ 3 บทที่ 12 หน้า 398 1. ส่วนนอก เปลือกโลก 2. ขั้นตอน 3. ด้านนอก ผิวนอก 4. ภูมิทัศน์

86.As you can see, the coastal mountains vary greatly in_____structure.
1. compact
2. fertile
3. geological
4. eternal
ถาม อย่างที่คุณเห็น ภูเขาตามชายฝั่งทะเลมีความแตกต่างกันไปตามโครงสร้างทางธรณีวิทยา
ตอบ 3 บทที่12 หน้า 395 1. กะทัดรัด 2. อุดมสมบูรณ์ 3. เกี่ยวกับธรณีวิทยา 4. ไม่เปลี่ยนแปลง

87.When you become a mother, you get a different _____on life.
1. graduate
2. rivalry
3. perspective
4. abstract
ถาม เมื่อคุณเป็นแม่ คุณจะได้มุมมองชีวิตที่แตกต่างออกไป
ตอบ 3 บทที่ 9 หน้า 329 1. สําเร็จการศึกษา 2. การแข่งขัน 3. มุมมอง ทัศนะ 4. นามธรรม

88.Tammy usually wears a(n)_____blue jumper with no fancy trimmings.
1. iconic
2. representative
3. plain
4. comprehensive
ถาม แทมมี่มักจะใส่เสื้อจัมเปอร์สีน้ําเงินเรียบ ๆ ไม่มีการตัดแต่งลวดลาย
ตอบ 3 บทที่ 11 หน้า 381 1. ปูชนียวัตถุ 2. ตัวแทน 3. ง่าย เรียบ 4. เป็นที่เข้าใจได้

89.We can understand someone by watching his or her facial
1. surfaces
2. expressions
3. misconceptions
4. aspects
ถาม เราสามารถเข้าใจใครสักคนได้โดยดูจากการแสดงออกทางสีหน้าของเขาหรือของเธอ
ตอบ 2 บทที่ 7 1. ผิว ผิวนอก 2. การแสดงออก 3. ความคิดที่ผิด 4. แง่ มุม ด้าน

90. We don’t know why Jim has lately abandoned all forms of dining____.
1. faith
2. riot
3. etiquette
4. talent
ถาม เราไม่รู้ว่าทําไมช่วงนี้จิมละทิ้งมารยาทในการรับประทานอาหารทุกรูปแบบ
ตอบ 3 บทที่ 7 1.เลื่อมใส ศรัทธา 2. การจลาจล 3. มารยาทหรือธรรมเนียมปฏิบัติ 4. พรสวรรค์

91.Mike will be____in the Winter Olympic Games.
1. competing
2. viewing
3. tightening
4. meaning
ถาม ไมค์จะลงแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวนี้
ตอบ 1 บทที่ 9 1. แข่งขัน 2. การดู 3. ทําให้แน่น 4. ความหมาย

92.Changing a job is not a(n)_____in your career, at all.
1. failure
2. worth
3. property
4. courage
ถาม การเปลี่ยนงานไม่คุ้มค่าในอาชีพการงานของคุณเลย
ตอบ 2 บทที่ 1 1. ความล้มเหลว 2. คุ้มค่า มีคุณค่า 3. ทรัพย์สมบัติ 4. ความกล้าหาญ

93.This is a(n)_____project. There are just very few team members we can trust, so I am not sure if we will succeed.
1. simple
2. terrible
3. timid
4. ambitious
ถาม นี่เป็นโครงการที่ต้องใช้ความพยายามสูง มีสมาชิกในทีมเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่เราไว้ใจได้ ดังนั้น ฉันไม่แน่ใจว่าจะสําเร็จหรือเปล่า
ตอบ 4 บทที่ 6 1. ง่าย ธรรมดา 2. ร้ายแรง 3. ขี้ขลาด 4. ยาก ต้องใช้ความพยายามสูง

94.The success of this project will dictate the____ of our organization.
1. procrastination
2. protein
3. program
4. prosperity
ถาม ความสําเร็จของโครงการนี้จะเป็นตัวกําหนดถึงความเจริญรุ่งเรืองขององค์กรเรา
ตอบ 4 บทที่ 1 1. การผลัดวัน 2. โปรตีน 3. โครงการ 4. ความก้าวหน้า เจริญรุ่งเรือง

95.His parents made_____ so that he could have a good life.
1. sacrifices
2. sacredness
3. neatness
4. edifices
ถาม พ่อแม่ของเขาเสียสละเพื่อว่าเขาจะได้มีชีวิตที่ดี
ตอบ 1 บทที่ 3 1. ความเสียสละ 2. ความศักดิ์สิทธิ์ 3. ความประณีต 4. อาคาร สิ่งปลูกสร้าง

96.Although he showed a bit of____,he still agreed to help me finish my project.
1. occupation
2. hesitation
3. attention
4. intention
ถาม แม้ว่าเขาจะแสดงความลังเลเล็กน้อย แต่เขาก็ยังตกลงที่จะช่วยฉันทําโครงการของฉันให้เสร็จ
ตอบ 2 บทที่ 1 1. อาชีพ 2. ความลังเลรีรอ 3. ความสนใจ 4. ความตั้งใจ

97.The government vowed to____human trafficking.
1. include
2. refine
3. account
4. eradicate
ถาม รัฐบาลให้คํามั่นว่าจะกําจัดการค้ามนุษย์ให้หมดสิ้น
ตอบ 4 บทที่ 11 1. รวม 2. ขัดเกลา 3. เรื่องราว 4. กําจัดให้หมดสิ้น

98.Unfortunately, that leader cannot distinguish vice from____.
1. reward
2. conscience
3. virtue
4. self-doubt
ถาม น่าเสียดายที่ผู้นําคนนั้นไม่สามารถแยกแยะความชั่วออกจากคุณธรรมได้
ตอบ 3 บทที่ 6 1. รางวัล 2. ความมีสติ 3. คุณธรรม ความดี 4. ความไม่แน่ใจในตัวเอง

99. Before having the operation done, I asked another doctor for a second medical____.
1. opinion
2. independence
3. footstep
4. efficiency
ถาม ก่อนทําการผ่าตัด ฉันขอให้หมออีกท่านหนึ่งแสดงความเห็นทางการแพทย์ครั้งที่สอง
ตอบ 1 บทที่ 7 1. ความเห็น 2. ความเป็นอิสระภาพ 3. เจริญรอยตาม 4. ความมีประสิทธิภาพ

100.The company has to assign the new____ to their suitable departments before
they can start learning.
1. employers
2. benefactors
3. designators
4. interns
ถาม บริษัทต้องส่งนักศึกษาฝึกงานใหม่ไปยังแผนกที่เหมาะสมก่อนพวกเขาสามารถเริ่มเรียนรู้
ตอบ 4 บทที่ 2 1. นายจ้าง 2. ผู้มีพระคุณ 3. นักออกแบบ 4. มุมมอง ทัศนะ

101.Anna was given an award for her___in science.
1. extension
2. opportunity
3. achievement
4. perspective
ถาม แอนนาได้รับรางวัลความสําเร็จด้านวิทยาศาสตร์ของเธอ
ตอบ 3 บทที่ 10 1. การขยาย 2. โอกาส 3. ความสําเร็จ 4. นักศึกษาฝึกหัด

102.Simona became heavily____in climate change campaigns.
1. involved
2. sought
3. frightening
4. worth
ถาม ซิโมนามีส่วนร่วมอย่างมากในการรณรงค์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ตอบ 1 บทที่ 10 1. เกี่ยวข้องพัวพัน 2. เสาะหา 3. ทําให้ตกใจ 4. มีคุณค่า

103.After the team leader dismissed all of the ideas from the junior members, nobody wanted to ____a word because they were all disappointed and wanted nothing to do with her anymore.
1. undergo
2. urge
3. utter
4. unite
ถาม หลังจากหัวหน้าทีมละเลยความคิดทั้งหมดจากสมาชิกรุ่นน้อง ไม่มีใครอยากจะพูดสักคําออกไป เพราะทุกคนผิดหวังและไม่ต้องการอะไรที่จะทํางานร่วมกับเธออีกต่อไป
ตอบ 3 บทที่ 4 1. อยู่ภายใต้รับทราบ 2. กระตุ้น 3. พูด เปล่งเสียง 4. รวมเป็นหนึ่ง

104. Karl doesn’t want to attend class today since he knows he will be asked to____
the poem.
1. influence
2. ponder
3. resemble
4. interpret
ถาม วันนี้คาร์ล ไม่อยากไปเรียนเพราะรู้ว่าจะถูกของให้ตีความบทกลอน
ตอบ 4 บทที่ 11 1. มีอิทธิพล 2. ไตร่ตรอง ครุ่นคิด 3. คล้าย เหมือน 4. แปลความ สื่อความ

105.It’s true that the accompaniments of the war are____and sorrow.
1. misery
2. uncertainty
3. abundance.
4. confluence
ถาม เป็นความจริงสิ่งที่ตามมาของสงครามคือความทุกข์และความเศร้าโศก
ตอบ 1 บทที่ 6 1. ความทุกข์อันใหญ่หลวง 2. ความไม่แน่นอน 3. อุดมสมบูรณ์ 4. การรวมกัน

106. He will be a better leader than his____The old one often looked down on others
and took advantage of her team members.
1. modifier
2. explorer
3. navigator
4. predecessor

ถาม เขาจะเป็นผู้นําที่ดีกว่ารุ่นก่อน คนรุ่นก่อนมักจะดูถูกคนอื่นและมักจะใช้ประโยชน์จากสมาชิกทีม
ของเธอ
ตอบ 4 บทที่ 1 1. คําขยาย 2. นักสํารวจ 3. นักเดินเรือ 4. คนรุ่นก่อน บรรพบุรุษ

107.Aidan proposed a____ plan to solve the current inflation problem.
1. reflexive
2. conscious
3. sophisticated
4. meditated
ถาม อีแดนเสนอแผนขั้นสูงเพื่อแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อในปัจจุบัน
ตอบ 3 บทที่ 11 1. สะท้อน 2. มีสติ 3. ขั้นสูง ที่ซับซ้อน 4. นั่งสมาธิ เข้าฌาน

108.Throughout the trial, Richard attempted to____himself as a victim.
1. portray
2. extend
3. pursue
4. value
ถาม ตลอดการพิจารณาคดี ริชาร์ดพยายามที่จะแสดงภาพตัวเองเป็นเหยื่อ
ตอบ 1 บทที่ 10 1. พรรณนา วาดภาพ 2. ขยาย 3. ติดตาม 4. คุณค่า ค่านิยม

109.The bankruptcy affected every _____of Chris’s life.
1. sincerity
2. distinction
3. aspect
4. concept
ถาม การล้มละลายส่งผลกระทบต่อชีวิตของคริสทุกด้าน
ตอบ 3 บทที่ 9 1. ความจริงใจ 2. ความแตกต่าง 3. แง่มุม ด้าน 4. ความคิด

110.Ted needs to rest for a few days before building up his____after the injury.
1. start
2. strength
3. serenity
4. serendipity
ถาม เท็ดต้องพักสองสามวันก่อนที่จะเสริมกําลังหลังจากที่ได้รับบาดเจ็บ
ตอบ 2 บทที่ 3 1. เริ่มต้น 2. ความกล้าหาญ ความแข็งแรง 3. ความสงบสุข 4. ความบังเอิญ

111.Not all experts_____prices will continue to rise.
1. situate
2. earn
3. boost
4. predict
ถาม ไม่ได้มีผู้เชี่ยวชาญทุกคนทํานายว่าราคาจะยังคงเพิ่มขึ้นต่อไป
ตอบ 4 บทที่ 5 1. ตั้งอยู่ 2. ได้รับ 3. ส่งเสริม สนับสนุน 4. ทํานาย พยากรณ์

112.Many prisoners and guards were injured during the prison____last night.
1. rank
2. ritual
3. rage
4. riot
ถาม นักโทษและผู้คุมหลายคนได้รับบาดเจ็บจากการจลาจลในเรือนจําเมื่อคืนนี้

ตอบ 4 บทที่ 2 1. ตําแหน่ง 2. พิธีกรรม 3. ความโกรธ 4. การจลาจล

113. My office is____ on Ramkhamhaeng Road.
1. excited
2. surprised
3. Interested
4. situated
ถาม สํานักงานของฉันตั้งอยู่บนถนนรามคําแหง
ตอบ 4 บทที่ 4 1. รู้สึกตื่นเต้น 2. รู้สึกประหลาดใจ 3. รู้สึกสนใจ 4. ตั้งอยู่

114. Robert is a man of French_____.
1. endeavor
2. citizenship
3. descent
4. manner
ถาม โรเบิร์ตเป็นผู้ชายเชื้อสายฝรั่งเศส
ตอบ 3 บทที่ 5 1. ความพยายาม 2. ความเป็นพลเมือง 3. ต้นตระกูล สายโลหิต 4. กริยามารยาท

115.Please get into our Google Classroom at 9.00 a.m. _____.
1. primarily
2. precisely
3. gradually
4. briskly

ถาม กรุณาเข้าห้องเรียนในกูเกิ้ลเวลา 9.00 ตรง
ตอบ 2 1. อย่างสําคัญ 2. อย่างเที่ยงตรง พอดี 3. ทีละเล็กทีละน้อย 4. อย่างเร็ว

116.We saw the____from the boys’ flashlights.
1. beams
2. roles
3. achievements
4. prosperities
ถาม เราเห็นลําแสงจากไฟฉายของเด็กชาย
ตอบ 1 1. ลําแสง 2. บทบาท 3. ความสําเร็จ 4. ความเจริญรุ่งเรือง

117.The idea of walking alone in a cemetery at night is____to me.
1. causing
2. motivated
3. scary
4. approached
ถาม ความคิดที่จะเดินคนเดียวในสุสานตอนกลางคืนนั้นน่ากลัวสําหรับฉัน
ตอบ 3 บทที่ 10 1. ก่อให้เกิด 2. กระตุ้น 3. ตื่นตระหนก หวาดกลัว 4. เข้าใกล้

118.Is German measles a(n)_____disease, mom?
1. responsible
2. valuable
3. chronic
4. essential
ถาม โรคหัดเยอรมันเป็นโรคเรื้อรังไหมแม่
ตอบ 3 บทที่ 8 1. รับผิดชอบ 2. มีค่า 3. เรื้อรัง 4. สําคัญ จําเป็น

119.It is unbelievable how the Internet could_____the world. You can connect with people from across the globe in seconds.
1. supply
2. set out
3. shrink
4. shut
ถาม ไม่น่าเชื่อว่าอินเทอร์เน็ตจะทําให้โลกหดตัวได้ คุณสามารถเชื่อมต่อกับผู้คนจากทั่วโลกในไม่กี่
วินาที
ตอบ 3 บทที่ 3 1. จัดหาให้ 2. เริ่ม ออกเดินทาง 3. หดตัวเล็กลง 4. ปิด

120.People admire him because his scientific____brings about great advances.
1. failure
2. error
3. mistake
4. endeavor
ตาม ผู้คนชื่นชมเขาเพราะความพยายามทางด้านวิทยาศาสตร์ของเขาทําให้เกิดความก้าวหน้าอย่างมาก
ตอบ 4 บทที่ 3 1. ความล้มเหลว 2. ความผิดพลาด 3.ความผิดพลาด 4. ความพยายาม

THA1001 ลักษณะและการใช้ภาษาไทย s/2564

การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2564
ข้อสอบกระบวนวิชา THA 1001 ลักษณะและการใช้ภาษาไทย
คําสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1.ข้อใดไม่สะท้อนลักษณะของภาษาไทยที่เป็นคําโดดชัดเจนที่สุด
(1) นักร้องสุดสวยขับรถหรูสีขาว
(2) แมวจ้องมองดูปลาย่างบนจาน
(3) เขาสั่งผัดผักบุ้งหมูกรอบตั้งสิบกล่อง
(4) คนน่ารักมักใจดีทุกคน
ตอบ 1 หน้า 2, 5 – 6 (62204), 2 – 3 (H), (คําบรรยาย) ลักษณะของภาษาไทยที่เป็นคําโดด มีดังนี้
1. คําแต่ละคําต้องออกเสียงพยางค์เดียว และอาจเป็นคําควบกล้ำก็ได้
2. ต้องเป็นภาษาไทยเท่านั้น ไม่ใช่คํายืมจากภาษาอื่น
3. มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
4. มีระบบวรรณยุกต์ หรือมีระบบเสียงสูงต่ำ ฯลฯ
(คําว่า “รถ” ในตัวเลือกข้อ 1 มีตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา)

2. “พลายลูกหว้ามีน้ำหนักมาก เพราะกินกล้วยวันละสามต้น” ข้อความนี้ไม่ปรากฏลักษณะภาษาไทยแบบใด
(1) มีระบบเสียงสูงต่ำ
(2) บอกพจน์
(3) บอกเพศ
(4) ใช้คําลักษณนาม
ตอบ 1 หน้า 2 (62204), 6 – 10 (H) ข้อความข้างต้นปรากฏลักษณะของภาษาไทย ดังนี้
1. บอกเพศ คือ ชาย/หญิง หรือตัวผู้ตัวเมีย เช่น พลาย (ช้างตัวผู้)
2. บอกพจน์ คือ จํานวน เช่น สาม (ใช้คําบอกจํานวนนับ)
3. ใช้คําลักษณนาม ซึ่งมากับคําขยายบอกจํานวนนับ เช่น สองตัน ฯลฯ

3. รูปพยัญชนะไทยลําดับที่ 43 ตรงกับข้อใด
(1) อ
(2) ฬ
(3) ฮ
(4) ห
ตอบ 1 (คําบรรยาย) อ = รูปพยัญชนะไทยลําดับที่ 43 เรียกว่า “ออ อ่าง” เป็นอักษรกลาง ใช้เป็น พยัญชนะต้น, ใช้นําตัว ย ให้ผันอย่างอักษรกลาง มี 4 คํา คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก, ใช้เป็นรูปสระออ เช่น รอ ปอ และประสมเป็นสระอือ เอือ เออ เช่น มือ เถือ เธอ

4.“เหล่านักรบเตรียมพร้อมเข้าสู่สมรภูมิรบแล้ว” ข้อความนี้ปรากฏลักษณะของภาษาไทยแบบใด
(1) มีระบบเสียงสูงต่ำ
(2) บอกเพศ
(3) บอกพจน์
(4) บอกมาลา
ตอบ 3 หน้า 77, 110 (62204), 76, 98 (H) การแสดงพจน์ (จํานวน) จะมีอยู่หลายวิธี แต่ก็ต้องดูความหมายของประโยคด้วย ดังนี้

1. ใช้คําบอกจํานวนหนึ่ง (เอกพจน์) ได้แก่ โสด เดียว หนึ่ง โทน ฯลฯ
2. ใช้คําบอกจํานวนมากกว่าหนึ่ง (พหูพจน์) ได้แก่ คู่แฝด (จํานวนสองที่กําหนดไว้เป็นชุด), กลุ่ม/หมู่ ฝูง/เหล่า/พวก/ขบวนช่อ (มีจํานวนมากกว่าสองขึ้นไป) ฯลฯ และยังสามารถใช้ คําขยาย ได้แก่ มาก หลาย ฯลฯ ใช้คําบอกจํานวนนับ ได้แก่ สอง สี่ ห้า โหล ฯลฯ, ใช้คําซ้ำ ได้แก่ เด็ก ๆ หนุ่ม ๆ ฯลฯ และใช้คําซ้อน ได้แก่ ลูกเด็กเล็กแดง (เด็กเล็ก ๆ หลายคน) ฯลฯ

5. ข้อใดไม่เป็นสระเดี่ยว
(1) ถ้ำ
(2) ขาย
(3) หลบ
(4) ท้อง
ตอบ 2 หน้า 8, 13 – 14 (62204), 17, 24 – 30 (H) เสียงสระในภาษาไทยมี 28 เสียง ดังนี้
1. สระเดี่ยว 18 เสียง แบ่งเป็นเสียงสั้น 9 เสียง ได้แก่ อะ อิ อี อุ เอะ แอะ เออะ โอะ เอาะ และเสียงยาว 9 เสียง ได้แก่ อา อี อือ อู เอ แอ เออ โอ ออ
2. สระผสม 10 เสียง แบ่งเป็นเสียงสั้น 5 เสียง ได้แก่ เอียะ เอือะ อัวะ เอา ไอ และเสียงยาว 5 เสียง ได้แก่ เอีย เอื้อ อัว อาว อาย
(ยกเว้นคําใดที่ลงท้ายด้วย ยาว ซึ่งเป็นพยัญชนะกึ่งสระ อาจเป็นได้ทั้งตัวสะกด ยาว หรือเป็น สระผสม 2 เสียง หรือ 3 เสียงก็ได้)

6. “เช้านี้พ่อค้าขายน้ำพริกหนุ่มได้ตั้งสามกระปุก” ข้อความนี้มีสระเดี่ยวกี่เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ)
(1) 7 เสียง
(2) 6 เสียง
(3) 5 เสียง
(4) 4 เสียง
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีสระเดี่ยว 6 เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ) ได้แก่
1. สระอี = นี้
2. สระออ – พ่อ
3. สระอา – ค้า/สาม
4. สระอะ = น้ำ/ตั้ง/กระ
5. สระอิ = พริก
6. สระอุ = หนุ่ม/ปุก

7.ข้อใดมีเสียงสระตรงกับคําว่า “เหตุ”
(1) เพลิน
(2) เลข
(3) เป็ด
(4) เบา
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ) คําว่า “เหตุ/เลข” – สระเอ (ส่วนคําว่า “เพลิน” – สระเออ “เป็ด” – สระเอะ, “เบา” – สระเอา)

8.ข้อใดไม่เป็นสระกลาง
(1) แทรก
(2) เชิญ
(3) ศัพท์
(4) ลิม
ตอบ 1 หน้า 9 – 10 (62204), 18 – 19 (H) สระเดี่ยวที่จําแนกตามส่วนต่าง ๆ ของลิ้นที่ทําหน้าที่ ซึ่งจะต้องมีสภาพของริมฝีปากประกอบด้วย ได้แก่
1. สระกลาง ได้แก่ อา คือ เออ อะ อึ เออะ
2. สระหน้า ได้แก่ อี เอ แอ อิ เอะ แอะ
3. สระหลัง ได้แก่ อู โอ ออ อุ โอะ เอาะ

9.ข้อใดไม่เป็นสระผสม
(1) เลี้ยง
(2) ปราชญ์
(3) เปลี่ยน
(4) เฉย
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ

10. ข้อใดเป็นสระผสม 2 เสียง
(1) เศษ
(2) เก็บ
(3) แขว
(4) สร้าง
ตอบ 3 หน้า 14 (62204), 26 (H), (ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ) คําว่า “แซว” ลงท้ายด้วย 2 ซึ่งเป็น พยัญชนะกึ่งสระ จึงอาจเป็นได้ทั้งตัวสะกด 2 หรือเป็นสระผสม 2 เสียง ประกอบด้วย แอ + ว (แอ + อู) = แอว (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นสระเดี่ยว)

11. ข้อใดไม่เป็นสระผสม
(1) ตรวจ
(2) เสือ
(3) ชาว
(4) แหลก
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ

12. ข้อใดไม่มีเสียงสระอุ
(1) เก่า
(2) เอว
(3) ปลุก
(4) โชว์
ตอบ 2 หน้า 13 – 15 (62204), 24 – 25 (H), (ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ) คําว่า “เอว” ประกอบด้วย เอ + ว (เอ + อู) = เอว (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นมีเสียงสระอุ เช่น คําว่า “เก่า” ประกอบด้วย อะ + ว (อะ + อุ) = เอา, “ปลุก” – สระอุ, “โชว์” ประกอบด้วย โอ + ว (โอ + อุ) = โอ)

13. ข้อใดประกอบด้วยเสียงสระอู + อา + อี
(1) หลุยส์
(2) สวน
(3) ห้วย
(4) ทรวง
ตอบ 3 หน้า 14 (62204), 23, 28, 30 (H), (ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ) คําว่า “ห้วย” ประกอบด้วย อัว + ย (อู + อา + อี) = อวย (ส่วนตัวเลือกข้ออื่น เช่น คําว่า “หลุยส์” ประกอบด้วย อุ + ย (อุ + อิ) = อุย, “สวน/ทรวง” ประกอบด้วย อู + อา = อ้ว)

14. พยัญชนะต้นในข้อใดเกิดที่ฐานคอ
(1) มีด
(2) อวย
(3) คอก
(4) ร้อน
ตอบ 2 หน้า 17 – 18 (62204), 37 – 38 (H) พยัญชนะต้นที่จําแนกตามฐานกรณ์ (ที่เกิดหรือที่ตั้งของเสียง) สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
1. ฐานคอ (คอหอย) มี 2 เสียง คือ ห (ฮ) อ
2. ฐานเพดานอ่อน มี 3 เสียง คือ ก ค (ข ฆ) ง
3. ฐานเพดานแข็ง มี 5 เสียง คือ จ ช (ฉ ณ) ส (ซ ศ ษ) ย (ญ) ร
4. ฐานฟัน มี 5 เสียง คือ ด (ฎ) ต (ฏ) ท (ถ ฐ ฑ ฒ ธ) น (ณ) ล (ฬ)
5. ฐานริมฝีปาก ได้แก่ ริมฝีปากบนกับล่างประกบกัน มี 5 เสียง คือ บ ป พ (ผ ภ) ม ว และริมฝีปากล่างประกบกับฟันบน มี 1 เสียง คือ ฟ (ฝ)

15. พยัญชนะต้นในข้อใดเป็นประเภทกึ่งเสียดแทรก
(1) เย็น
(2) ช่วย
(3) นิ่ง
(4) เทียน
ตอบ 2 หน้า 19 – 21 (62204), 39 – 43 (H), (คําบรรยาย) พยัญชนะต้นของไทยที่มีการจําแนกตาม รูปลักษณะของเสียง แบ่งออกได้ดังนี้
1. พยัญชนะระเบิด (พยัญชนะกัก) = ก ค (ข ฆ) จ ด (ฎ) ต (ฏ) ท ถ ฐ ฑ ฒ ธ) บ ป พ (ผ ภ) อ
2. พยัญชนะนาสิก = ง น (ณ) ม
3. พยัญชนะเสียดแทรก = ส (ซ. ศ ษ) ฟ (ฝ)
4. พยัญชนะกึ่งเสียดแทรก = ช (ฉ ฌ)
5. พยัญชนะกึ่งสระ = ย ว
6. พยัญชนะเหลว – ร ล
7. พยัญชนะเสียงหนัก = ห (ฮ) รวมทั้งพยัญชนะที่มีเสียง ห ผสมอยู่ด้วย = ค (ข) ช (ฉ) ท (ถ) พ (ผ)

16. ข้อใดเป็นพยัญชนะเคียงกันมา
(1) พลังงาน
(2) บ้านเรือน
(3) สหกรณ์
(4) ล่อกแลก
ตอบ 1 หน้า 22 (62204), 44 (H), (คําบรรยาย) การออกเสียงแบบตามกันมา หรือเคียงกันมา (การออกเสียงแบบเรียงพยางค์) คือ พยัญชนะคู่ที่ออกเสียงแต่ละเสียงเต็มเสียง และเสียง ทั้งสองไม่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน นอกจากนี้ถ้าหากคําใดที่มีเสียงสระอะ อา อิ อี อุ อู อยู่กลางคํา และพยางค์หน้าออกเสียงเต็มเสียงทุกคําให้ถือเป็นพยัญชนะคู่แบบเคียงกันมา เช่น อุปมา (อุปะมา), กิจกรรม (กิดจะกํา), พลังงาน (พะลังงาน) ฯลฯ

17. ข้อใดเป็นพยัญชนะนํากันมา
(1) บัญชา
(2) ตํานา
(3) สะท้าน
(4) ถวาย
ตอบ 4 หน้า 22 (62204), 44 (H) การออกเสียงแบบนํากันมา (อักษรนํา) คือ พยัญชนะคู่ที่พยัญชนะ ตัวหน้ามีอํานาจเหนือพยัญชนะตัวหลัง โดยที่พยัญชนะตัวหน้าจะออกเสียงเพียงครึ่งเสียง และพยัญชนะตัวหลังก็เปลี่ยนเสียงตาม ซึ่งจะออกเสียงเหมือนกับเสียงที่มี “ห” นํา เช่น อยู่ (หยู่), ทหาร (ทะหาน), สหาย (สะหาย), ถวาย (ถะหวาย), ไหน, ใหม่, หน้า ฯลฯ

18. ข้อใดไม่ใช่พยัญชนะควบกันมา
(1) คลอง
(2) ทราบ
(3) ไหน
(4) แสร้ง
ตอบ 3 หน้า 22 – 26 (62204), 44 – 49 (H) การออกเสียงแบบควบกันมา หรืออักษรควบ คือ พยัญชนะคู่ที่ออกเสียง 2 เสียงควบกล้ําไปพร้อมกัน แบ่งออกเป็น
1. อักษรควบกล้ำแท้ หรือเสียงกล้ํากันสนิท โดยเสียงทั้งสองจะร่วมเสียงสระและวรรณยุกต์ เดียวกัน เช่น กลับ, คลอง, ความ ฯลฯ
2. อักษรควบกล้ำไม่แท้ หรือเสียงกล้ำกันไม่สนิท เช่น ทราบ (ซาบ), แสร้ง (แสง), จริง (จึง) ฯลฯ (ส่วนคําว่า “ไหน” เป็นพยัญชนะนํากันมา) (ดูคําอธิบายข้อ 17. ประกอบ)

19. ข้อใดไม่มีพยัญชนะคู่
(1) ข้ารับทราบความจริงแล้ว
(2) ข้ามิอาจสะกดความดีใจต่อหน้าเขาได้
(3) ข้าไปสอดส่องเจ้าแต่เมื่อใดกัน
(4) ข้าน้อยสมควรกลับไปทบทวนบทเรียนใหม่
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 17. และ 18. ประกอบ

20. ข้อใดไม่มีเสียงพยัญชนะสะกดทุกคํา
(1) เกาะเต่า
(2) กระแส
(3) เสียขวัญ
(4) ไม่ซื้อ
ตอบ 2 หน้า 27 – 29 (62204), 50 – 53 (H) พยัญชนะสะกดของไทยจะมีเพียง 8 เสียงเท่านั้น ได้แก่
1. แม่กก = ก ข ค ฆ
2. แม่กด – จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส
3. แม่กบ – บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ
4. แม่กน = น ณ ร ล ฬ ญ
5. แม่กง – ง
6. แม่กม – ม
7. แม่เกย = ย
8. แม่เกอว – ว
นอกจากนี้สระอํา (อัม) = แม่กม, สระไอ/โอ (อัย) = แม่เกย และสระเอา (อาว) = แม่เกอว (คําว่า “เกาะเต่า” – แม่เกอว “เสียขวัญ” – แม่กน “ไม่ซื้อ” – แม่เกย

21. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดเหมือนกัน
(1) โต๊ะหมู่
(2) เจ้าบ้าน
(3) หัวขาว
(4) สํารวม
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 20. ประกอบ

22. “พี่ชายคนนั้นซื้อสายสร้อยทั้งสามเส้น” ข้อความนี้มีพยัญชนะสะกดที่เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ)
(1) 5 เสียง
(2) 4 เสียง
(3) 3 เสียง
(4) 6 เสียง
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 20. ประกอบ) ข้อความนี้ปรากฏพยัญชนะสะกด 4 เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ) คือ
1. แม่เกย = ชาย, สาย, สร้อย
2. แม่กน – คน, นั้น, เส้น
3. แม่กง = ตั้ง
4. แม่กม = สาม
(ส่วนคําที่ไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด ได้แก่ พี่, ซื้อ)

23. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดที่เป็นคําเป็นทุกคํา
(1) เพชรพลอย
(2) โชคลาภ
(3) ศักดิ์สิทธิ์
(4) หอยสังข์
ตอบ 4 หน้า 28 (62204), 51 (H), (ดูคําอธิบายข้อ 5. และ 20. ประกอบ) การพิจารณาลักษณะของ คําเป็นกับคําตาย มีหลักเกณฑ์ดังนี้
1. คําเป็น คือ คําที่สะกดด้วยแม่กง กน กม เกย เกอว และคําที่ไม่มีตัวสะกด ใช้สระเสียงยาว รวมทั้งสระอํา ใอ ไอ เอา (เพราะออกเสียงเหมือนมีตัวสะกดเป็นแม่กม เกย เกอว)
2. คําตาย คือ คําที่สะกดด้วยแม่กก กด กบ และคําที่ไม่มีตัวสะกด ใช้สระเสียงสั้น

24. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ต่างจากข้ออื่น
(1) กล้า
(2) น้อง
(3) ต้ม
(4) ขว้าง
ตอบ 2 หน้า 33 – 37 (62204), 55 – 60 (H) เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยจะมี 5 เสียง 4 รูป ได้แก่ เสียงสามัญ (ไม่มีรูปวรรณยุกต์กํากับ), เสียงเอก ( ่ ), เสียงโท ( ้ ), เสียงตรี ( ๊ ) และเสียง จัตวา ( ๋ ) ซึ่งในคําบางคํา รูปและเสียงวรรณยุกต์อาจไม่ตรงกัน จึงควรเขียนรูปวรรณยุกต์ให้ ถูกต้อง เช่น คําว่า “น้อง” มีเสียงวรรณยุกต์ตรี แต่ใช้ไม้โท (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นมีรูปและเสียง วรรณยุกต์โท)

25. ข้อใดไม่มีเสียงวรรณยุกต์สามัญ
(1) ยา
(2) ลอย
(3) หยิบ
(4) ฟรี
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) คําว่า “หยิบ” มีเสียงวรรณยุกต์เอก แต่ไม่มีรูปวรรณยุกต์กํากับ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นมีเสียงวรรณยุกต์สามัญ)

26. ข้อใดไม่มีเสียงวรรณยุกต์โท
(1) นิ่ม
(2) เป้า
(3) ล้าง
(4) ใช่
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) คําว่า “ล้าง” มีเสียงวรรณยุกต์ตรี แต่ใช้ไม้โท (ส่วนตัวเลือก ข้ออื่นมีเสียงวรรณยุกต์โท)

27. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์เอก
(1) คลั่ง
(2) ผัก
(3) งด
(4) พริก
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) คําว่า “ผัก” มีเสียงวรรณยุกต์เอก แต่ไม่มีรูปวรรณยุกต์กํากับ (ส่วนคําว่า “คลั่ง/งด/พริก” – โท/ตรี/ตรี)

28. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ตรี
(1) เพื่อน
(2) หลาย
(3) กลับ
(4) มัด
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) คําว่า “มัด” มีเสียงวรรณยุกต์ตรี แต่ไม่มีรูปวรรณยุกต์กํากับ (ส่วนคําว่า “เพื่อน/หลาย/กลับ” = เอก/จัตวา/เอก)

29. “ใครสั่งข้าวขาหมูเจ็ดจานนะ” ข้อความนี้ปรากฏเสียงวรรณยุกต์กี่เสียง (ไม่นับเสียง)
(1) 5 เสียง
(2) 2 เสียง
(3) 4 เสียง
(4) 3 เสียง
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีเสียงวรรณยุกต์ 5 เสียง ดังนี้
1. เสียงสามัญ = ใคร/จาน
2. เสียงเอก = สั่ง/เจ็ด
3. เสียงโท = ข้าว
4. เสียงตรี = นะ
5. เสียงจัตวา = ขา/หมู

30. “กุ้งฝอย หอยลวก กุ้งย่าง ปลาเผา น้ําพริกหนุ่ม อยู่ในท้องเราแน่” ข้อความนี้มีเสียงวรรณยุกต์ใด
น้อยที่สุด (ไม่นับคําซ้ำ)
(1) โท
(2) สามัญ
(3) เอก
(4) จัตวา
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีเสียงวรรณยุกต์ 5 เสียง ดังนี้
1. เสียงสามัญ = ปลา/ใน/เรา
2. เสียงเอก = หนุ่ม/อยู่
3. เสียงโท = กุ้งลวก/ย่างแน่
4. เสียงตรี = น้ำ/พริก/ท้อง
5. เสียงจัตวา = ฝอย/หอย/เผา

31. “ใครว่าข้อสอบวิชานี้ง่ายนะ บอกเลยว่า ช่างหินมากมาย” คําว่า “หิน” จัดเป็นความหมายประเภทใด
(1) ความหมายแฝง
(2) การแยกเสียงแยกความหมาย
(3) ความหมายอุปมา
(4) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 3 หน้า 48 – 49 (62204), 64 (H) คําอุปมา คือ คําที่ใช้เปรียบเทียบเพื่อพรรณนาบอกลักษณะ ให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อให้มีความหมายใหม่เกิดขึ้นอีกความหมายหนึ่ง มีอยู่ 2 ประเภท ได้แก่
1. คําอุปมาที่ได้มาจากคําที่มีใช้อยู่แล้ว เช่น ไข่มุก (สตรีที่งดงาม บริสุทธิ์ และสูงค่า), เทวดา/ นางฟ้า (ดี สวย), หิน (ยากมาก), ล้างมือ (เลิกยุ่งเกี่ยวอีกต่อไป) ฯลฯ
2. คําอุปมาที่สร้างขึ้นใหม่ ส่วนมากเป็นคําประสม เช่น แมวนอนหวด (ซื่อจนเซ่อ) ฯลฯ

32. “เขารวบเงินทั้งหมดมาวางกองรวมกันทันที” คําว่า “รวบ – รวม” จัดเป็นการแยกเสียงแยกความหมาย
ในลักษณะใด
(1) พยัญชนะต้นบางเสียงต่างกัน
(2) เสียงสั้นยาวต่างกัน
(3) เสียงสูงต่ำต่างกัน
(4) พยัญชนะสะกดต่างกัน
ตอบ 4 หน้า 51, 56 (62204), 65 – 66 (H) การแยกเสียงแยกความหมาย คือ การเปลี่ยนแปลงเสียง ในคําบางคําที่มีความหมายหลายอย่างให้แตกต่างกันบ้าง เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนได้ว่าคํานั้น มีความหมายว่าอย่างไรในที่นั้น ๆ โดยความหมายย่อยและที่ใช้อาจจะแตกต่างกัน เช่น คําว่า “รวบ – รวม” (พยัญชนะตัวสะกดต่างกัน “แม่กบ” กับ “แม่กม”) หมายถึง นํามาไว้ด้วยกัน แต่ “รวบ” จะใช้มือทั้งสองข้างกวาดเข้าหาตัว ส่วน “รวม” นั้นของอาจไม่ได้อยู่ที่เดียวกัน หรือ ถ้าอยู่ที่เดียวกันก็ต้องห่าง ๆ กันขนาดเอามือกวาดเข้ามาไม่ได้

33. ข้อใดเป็นคําซ้อน
(1) เฒ่าแก่
(2) แผ่นดิน
(3) ปากเกร็ด
(4) ใจเย็น
ตอบ 1 หน้า 62 – 76 (62204), 67 – 76 (H) คําซ้อน คือ คําเดี่ยว 2, 4 หรือ 6 คํา ที่มีความหมาย หรือมีเสียงที่ใกล้เคียงกัน หรือเป็นไปในทํานองเดียวกัน ซ้อนเข้าด้วยกันเพื่อทําให้เกิดคําใหม่ ที่มีความหมายใหม่ขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. คําซ้อนเพื่อความหมาย (มุ่งที่ความหมายเป็นสําคัญ) ซึ่งอาจเป็นคําไทยซ้อนเข้าด้วยกัน เช่น เฒ่าแก่, หูตา, ต้นเค้า, ตายาย, ซื้อขาย ฯลฯ หรืออาจเป็นคําไทยซ้อนกับคําภาษาอื่น เช่น รากฐาน (ไทย + บาลีสันสกฤต) ฯลฯ
2. คําซ้อนเพื่อเสียง (มุ่งที่เสียงเป็นสําคัญ) เช่น ทบทวน, เว้นว่าง, ยอดเยี่ยม, แยกย้าย ฯลฯ

34. ข้อใดเป็นคําซ้อน
(1) หูฟัง
(2) หูกวาง
(3) หูตา
(4) หูเบา
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 33. ประกอบ

35. ข้อใดไม่เป็นคําซ้อน
(1) ทบทวน
(2) ต้นเค้า
(3) เว้นว่าง
(4) ข้อมือ
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 33. ประกอบ (คําว่า “ข้อมือ” เป็นคําประสม)

36. ข้อใดเป็นคําประสม
(1) ยอดเยี่ยม
(2) ซื้อขาย
(3) แยกย้าย
(4) ขายปลีก
ตอบ 4 หน้า 80 – 89 (62204), 78 – 82 (H) คําประสม คือ คําตั้งแต่ 2 คําขึ้นไปมาประสมเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้คําใหม่ที่มีความหมายใหม่มาใช้ในภาษา ซึ่งความหมายสําคัญจะอยู่ที่คําต้น (คําตัวตั้ง) ส่วนที่ตามมาเป็นคําขยาย ซึ่งไม่ใช่คําที่ขยายคําต้นจริง ๆ แต่จะช่วยให้คําทั้งคํามีความหมาย จํากัดเป็นนัยเดียว เช่น ขายปลีก, คู่รัก, ผู้การ, พี่ชาย, หัวใจ, ยาบํารุง ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่น เป็นคําซ้อน) (ดูคําอธิบายข้อ 33. ประกอบ)

37. ข้อใดไม่เป็นคําประสม
(1) คู่รัก
(2) ผู้การ
(3) พี่ชาย
(4) ตายาย
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 33. และ 36. ประกอบ

38. “หล่อนดื่มยาบํารุงหัวใจไปหลายขนาน” ข้อความนี้มีคําประสมคํา
(1) 4 คํา
(2) 2 คํา
(3) 1 คำ
(4) 3 คํา
ตอบ 2(ดูคําอธิบายข้อ 36. ประกอบ) จากข้อความมีคําประสม 2 คํา ได้แก่
1. ยาบํารุง = ยาที่ช่วยรักษาให้อยู่ในสภาพที่ดี
2. หัวใจ = อวัยวะภายในสําหรับฉีดเลือดให้หมุนเวียนเลี้ยงร่างกาย

39. ข้อใดเป็นคําซ้ําแบบแยกเป็นส่วน ๆ
(1) ไป ๆ มา ๆ ก็ทําข้อสอบไม่ได้
(2) หนู ๆ ทําข้อสอบได้ไหม
(3) เขาซื้อขนมมาแจกเป็นถุง ๆ
(4) คนดี ๆ จะไม่ทุจริตในการสอบ
ตอบ 3 หน้า 76 – 80 (62204), 76 – 78 (H) คําซ้ํา คือ คําคําเดียวกันที่นํามากล่าว 2 ครั้ง เพื่อให้ มีความหมายเน้นหนักขึ้น หรือเพื่อให้มีความหมายแตกต่างจากคําเดี่ยว ซึ่งวิธีการสร้างคําซ้ำ ก็เหมือนกับการสร้างคําซ้อน แต่ใช้คําคําเดียวมาซ้อนกันโดยมีเครื่องหมายไม้ยมก (ๆ) กํากับ เช่น เขาซื้อขนมมาแจกเป็นถุง ๆ (คําซ้ำที่ซ้ำคํานามหรือคําบอกจํานวนนับที่แยกความหมาย ออกเป็นส่วน ๆ เมื่อมีคําว่า “เป็น” มาข้างหน้า) เป็นต้น

40. ข้อใดกล่าวผิด
(1) สะใภ้ กร่อนเสียงมาจากคําว่า “สาวใต้”
(2) ตะม่อ กร่อนเสียงมาจากคําว่า “ตอม่อ
(3) สะดึง กร่อนเสียงมาจากคําว่า “สาวดึง
(4) มะอึก กร่อนเสียงมาจากคําว่า “หมากอีก”
ตอบ 3 หน้า 93 – 95 (62204), 83 – 84 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการกร่อนเสียง มักเป็นคําที่ กร่อนเสียงพยางค์ต้นให้เป็นเสียง “อะ” ได้แก่
1. “มะ” ที่นําหน้าชื่อไม้ผล ไม่ใช่ไม้ผล และหน้าคําบอกกําหนดวัน เช่น หมากม่วง – มะม่วง,หมากเฟือง – มะเฟือง, หมากอีก – มะอึก, เมื่อคืน – มะรืน
2. “ตะ” นําหน้าชื่อสัตว์ ต้นไม้ และคําที่มีลักษณะคล้ายตา เช่น ตัวเพียน – ตะเพียน ตอม่อ – ตะม่อ ตาวัน – ตะวัน, ต้นขบ – ตะขบ, ต้นเคียน – ตะเคียน
3. “สะ” เช่น สายดือ – สะดือ, สายดึง – สะดึง, สาวใภ้ – สะใภ้
4. “ฉะ” เช่น ฉันนั้น – ฉะนั้น ฉันนี้ – ฉะนี้ เฉื่อย ๆ – ฉะเฉื่อย, ฉาด ๆ – ฉะฉาด
5. “ยะ/ระ/ละ/วะ” เช่น เยือก ๆ – ยะเยือก, รัว ๆ – ระรัว, รี่ ๆ – ระรี่, เรื่อ ๆ – ระเรื่อ, ลิบๆ – ละลิบ, วับ ๆ – วะวับ, วาบ ๆ – วะวาบ, วาว ๆ – วะวาว
6. “อะ” เช่น อันไร/อันใด – อะไร, อันหนึ่ง – อนึ่ง
7. “จะ” เช่น เจื้อยเจื้อย — จะเจื้อย, แจ้วแจ้ว – จะแจ้ว, จ้อจ้อ – จะจ้อ
สําหรับคําอื่น ๆ ที่ไม่ได้เป็นไปตามนี้ ได้แก่ ผู้ญาณ – พยาน, ชาตา – ชะตา, ช้าพลู – ชะพลู, เฌอเอม – ชะเอม, ชีผ้าขาว – ชีปะขาว, คํานึง – คะนึง เป็นต้น

41.“กระเสือกกระสน” เป็นคําอุปสรรคเทียมชนิดใด
(1) แบ่งคําผิด
(2) เพิ่มเสียงไม่ให้คอนกัน
(3) เทียบแนวเทียบผิด
(4) เลียนแบบภาษาเขมร
ตอบ 2 หน้า 95 (62204), 85 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการเพิ่มเสียงเพื่อไม่ให้เสียงคอนกัน คือ การเพิ่มเสียง “กะ” (ปัจจุบันใช้ว่า “กระ”) เข้าไป 2 เสียงในคําซ้อนเพื่อเสียงที่หน้าพยางค์ต้น และหน้าพยางค์ท้าย ซึ่งมีเสียงเสมอกันและเป็นคําที่สะกดด้วย “ก” เหมือนกัน ได้แก่
1. ดุกดิก – กระดุกกระดิก
2. ยึกยัก – กระยึกกระยัก
3. เลือกสน – กระเสือกกระสน
4. โตกตาก – กระโตกกระตาก
5. โชกชาก – กระโชกกระชาก
6. อักอ่วน – กระอักกระอ่วน
7. ปลูกเปลี้ย – กะปลกกะเปลี้ย
8. โดกเดก – กระโดกกระเดก ฯลฯ

42.“แรงหัตถ์กวัดแกว่งซึ่งสรรพ์ ศัสตราวุธอันวะวาบวะวาวขาวคม ฯ” ข้อความนี้มีคําอุปสรรคเทียมชนิดใด
(1) เทียบแนวเทียบผิด
(2) เลียนแบบภาษาเขมร
(3) แบ่งคําผิด
(4) กร่อนเสียง
ตอบ 4 คําอธิบายข้อ 40. ประกอบ (คําอุปสรรคเทียมชนิดกร่อนเสียง ได้แก่ วะวาบ, วะวาว)

43. ข้อใดมีคําอุปสรรคเทียมชนิดแบ่งคําผิด
(1) ดอกบัวจับบัวบินสม คู่เคล้าคลึงชม ชะแซ่ซะซ้อร่อกัน
(2) กระทาจับคนทาวัน คล้าจับคล้าปั่น เหยื่อป้อนแล้วร่อนชมไพร
(3) หมู่สูงจับยอดยูงไสว แผ่แพนฟ้อนใน ยอดพฤกษ์ร้องก้องดง
(4) ยางจับยางยืนงวยงง แล้วบากบินลง ยังห้วยละหานหาปลา
ตอบ 2 หน้า 94 (62204), 84 – 85 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการแบ่งคําผิด เกิดจากการพูดเพื่อให้ เสียงต่อเนื่องกัน โดยเพิ่มเสียง “กะ” (ปัจจุบันใช้ว่า “กระ”) เข้าไป 1 เสียงในคําที่พยางค์แรกสะกดด้วยเสียง “ก” ได้แก่
1. นกทา – นกกระทา
2. นกสา – นกกระสา
4. ผักเฉด – ผักกระเฉด
5. ผักสัง – ผักกระสัง
6. ลูกสุน – ลูกกระสุน ฯลฯ

44. คําใดเป็นคําอุปสรรคเทียมชนิดเทียบแนวเทียบผิด
(1) กระโดกกระเดก
(2) กระโชกกระชาก
(3) กระชุ่มกระชวย
(4) กระอักกระอ่วน
ตอบ 3 หน้า 94 – 96 (62204), 85 – 86 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการเทียบแนวเทียบผิด คือ การเพิ่มเสียง “กะ” (ปัจจุบันใช้ว่า “กระ”) เข้าไป 2 เสียง ในคําซ้อนเพื่อเสียงที่หน้าพยางค์ต้น และหน้าพยางค์ท้ายไม่ได้สะกดด้วย “ก” ซึ่งยึดการใช้อุปสรรคเทียมที่เพิ่มเสียงเพื่อไม่ให้เสียงคอนกันมาเป็นแนวเทียบ แต่เป็นการเทียบแนวเทียบผิด เช่น
1. เจิดเจิง – กระเจิดกระเจิง
2. จุ๋มจิ๋ม – กระจุ๋มกระจิ๋ม
3. พรวดพราด – กะพรวดกะพราด
4. ชุ่มช่วย – กระชุ่มกระชวย
5. ปริดปรอย – กะปริดกะปรอย
6. แอมไอ – กระแอมกระไอ ฯลฯ

45. ข้อใดมีคําอุปสรรคเทียมที่เรียงตามลําดับดังนี้ “กร่อนเสียง เทียบแนวผิด แบ่งคําผิด เพิ่มเสียงไม่ให้คอนกัน”
(1) มะม่วง กระแอมกระไอ ชะพลู กระโดกกระเดก
(2) ฉะฉาด กระจิ๋มกระจิ๋ม กระสา กระปลกกระเปลี้ย
(3) วะวับ กระโตกกระตาก กระเฉด พะรุงพะรัง
(4) กระสัง กระเจิดกระเจิง ชะตา กระพรวดกระพราด
ตอบ 2 กลุ่มคําในตัวเลือกข้อ 2 เรียงลําดับคําอุปสรรคเทียมตามโจทย์ได้อย่างถูกต้อง ดังนี้
1. ชนิดกร่อนเสียง ได้แก่ ฉาด ๆ – ฉะฉาด (ดูคําอธิบายข้อ 40. ประกอบ)
2. ชนิดเทียบแนวเทียบผิด ได้แก่ จุ๋มจิ๋ม – กระจุ๋มกระจิ๋ม (ดูคําอธิบายข้อ 44. ประกอบ)
3. ชนิดแบ่งคําผิด ได้แก่ นกสา – นกกระสา (ดูคําอธิบายข้อ 43. ประกอบ)
4. ชนิดเพิ่มเสียงไม่ให้คอนกัน เช่น ปลูกเปลี้ย – กะปลกกะเปลี้ย (ดูคําอธิบายข้อ 41. ประกอบ)

46. ข้อใดไม่เป็นความหมายแฝง
(1) นอน
(2) ตะโกน
(3) เขยิบ
(4) ลูบ
ตอบ 1 หน้า 44 – 47 (62204), 62 – 63 (H) ความหมายแฝง หมายถึง ความหมายย่อยที่แฝงอยู่ใน ความหมายใหญ่ ซึ่งจะแนะรายละเอียดบางอย่างไว้ในความหมายนั้น ๆ ได้แก่ ความหมายแฝง บอกการเคลื่อนจากที่ เช่น ขยับ เขยิบ ย้าย, ความหมายแฝงบอกการเคลื่อนไปเคลื่อนมา เช่น กลอก เขย่า ลูบ, ความหมายแฝงในคํากริยาที่ใช้กับเสียง เช่น ตะโกน (เรียกด้วยเสียงดัง) ฯลฯ

47. “ห้ามนักศึกษาติดต่อสื่อสาร ปรึกษา หรือดําเนินการอื่นใดเพื่อให้ได้มาซึ่งคําตอบด้วยวิธีการที่มิชอบ” ประโยคนี้เป็นประโยคชนิดใด
(1) ขอร้อง
(2) คําสั่ง
(3) คําถาม
(4) บอกเล่า
ตอบ 2 หน้า 102 (62204), 91 – 92 (H) ประโยคคําสั่ง คือ ประโยคที่ต้องการให้ผู้ฟังทําตามคําสั่ง มักละประธานและขึ้นต้นด้วยคํากริยา เช่น ไปได้แล้ว แต่ถ้าหากจะมีประธานก็จะระบุชื่อหรือ เน้นตัวบุคคลเพื่อให้คนที่ถูกสั่งรู้ตัว เช่น แดงออกไป นอกจากนี้ประโยคคําสั่งอาจมีกริยาช่วย “อย่า/ห้าม/จง/ต้อง” เพื่อสั่งให้ทําหรือไม่ให้ทําก็ได้

48. “ส่วนฉันชอบเธอแบบนี้ แบบที่เธอเป็นทุกอย่าง” ประโยคนี้เป็นประโยคชนิดใด
(1) ขอร้อง
(2) คําสั่ง
(3) คําถาม
(4) บอกเล่า
ตอบ 4 หน้า 103 – 104 (62204), 90 – 91, 93 – 94 (H) ประโยคบอกเล่า คือ ประโยคที่บอกเล่า เรื่องราวตามธรรมดา ซึ่งอาจใช้ในทางตอบรับหรือตอบปฏิเสธก็ได้ เช่น ไปแล้วจ้า, ไม่ได้ไปค่ะ ฯลฯ แต่บางครั้งประโยคที่มีคําแสดงคําถามว่า “ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร” อาจจะ ใช้ในประโยคบอกเล่าก็ได้ หากไม่ได้แสดงความสงสัยหรือไม่ได้ต้องการคําตอบ แต่จะเป็นการ กล่าวถึงสิ่งต่าง ๆ โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง

49. “โปรดให้ความร่วมมือกับการคัดกรองสุขภาพ โดยการตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าอาคารที่ทําการ ทุกแห่ง” ประโยคนี้เป็นประโยคชนิดใด
(1) คําสั่ง
(2) ขอร้อง
(3) บอกเล่า
(4) คําถาม
ตอบ 2 หน้า 102 (62204), 92 – 93 (H) ประโยคขอร้องหรือชักชวน คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องการ ขอร้องหรือชักชวนให้ผู้ฟังทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ตามที่ตนต้องการ ซึ่งการใช้คําพูดนั้นจะคล้ายกับ ประโยคคําสั่งแต่นุ่มนวลกว่า โดยในภาษาเขียนมักจะมีคําว่า “โปรดกรุณา” อยู่หน้าประโยค ส่วนในภาษาพูดนั้นอาจมีคําลงท้ายประโยค ได้แก่ เถอะ เถิด นะ นะ หน่อย ซิ ซี ฯลฯ

50. “ถึงทุกข์ใครในโลกที่โศกเศร้า ไม่เหมือนเราภุมรินถวิลหา” ประโยคนี้เป็นประโยคชนิดใด
(1) คําสั่ง
(2) บอกเล่า
(3) ขอร้อง
(4) คําถาม
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 48. ประกอบ

51. ข้อใดใช้รูปแบบการเรียงคําในภาษาไทยที่เป็นไปตามกฎ
(1) ครม. ทั้ง 2 อธิบดีพาณิชย์
(2) น้อยคนนักที่จะเดินทางไปถึง
(3) หมาบ้ากัดเด็กเล็กเป็นแผล
(4) หนังสือนี้ใครเขียน
ตอบ 3 หน้า 105 (62204), 94 (H) ประโยคที่สมบูรณ์ในภาษาไทยจะมีการเรียงลําดับคํา ประกอบด้วย ภาคประธาน + ภาคแสดง (กริยา และกรรม) ซึ่งทั้ง 2 ภาคอาจมีคําขยายเข้ามาเสริมความให้ สมบูรณ์ด้วยหรือไม่ก็ได้ เช่น หมา (ประธาน) บ้า (ส่วนขยายประธาน) กัด (ภริยา) เด็ก (กรรม) เล็ก (ส่วนขยายกรรม) เป็นแผล (ส่วนขยายกริยา)

52. คําว่า “รัก” คําใดทําหน้าที่เป็นคํานาม
(1) รักกันไว้เถิด
(2) รักฉันนาน ๆ
(3) รักแล้วรอหน่อย
(4) รัก คือ ดวงจันทร์
ตอบ 4 หน้า 108 – 109 (62204) คํากริยาที่ทําหน้าที่อย่างคํานาม ได้แก่ หาบ คอน นอน นั่ง รัก ฯลฯ เช่น หาบดีกว่าคอน, นอนดีกว่านั่ง, รักแท้แพ้เงิน, รัก คือ ดวงจันทร์ ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่น คําว่า “รัก” เป็นคํากริยา = มีใจผูกพันด้วยความห่วงใย ด้วยความเสน่หา มีใจผูกพันฉันชู้สาว)

53. “มาแล้วลูกจ่า ชุดโกโกวาทีหนูอยากได้” ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับประโยคนี้
(1) มีคํานามบอกพจน์จํานวน 2 คํา
(2) มีคําสรรพนามบุรุษที่ 1 จํานวน 2 คํา
(3) มีคําสรรพนามบุรุษที่ 2 จํานวน 2 คํา
(4) มีคํานามบอกเพศจํานวน 2 คํา
ตอบ 3 หน้า 112 – 113 (62204), 99 (H)สรรพนามบุรุษที่ 2 คือ คําที่ใช้แทนตัวผู้ที่พูดด้วย เช่น
คุณ เธอ ท่าน เรา หล่อน หนู เจ้า แก เอ็ง มึง ฯลฯ นอกจากนี้ยังอาจใช้คํานามอื่น ๆ แทนตัว ผู้ที่พูดด้วย เพื่อแสดงความสนิทสนมรักใคร่ ได้แก่
1. ใช้ตําแหน่งเครือญาติแทน เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง ลูก ตา ยาย ปู่ ย่า ฯลฯ
2. ใช้ตําแหน่งหน้าที่แทน เช่น ครู อาจารย์ หัวหน้า ฯลฯ
3. ใช้เรียกบรรดาศักดิ์แทน เช่น ท่านขุน คุณหลวง เจ้าคุณ คุณหญิง ฯลฯ
4. ใช้ชื่อผู้พูดทั้งชื่อเล่นชื่อจริงแทน เช่น คุณสมบัติ คุณสมศรี คุณสมร นุช แดง ฯลฯ (จากโจทย์ข้างต้นมีคําสรรพนามบุรุษที่ 2 จํานวน 2 คํา ได้แก่ ลูก, หนู)

54. “พี่ดูพลางเดินพลางมากลางหาด” ข้อความนี้มีคํากริยาวิเศษณ์ชนิดใด
(1) บอกความแบ่งแยก
(2) บอกความไม่ชี้เฉพาะ
(3) บอกความชี้เฉพาะ
(4) บอกประมาณ
ตอบ 1 หน้า 139 (62204), 103 (H) คํากริยาวิเศษณ์บอกความแบ่งแยก ได้แก่ บ้าง ด้วย พลาง กัน ต่าง ต่าง ๆ ต่างหาก เช่น พี่ดูพลางเดินพลางมากลางหาด, ทําข้อสอบพลางก็คิดไปพลาง (ทํากริยา 2 อย่างไปพร้อมกัน) เป็นต้น

55. ข้อใดมีคําคุณศัพท์ที่แสดงคําถาม
(1) อะไรที่ควรทําก็รีบทํา
(2) วิธีใดช่วยลดน้ําหนักได้ดีที่สุด
(3) ใดใดในโลกล้วนอนิจจัง
(4) ใครบ้างที่ยังไม่ฉีดวัคซีน
ตอบ 2 หน้า 135 – 137 (62204), 102 (H) คุณศัพท์ที่เป็นคําถาม ได้แก่ ใด อะไร ไหน ไร ใคร
ซึ่งเป็นคํากลุ่มเดียวกันกับคุณศัพท์ที่บอกความไม่ชี้เฉพาะเจาะจง แต่คุณศัพท์ที่เป็นคําถาม จะใช้ถามคําถาม และต้องมีนามมาข้างหน้า เช่น วิธีใดช่วยลดน้ำหนักได้ดีที่สุด ฯลฯ

56. ข้อใดสามารถละบุรพบทได้
(1) น้ำเสียงของเธอแหบพร่า
(2) เธอพูดกับเขาด้วยความตกใจ
(3) เธอเห็นคนร้ายมากับตา
(4) เธอวิ่งลงมาจากบันไดเลื่อน
ตอบ 1 หน้า 142 – 144 (62204), 104 – 106 (H) คําบุรพบทไม่มีความสําคัญมากเท่ากับคํานาม คํากริยา และคําวิเศษณ์ ดังนั้นบางแห่งไม่ใช้บุรพบทเลยก็ยังพอฟังเข้าใจได้ ซึ่งบุรพบทที่ละได้ แต่ความหมายยังเหมือนเดิม ได้แก่ ของ แก่ ต่อ สู่ ยัง ที่ บน ฯลฯ เช่น น้ำเสียงของเธอแหบพร่า – น้ำเสียงเธอแหบพร่า ฯลฯ แต่บุรพบทบางคําก็ละไม่ได้ เพราะละแล้วความจะเสียไม่รู้เรื่อง ถ้าหากจะละบุรพบทได้ก็ต้องดูความในประโยคด้วยว่า ความหมายต้องไม่เปลี่ยนไปจากเดิม (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นไม่สามารถละบุรพบท “กับ, จาก” ได้)

57. “ผมดันบังเอิญเจอแม่บังอร สวยเหมือนนางเอกละคร” ประโยคนี้มีคําสันธานชนิดใด
(1) เชื่อมความไม่สละสลวย
(2) เชื่อมความคล้อยตามกัน
(3) เชื่อมเป็นเหตุเป็นผล
(4) เชื่อมความเปรียบเทียบ
ตอบ 4 หน้า 157 (62204), 107 (H) คําสันธานที่เชื่อมความเปรียบเทียบกัน ได้แก่ เหมือน เหมือนว่า ราว, ราวกับ อย่างกับ

58. คําอุทานในข้อใดแสดงอารมณ์เสียใจ
(1) ชิซะเจ็บรักนี้หนักหนา ยิ่งฝืนฝ่าก็ยิ่งท้ออารมณ์หมาย
(2) อุเหม่ถึงจะหมายมาต่อที่ เอาชีวีออกมาล้างเสียกลางไพร
(3) จึงร้องว่าเหวยมนุษย์น้อย กระจ้อยร่อยเท่านิ้วหัตถา
(4) อนิจจาไม่รู้ว่ายังไรเลย พุทโธ่เอ๋ยเหมือนจะเป็นสเป็นกัน
ตอบ 4 หน้า 158 – 160 (62204), 109 (H) คําอุทาน คือ คําที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ต่าง ๆ
ซึ่งคําอุทานบางคําก็กําหนดไม่ได้ว่าคําไหนใช้แสดงอารมณ์อะไรแน่นอนแล้วแต่การออกเสียง และสถานการณ์ เช่น คําว่า “อุเหม่เหม่เหม่/ดูด/เหวยเหวย /ซิซะ/ฮี” แสดงอารมณ์โกรธหรือ ไม่ชอบใจ, “โธ่ถัง พุทโธ่เอ๋ย/โถ/อนิจจา” แสดงอารมณ์เสียใจหรือสงสาร เป็นต้น

59. ข้อใดใช้ลักษณนามผิด
(1) งาช้าง 2 งา
(2) เนกไท 1 เส้น
(3) ขันโตก 2 ลูก
(4) คาถา 1 บท
ตอบ 1 หน้า 160 – 165 (62204), 109 – 110 (H) คําลักษณนาม คือ คําที่ตามหลังคําบอกจํานวนนับ เพื่อบอกรูปลักษณะและชนิดคํานามที่อยู่ข้างหน้าคําบอกจํานวนนับ มักจะเป็นคําพยางค์เดียว แต่เป็นคําที่สร้างขึ้นมาใหม่โดยอาศัยการอุปมาเปรียบเทียบ การเลียนเสียงธรรมชาติ การเทียบ แนวเทียบ และการใช้คําซ้ำกับคํานามนั้นเอง (กรณีที่ไม่มีลักษณนามโดยเฉพาะ) ได้แก่ งาช้าง (กิ่ง), เนกไท (เส้น), ขันโตก (ลูก/ใบ), คาถา (บท), กรมธรรม์ (ฉบับ) ฯลฯ

60. ข้อใดคือลักษณนามของคําว่า “กรมธรรม์”
(1) เล่ม
(2) ฉบับ
(3) ชุด
(4) ใบ
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 59. ประกอบ

61. “สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี……แก่ผู้สําเร็จการศึกษา” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) ประทานพระโอวาท
(2) พระราชทานพระราโชวาท
(3) ทรงพระราชทานพระบรมราโชวาท
(4) พระราชทานพระบรมราโชวาท
ตอบ 2 หน้า 113 (H) พระราชทาน – ให้ใช้กับพระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระราชวงศ์ลําดับ 2, พระราโชวาท – คําสอน ใช้เฉพาะสมเด็จพระบรมราชินีนาถ และพระราชวงศ์ลําดับ 2 มักใช้ในโอกาสพิธีพระราชทานปริญญาบัตร หรือเมื่อมีผู้กราบบังคมทูลขอพระราชทาน (ห้ามเติม “ทรง” ซ้อนคํากริยาที่เป็นราชาศัพท์อยู่แล้ว)

62. “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินี ทรงลง…….”ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) พระนาม
(2) พระปรมาภิไธย
(3) พระปรมาภิไธยและพระนามาภิไธย ตามลําดับ
(4) พระนามาภิไธยและพระนาม ตามลําดับ
ตอบ 3 ทรงลงพระปรมาภิไธย = ลงชื่อ ใช้กับพระมหากษัตริย์, ทรงลงพระนามาภิไธย = ลงชื่อ ใช้กับ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี และพระราชวงศ์ลําดับ 2

63. “พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกําแพงเพชรอัครโยธิน…….ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
กับเจ้าจอมมารดาวาด” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) ทรงเป็นพระโอรส
(2) ทรงเป็นพระราชโอรส
(3) เป็นพระราชโอรส
(4) เป็นพระโอรส
ตอบ 3 หน้า 117 (H) คํากริยา “มีเป็น” เมื่อใช้เป็นราชาศัพท์มีข้อสังเกต ดังนี้
1. หากคําที่ตามหลัง “มีเป็น” เป็นนามราชาศัพท์อยู่แล้ว ไม่ต้องเติม “ทรง” หน้าคํากริยา “มีเป็น” อีก เช่น มีพระราชดํารัส (มีคําพูด), เป็นพระราชโอรส (เป็นลูกชาย) ฯลฯ
2. หากคําที่ตามหลัง “มีเป็น” เป็นคําสามัญ ให้เติม “ทรง” หน้าคํากริยา “มีเป็น เพื่อทําให้เป็นราชาศัพท์ เช่น ทรงมีลูกสุนัข, ทรงเป็นผู้แทนพระองค์ ฯลฯ

64. “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว……..สักการะพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) ถวายพวงมาลัย
(2) ถวายพระมาลา
(3) ทรงถวายพวงมาลัย
(4) ทรงถวายพระมาลา
ตอบ 1 หน้า 113 (H) ถวายพวงมาลัย = มอบพวงมาลัย (ห้ามเติม “ทรง” ซ้อนคํากริยาที่เป็นราชาศัพท์ อยู่แล้ว) (ส่วนคําว่า “พระมาลา” – หมวก)

65. “สาส์นสมเด็จ เป็นหนังสือที่รวมรวม…….ที่เขียนโต้ตอบกันระหว่างสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนริศรา
นุวัดติวงศ์กับสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) พระราชสาส์น
(2) ลายพระหัตถ์
(3) ลายพระราชหัตถ์
(4) พระราชหัตถเลขา
ตอบ 2 ลายพระหัตถ์ = จดหมาย ใช้กับพระราชวงศ์ลําดับ 2 (ส่วนคําว่า “พระราชสาส์น – จดหมาย
ของพระมหากษัตริย์ที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ, “ลายพระราชหัตถ์” ไม่มี ที่ใช้ “พระราชหัตถเลขา” = จดหมาย ใช้กับพระมหากษัตริย์ และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ)

66. “สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี…………..เมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2498 ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) เสด็จพระบรมราชสมภพ
(2) ประสูติ
(3) เสด็จพระราชสมภพ
(4) พระบรมราชสมภพ
ตอบ 3 เสด็จพระราชสมภพ = เกิด ใช้กับพระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระราชวงศ์ลําดับ 2 (ส่วนคําว่า “เสด็จพระบรมราชสมภพ/พระบรมราชสมภพ” ไม่มีที่ใช้“ประสูติ” – เกิด ใช้กับพระราชวงศ์ทั่วไป)

67. “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี………..โดยรถยนต์พระที่นั่งจากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) เสด็จ
(2) ทรงเสด็จพระราชดําเนิน
(3) เสด็จพระราชดําเนิน
(4) ทรงพระราชดําเนิน
ตอบ 3 หน้า 113 (H) เสด็จพระราชดําเนิน (เสด็จฯ) = เดินทางโดยยานพาหนะ ใช้กับพระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระราชวงศ์ลําดับ 2 (ห้ามเติม “ทรง” ซ้อนคํากริยาที่เป็นราชาศัพท์อยู่แล้ว)

68. “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระสุหร่ายน้ําพระพุทธมนต์ที่สรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรแก่
ประชาชนที่มา……..”ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) เข้าเฝ้า
(2) เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท
(3) ถวายการต้อนรับ
(4) เฝ้าทูลละอองพระบาท
ตอบ 2 หน้า 114 (H) “เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท” = เข้าพบ/รับเสด็จฯ/ ถวายการต้อนรับ ใช้กับ
พระมหากษัตริย์ และพระราชินี (ถ้าหากเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ระดับรองลงมา ควรใช้ว่า “เฝ้าทูลละอองพระบาท”)

69. “หม่อมเจ้าอากาศดําเกิง รพีพัฒน์……..เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2475” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) สิ้นชีพิตักษัย
(2) สิ้นพระชนม์
(3) ถึงแก่อนิจกรรม
(4) ถึงแก่พิราลัย
ตอบ 1 “สิ้นชีพิตักษัย” – ตาย ใช้กับหม่อมเจ้า
(ส่วนคําว่า “สิ้นพระชนม์” – ตาย ใช้กับสมเด็จพระสังฆราชเจ้า พระสังฆราช สมเด็จเจ้าฟ้า เจ้าฟ้า และพระองค์เจ้า
ถึงแก่อนิจกรรม – ตาย ใช้กับพระยา,
“ถึงแก่พิราลัย” – ตาย ใช้กับสมเด็จเจ้าพระยาและเจ้าประเทศราช)

70. “กรรมการและเหรัญญิกมูลนิธิชัยพัฒนา เฝ้าทูลละอองพระบาท……โฉนดที่ดิน” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) ทูลถวาย
(2) น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย
(3) ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย
(4) น้อมถวาย
ตอบ 3 หน้า 176 (62204), 116 (H) ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ทูลเกล้าฯ ถวาย) = ถวายสิ่งของขนาดเล็ก (ของที่ยกได้) หรือถวายสิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น ทูลเกล้าฯ ถวายโฉนดที่ดิน, ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้ ฯลฯ ส่วนน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย น้อมเกล้าฯ ถวาย) – ถวายสิ่งของขนาดใหญ่ (ของที่ยกขึ้นไม่ได้) หรือถวายสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น น้อมเกล้าฯ ถวาย รถพยาบาล, น้อมเกล้าฯ ถวายพระพร ฯลฯ

ข้อ 71. – 80, อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคําถาม

เราคงจะสังเกตได้นะครับว่า ทุกวันนี้คนไทยให้ความสําคัญกับประเด็นด้าน “ความเป็นไทย”มากยิ่งขึ้นกว่าเดิม

ครั้งหนึ่งผมมีโอกาสไปบรรยายให้กับครูทั่วประเทศในประเด็นด้านเอกลักษณ์แห่งชาติซึ่งหลากหลายคนเมื่อถามไปว่า

ความเป็นไทย คือ อะไร? หรือความเป็นไทยเป็นอย่างไร?

สิ่งที่ได้รับกลับคืนมา คือ เสียงเงียบสงัด หรือไม่ก็คําตอบประมาณว่า ธงชาติไทย หรือศิลปวัฒนธรรมไทย

ทั้งนี้ในมุมมองของผม ความเป็นไทยนั้นต้องศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ กล่าวคือ เข้าใจที่มาและ ที่ไปของเชื้อชาติและความดิ้นรนของบรรพบุรุษหลายร้อยปีกว่าจะสามารถสร้างแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นดั่งทุกวันนี้

การที่เราจะเข้าใจประวัติศาสตร์ได้ ผู้ศึกษามีความจําเป็นต้องมีทักษะในการเรียนรู้ และ ที่สําคัญก็คือ เข้าใจการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง

คือ อ่านออกเขียนได้ แต่เท่านี้ยังไม่พอ ผมขอเพิ่มเติมไว้ด้วยว่าต้องสามารถใช้ภาษาไทยได้ อย่างถูกต้องด้วยเช่นกัน

เราคงต้องยอมรับว่าภาษาไทยในวันนี้ผิดเพี้ยนและแตกต่างไปจากเดิมไม่มากก็น้อย โดยเฉพาะ มีคําศัพท์แปลก ๆ ออกมาแบบที่ตั้งตัวไม่ติด อาทิ เดี๋ยวนี้ได้รับเอสเอ็มเอสแปลก ๆ ประมาณว่าใช้ ภาษาไทยแบบวัยรุ่น อาทิ จึงดี แปลว่า จริงเหรอ มาแว้ว แปลว่า มาแล้ว หรือ ชิมิ ชิมิ ซึ่งตีความหมาย ออกมาเป็น ใช่ไหม ใช่ไหม

บางทีคุยกับเด็กรุ่นใหม่เวลาเห็นผู้หญิงสวยก็พูดออกมาว่า “โอ้โฮแหล่มจริง ๆ เธอคนนั้น ท่านมาก ๆ” แปลว่า เธอคนนั้นสุดยอด สวยจริง ๆ

แต่ที่ฮิตล่าสุดคือ พูดแบบเหวงเหวง ซึ่งไม่รู้ว่าอ้างอิงจากใคร แต่มีความหมายสะท้อนถึง ความไม่ชัดเจน ไม่ตรงประเด็น โหวงเหวง นั่นแหละครับ

ทั้งหมดนี้เป็นเพียงแค่ตัวอย่างการใช้ภาษาไทยในสังคมยุคปัจจุบัน แต่จะว่าไปแล้วแทบจะ ทุกสังคมและทุกวัฒนธรรมย่อมมีความผิดเพี้ยนทางด้านภาษาอยู่แล้ว

เพียงแต่จะมากหรือน้อยก็เท่านั้นเอง

เพราะภาษามีความเป็นพลวัตของตัวเอง ต้องทันตามบริบทของสังคม และปรับเปลี่ยนตามพฤติกรรมและการแสดงออกของผู้คนในสังคม

ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่องแปลกเลยที่ภาษาไทยจะผิดเพี้ยนไปบ้าง แต่ประเด็นที่ผมต้องการนําเสนอ คือ แก่นของความเป็นภาษาไทยจะถูกทําลายและละเลยไปมากกว่านี้หรือไม่

สุดท้ายเราคงได้แต่หวังว่าภาษาไทยที่ถูกต้องอย่างเป็นทางการควรที่จะได้รับการดํารงรักษาให้ลูกหลานในอนาคตได้สืบทอดต่อไป มิใช่ค่อย ๆ ถูกกลืนด้วยแนวทางและการใช้ศัพท์ใหม่ ๆ

วันภาษาไทยแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 29 กรกฎาคม ของทุกปี เพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ในวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดําเนินไปทรง อภิปรายเรื่อง “ปัญหาการใช้คําไทย” ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดํารัสตอนหนึ่งความว่า “เราโชคดี ที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในด้านรักษาภาษานี้ก็มีอยู่หลายประการ

อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางออกเสียง คือ ให้ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่ง ต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธีใช้ หมายความว่า วิธีใช้คํามาประกอบประโยคนับเป็นปัญหาที่สําคัญ

ปัญหาที่สาม คือ ความร่ำรวยในคําของภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่ร่ํารวยพอ จึงต้องมีการ บัญญัติศัพท์ใหม่มาใช้ สําหรับคําใหม่ที่ตั้งขึ้นมีความจําเป็นในทางวิชาการไม่น้อย แต่บางคําที่ง่าย ๆ ก็ควร จะมี ควรจะใช้คําเก่า ๆ ที่เรามีอยู่แล้ว ไม่ควรจะมาตั้งศัพท์ใหม่ให้ยุ่งยาก”

ดังนั้นวัตถุประสงค์ของวันภาษาไทยแห่งชาติได้แลเห็นว่า เป็นวันที่ถูกก่อตั้งขึ้นมาเพื่อกระตุ้น และปลุกจิตสํานึกของคนไทยทั้งชาติให้ตระหนักถึงความสําคัญและคุณค่าของภาษาไทย ตลอดจนร่วมมือร่วมใจทํานุบํารุงส่งเสริมและอนุรักษ์ภาษาไทย ซึ่งเป็นเอกลักษณ์และเป็นสมบัติวัฒนธรรมอันล้ําค่าของ ชาติให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป

สังคมไทยในปัจจุบันอยู่ท่ามกลางยุคโลกาภิวัตน์ที่เต็มไปด้วยความหลากหลายทางวัฒนธรรม และไม่ใช่วัฒนธรรมของประเทศไทยเราอย่างเดียว แต่เป็นวัฒนธรรมต่างแดน เราคงบอกไม่ได้ว่า ห้ามให้ คนรุ่นใหม่บริโภควัฒนธรรมของเขา

แต่คําถามสําคัญก็คือ เราจะสามารถทําให้คนรุ่นใหม่แลเห็นถึงความสําคัญของความเป็นไทยได้ อย่างไร เพราะบางทีมันเป็นเรื่องยากในการดํารงรักษาภาษาไทยให้ดี มันเป็นความขัดแย้งระหว่างสิ่งที่เรา บริโภคทุกวัน กับสิ่งที่เราควรระลึกถึง ซึ่งเป็นเรื่องของการสร้างความสมดุลระหว่างโลกที่เปลี่ยนแปลงกับ ความสวยงามในอดีต เอาแค่นักร้องบางคนเมื่อก่อนร้องเพลงไทยชัดมากเสียเหลือเกิน

แต่เดี๋ยวนี้ต้องลากเสียงจะได้ฟังแล้วเนียน ซึ่งบางทีมันก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะขนาดบทความ ของผมชิ้นนี้ก็ยังมีการใช้ภาษาที่แตกต่างและอาจจะไม่มีในพจนานุกรมก็ได้ แต่อย่างน้อยสิ่งสําคัญอยู่ที่การ เข้าใจความสําคัญของภาษาไทย การใช้ภาษาไทยอย่างถูกวิธี

71. โวหารการเขียนเป็นแบบใด
(1) บรรยาย
(2) อธิบาย
(3) อภิปราย
(4) พรรณนา
ตอบ 3 หน้า 74 (54351), (คําบรรยาย) โวหารเชิงอภิปราย คือ โวหารที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น ซึ่งอาจจะถูกหรือผิดก็ได้ โดยผู้เขียนจะแสดงทัศนะรอบด้านทั้งในด้านบวกและลบ เพื่อโน้มน้าว จิตใจผู้อ่านให้คล้อยตามความคิดเห็นนั้น ๆ จนนําไปสู่ข้อสรุปอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทิ้งท้ายให้ผู้อ่านเก็บไปคิด

72. ท่วงทํานองเขียนเป็นแบบใด
(1) ภาษาเขียน
(2) ภาษาพูด
(3) ภาษาปาก
(4) ทั้งข้อ 2 และ 3
ตอบ 4 หน้า 58 (54351) ผู้เขียนใช้ท่วงทํานองเขียนแบบเรียบง่าย คือ ท่วงทํานองเขียนที่ใช้คําง่าย ๆ ชัดเจน การผูกประโยคไม่ซับซ้อน ทําให้อ่านง่ายและเข้าใจได้ทันที โดยไม่ต้องเสียเวลาขบคิด มากนัก แต่จะมีการใช้ภาษาพูดและภาษาปากเป็นส่วนใหญ่

73. คําใดใช้ผิดจากความหมายเดิม
(1) ซึ่งเป็นสิ่งดี
(2) ตระหนักถึง
(3) แลเห็นว่า
(4) ประมาณว่า
ตอบ 4 ประมาณ = กะหรือคะเนให้ใกล้เคียงจํานวนจริงหรือให้พอเหมาะพอควร เช่น ราคาประมาณ 800 บาท ฯลฯ แต่ในปัจจุบันได้นําไปใช้ผิดจากความหมายเดิม และกลายเป็นคําฟุ่มเฟือยไป ซึ่งหากตัดออกก็ไม่ทําให้ความหมายเปลี่ยนไปจากเดิม ดังข้อความ… สิ่งที่ได้รับกลับคืนมา คือ เสียงเงียบสงัด หรือไม่ก็คําตอบประมาณว่า ธงชาติไทย หรือศิลปวัฒนธรรมไทย…

74. ข้อความที่ให้อ่านเป็นวรรณกรรมประเภทใด
(1) ข่าว
(2) บทความ
(3) เรียงความ
(4) ปาฐกถา
ตอบ 4 (คําบรรยาย) ปาฐกถา หมายถึง งานเขียนที่แสดงความคิดเห็นโดยคนคนเดียว หรืออาจจะเป็นความรู้และความคิดที่ได้มาจากวิทยากรเพียงคนเดียว

75. จุดประสงค์ที่ผู้เขียนนําเสนอคืออะไร
(1) ให้ความรู้
(2) ให้ความรู้และความรู้สึก
(3) ให้ข้อมูลและความคิด
(4) วิเคราะห์และวิจารณ์
ตอบ 3 ผู้เขียนมีจุดประสงค์ในการนําเสนอ คือ ให้ข้อมูลและแสดงความคิดของตนเองเกี่ยวกับประเด็น เรื่องความเป็นไทยและการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง

76. สารัตถะสําคัญของเรื่องคืออะไร
(1) ภาษาไทยสําคัญกว่าธงชาติไทย
(2) ภาษาไทยสําคัญกว่าศิลปวัฒนธรรมไทย
(3) การใช้ภาษาไทยให้ถูกตามหลักภาษาและกาลเทศะเป็นเรื่องควรคํานึง
(4) ความสําคัญของความเป็นไทยท่ามกลางอิทธิพลวัฒนธรรมต่างชาติเป็นเรื่องสําคัญ
ตอบ 3 (คําบรรยาย) แนวคิดหลัก (Theme) คือ สารัตถะ แก่นเรื่อง หรือสาระสําคัญของเรื่องที่ผู้เขียน มุ่งจะสื่อถึงผู้อ่าน เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับชื่อเรื่อง โดยจะมีใจความครอบคลุมรายละเอียด ทั้งหมดและมีลักษณะเป็นนามธรรม ซึ่งแนวคิดหลักหรือสารัตถะสําคัญของเรื่องนี้ ได้แก่ การใช้ภาษาไทยให้ถูกตามหลักภาษาและกาลเทศะเป็นเรื่องควรคํานึง

77. ข้อความใดไม่ถูกต้อง
(1) ทุกภาษาย่อมมีความผิดเพี้ยน
(2) ภาษาต้องเปลี่ยนตามบริบทของสังคม
(3) วันภาษาไทยแห่งชาติ คือ วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2505
(4) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยการใช้ภาษาไทย
ตอบ 3 จากข้อความ… วันภาษาไทยแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 29 กรกฎาคม ของทุกปี เพื่อระลึกถึง เหตุการณ์ในวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช เสด็จพระราชดําเนินไปทรงอภิปรายเรื่อง “ปัญหาการใช้คําไทย” ร่วมกับ ผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย…

78. คําตอบของผู้รับฟังคําบรรยาย เรื่องเอกลักษณ์ไทยเป็นอย่างไร
(1) ถูกต้อง
(2) ถูกต้องเกินครึ่ง
(3) แตกต่างจากทัศนะของผู้บรรยาย
(4) แตกต่างจากความเชื่อที่สืบต่อกันมา
ตอบ 3 จากข้อความ…. ครั้งหนึ่งผมมีโอกาสไปบรรยายให้กับครูทั่วประเทศในประเด็นด้านเอกลักษณ์ แห่งชาติ ซึ่งหลากหลายคนเมื่อถามไปว่า ความเป็นไทย คือ อะไร? หรือความเป็นไทยเป็น
อย่างไร? สิ่งที่ได้รับกลับคืนมา คือ เสียงเงียบสงัด หรือไม่ก็คําตอบประมาณว่า ธงชาติไทย หรือศิลปวัฒนธรรมไทย ทั้งนี้ในมุมมองของผม ความเป็นไทยนั้นต้องศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ กล่าวคือ เข้าใจที่มาและที่ไปของเชื้อชาติและความดิ้นรนของบรรพบุรุษหลายร้อยปีกว่าจะสามารถสร้างแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นดั่งทุกวันนี้….

79. ภาษาไทยในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงเรื่องใดบ้าง
(1) ความหมายและการออกเสียง
(2) โครงสร้างของประโยค
(3) การสะกดการันต์
(4) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 1 จากข้อความ…. เราคงต้องยอมรับว่าภาษาไทยในวันนี้ผิดเพี้ยนและแตกต่างไปจากเดิมไม่มากก็น้อย โดยเฉพาะมีคําศัพท์แปลก ๆ ออกมาแบบที่ตั้งตัวไม่ติด อาทิ ชิมิ ชิมิ ซึ่งตีความหมาย ออกมาเป็น ใช่ไหม ใช่ไหม… ปัญหาเฉพาะในด้านรักษาภาษานี้ก็มีหลายประการ อย่างหนึ่ง ต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางออกเสียง คือ ให้ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน… เอาแค่นักร้องบางคน เมื่อก่อนร้องเพลงไทยชัดมากเสียเหลือเกิน แต่เดี๋ยวนี้ต้องลากเสียงจะได้ฟังแล้วเนียน…

80. ข้อความที่ให้อ่านเป็นผลงานของผู้ใด
(1) เอกลักษณ์ ยิ้มวิไล
(2) บรรณาธิการหนังสือพิมพ์มติชน
(3) เอกลักษณ์ ยิ้มวิไล และอาจารย์ผู้บรรยาย
(4) ไม่มีข้อมูลของผู้เขียน
ตอบ 4 ข้อความที่ให้อ่านไม่มีข้อมูลของผู้เขียน ทําให้ไม่สามารถทราบได้ว่าเป็นผลงานของใคร

81. ข้อใดเป็นสํานวนทั้งหมด
(1) นกสองหัว, กินบุญเก่า, หนอนหนังสือ
(2) พูดเป็นไฟ, น้ำนิ่งไหลลึก, ชี้โพรงให้กระรอก
(3) น้ำตาตกใน, หมาในรางหญ้า, ชนกบนปลายไม้
(4) นกรู้, ได้หน้าลืมหลัง, หมาเห่าใบตองแห้ง
ตอบ 1 หน้า 119 – 121 (H) สํานวน หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นอย่างกะทัดรัด ใช้คําน้อยแต่ กินความหมายมาก และเป็นความหมายโดยนัยหรือโดยเปรียบเทียบ ได้แก่
1. นกสองหัว = คนที่ทําตัวฝักใฝ่เข้าด้วยทั้ง 2 ฝ่ายที่ไม่เป็นมิตรกัน โดยหวังเพื่อประโยชน์ตน
2. กินบุญเก่า = ได้รับผลแห่งความดีที่ทําไว้แต่ปางก่อน
3. หนอนหนังสือ = คนที่ชอบหมกมุ่นอยู่กับการอ่านหนังสือ
4. น้ําตาตกใน = เศร้าโศกเสียใจอย่างมาก แต่ไม่แสดงให้ปรากฏ
5. นกรู้ = ผู้ที่มีไหวพริบ รู้เท่าทันเหตุการณ์หรือภัยที่จะมาถึงตน
6. โค้งสุดท้าย = ช่วงสุดท้ายของการแข่งขัน ซึ่งมีความพยายามที่จะเอาชนะกันอย่างเต็มที่ ฯลฯ

82. ข้อใดเป็นคําพังเพยทั้งหมด
(1) ผักชีโรยหน้า, พายเรือทวนน้ํา, งงเป็นไก่ตาแตก
(2) ลิ้นกับฟัน, ถ่านไฟเก่า, หมาหวงก้าง
(3) ผีพลอย, ผ้าขี้ริ้วห่อทอง, ปากหวานก้นเปรี้ยว
(4) สองหน้า, เกลือจิ้มเกลือ, รู้มากยากนาน
ตอบ 3 หน้า 119 – 121 (H) คําพังเพย หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อตีความ สรุปเหตุการณ์
สภาวการณ์ บุคลิก และอารมณ์ให้เข้ากับเรื่อง มีความหมายกลาง ๆ ไม่เน้นการสั่งสอน แต่จะ แฝงคติเตือนใจให้นําไปปฏิบัติหรือไม่ให้นําไปปฏิบัติ ได้แก่
1. ผีซ้ำพลอย = ถูกซ้ำเติมเมื่อพลาดพลั้ง
2. ผ้าขี้ริ้วห่อทอง – คนมั่งมีแต่แต่งตัวซอมซ่อ
3. ปากหวานก้นเปรี้ยว = พูดจาอ่อนหวานแต่ไม่จริงใจ
4. พายเรือทวนน้ำ – ทําด้วยความยากลําบาก
5. เกลือจิ้มเกลือ – ไม่ยอมเสียเปรียบกัน
6. รู้มากยากนาน – รู้มากเกินไปจนทําให้ยุ่งยากใจ
7. ปล้ำผีลุกปลุกผีนั่ง = พยายามทําให้มีเรื่องมีราวขึ้นมา ฯลฯ

83. ข้อใดเรียงลําดับถูกต้องตั้งแต่สํานวน คําพังเพย และสุภาษิต
(1) คว่ำบาตร, ศิษย์นอกครู, หนีเสือปะจระเข้
(2) กินน้ำใต้ศอก, หญ้าปากคอก, ตําข้าวสารกรอกหม้อ
(3) โค้งสุดท้าย, ปล้ําผีลุกปลุกผีนั่ง, ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่
(4) นอกคอก, สูงเสียดฟ้า, เห็นผิดเป็นชอบ
ตอบ 3 หน้า 119 – 121 (H) สุภาษิต หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อสั่งสอนโดยตรง ซึ่งอาจเป็น คติ ข้อติติง คําจูงใจ หรือคําห้าม และเนื้อความที่สั่งสอนก็เป็นความจริง เป็นความดีที่ยอมรับกัน โดยทั่วไป ได้แก่ ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ = ให้รู้จักพิจารณาผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครองโดย ดูจากนิสัยใจคอและความประพฤติของมารดา เป็นต้น
(ตัวเลือกข้อ 3 เรียงลําดับถูกต้องตั้งแต่สํานวน = โค้งสุดท้าย, คําพังเพย – ปล้ำผีลุกปลุกผีนั่ง และสุภาษิต = ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่) (ดูคําอธิบายข้อ 81. และ 82.ประกอบ)

84. ข้อใดมีความหมายว่า “เมื่อหมดอํานาจความชั่วที่ทําไว้ก็ปรากฏ”
(1) เนื้อเต่ายําเตา
(2) บนข้าวผี ที่ข้าวพระ
(3) น้ำลดตอผุด
(4) ฝนตกขี้หมูไหล
ตอบ 3 น้ำลดตอผุด – เมื่อหมดอํานาจความชั่วที่ทําไว้ก็ปรากฏ (ส่วนเนื้อเต่ายําเต่า – นําเอาทรัพย์สิน ในส่วนที่เป็นกําไรหรือดอกเบี้ยกลับไปลงทุนต่อไปอีก โดยไม่ต้องใช้ทุนเดิม, บนข้าวผี ที่ข้าวพระ ขอร้องให้ผีสางเทวดาช่วยเหลือ โดยจะแก้บนเมื่อประสบผลสําเร็จแล้ว, ฝนตกขี้หมูไหล – พลอยเหลวไหลไปด้วยกัน)

85. ข้อใดมีความหมายว่า “คนกลับกลอก”
(1) มะนาวกลมเกลี้ยงไม่มีใครกลึง
(2) กินเกลือกินกะปิ
(3) กินน้ำไม่เผื่อแล้ง
(4) มะกอกสามตะกร้าปาไม่ถูก
ตอบ 4 มะกอกสามตะกร้าปาไม่ถูก = คนกลับกลอก พูดจาตลบตะแลงพลิกแพลงไปมาจนจับคําพูด ไม่ทัน (ส่วนมะนาวกลมเกลี้ยงไม่มีใครกลึง – คนที่มีปฏิภาณไหวพริบในตัวเอง โดยที่ไม่ต้อง มีใครสอน, กินเกลือกินกะปิ = อดทนต่อความลําบากยากแค้น, กินน้ําไม่เผื่อแล้ง = มีอะไร ใช้หมดทันทีไม่คิดถึงวันข้างหน้า)

86. “คนขี้เกียจทํางานอย่าง หากินแค่พอกินไปมื้อหนึ่ง ๆ” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) ตําข้าวสารกรอกหม้อ
(2) ขี่ช้างจับตั๊กแตน
(3) ฝนทั่งให้เป็นเข็ม
(4) ตําน้ำพริกละลายแม่น้ำ
ตอบ 1 ตําข้าวสารกรอกหม้อ = หาเพียงแค่พอกินไปมื้อหนึ่ง ๆ หรือทําพอให้เสร็จไปชั่วครั้งหนึ่ง ๆ (ส่วนขี่ช้างจับตั๊กแตน – ลงทุนมาก แต่ได้ผลนิดหน่อย, ฝนทั่งให้เป็นเข็ม = เพียรพยายาม สุดความสามารถจนกว่าจะสําเร็จผล, ตําน้ำพริกละลายแม่น้ำ – ลงทุนไปโดยได้ผลประโยชน์ไม่คุ้มทุน หรือใช้จ่ายทรัพย์ในทางที่ไม่เกิดประโยชน์)

87. ข้อใดมีความหมายว่า “ดีแต่พูดแต่ทําไม่ได้”
(1) หมาเห่าใบตองแห้ง
(2) ปลาหมอตายเพราะปาก
(3) พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตําลึงทอง
(4) ละเลงขนมเบื้องด้วยปาก
ตอบ 4 ละเลงขนมเบื้องด้วยปาก = ดีแต่พูดแต่ทําไม่ได้ (ส่วนหมาเห่าใบตองแห้ง = คนที่ชอบพูดเอะอะ แสดงว่าเก่ง แต่ไม่กล้าจริง, ปลาหมอตายเพราะปาก = คนที่พูดพล่อยจนได้รับอันตราย, พูดไป สองไพเบี้ย นิ่งเสียตําลึงทอง = พูดไปไม่มีประโยชน์ นิ่งเสียดีกว่า)

88. ข้อใดมีความหมายเหมือนกับ “เอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ”
(1) เอาทองไปปูกระเบื้อง
(2) สอนจระเข้ให้ว่ายน้ำ
(3) สอนหนังสือสังฆราช
(4) เอามะพร้าวห้าวไปขายสวน
ตอบ 1 เอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ/เอาทองไปสู่กระเบื้อง – โต้ตอบหรือทะเลาะกับคนพาลหรือคนที่ มีฐานะต่ำกว่า เป็นการไม่สมควร (ส่วนสอนจระเข้ให้ว่ายน้ำ = สอนสิ่งที่เขารู้ดีหรือสิ่งที่เขา ถนัดอยู่แล้ว, สอนหนังสือสังฆราช = สอนสิ่งที่เขารู้ดีอยู่แล้ว, เอามะพร้าวห้าวไปขายสวน แสดงความรู้หรืออวดรู้กับผู้ที่รู้เรื่องดีกว่า)

89. ข้อใดมีคําที่สะกดผิดปรากฏอยู่ด้วย
(1) ตระเวน ถั่วพู เบญจเพส
(2) อเนก ผาสุก อาเพศ
(3) โน๊ตบุ๊ค อานิสงส์ เกล็ดปลา
(4) ผลัดผ้า อาเจียน ผุดลุกผุดนั่ง
ตอบ 3 คําที่สะกดผิด ได้แก่ โน๊ตบุ๊ค ซึ่งที่ถูกต้องคือ โน้ตบุ๊ก

90. ข้อใดมีคําที่สะกดผิดสลับกับคําที่สะกดถูก
(1) เสื้อเชิ๊ต รื่นรมย์ ปราณีต ไล่เลี่ย
(2) พรรณนา พังทลาย พิสดาร ลิดรอน
(3) คุกกี้ มืดมน ร่ำลือ มาตรการ
(4) บรรทุก เผ่าพันธุ์ พังทลาย แบ่งสันปันส่วน
ตอบ 1 คําที่สะกดผิด ได้แก่ เสื้อเชิ๊ต ปราณีต
ซึ่งที่ถูกต้องคือ เสื้อเชิ้ต ประณีต

91. ข้อใดมีคําที่สะกดผิดปรากฏอยู่ด้วย
(1) สิงโต รื่นรมย์ จัตุรัส
(2) ลําไย กะทัดรัด เกล็ดปลา
(3) หงส์ ราญรอน รกชัฏ
(4) ร่ำลือ ร้างลา กระทันหัน
ตอบ 4 คําที่สะกดผิด ได้แก่ ร้างลา กระทันหัน
ซึ่งที่ถูกต้องคือ ร้างรา กะทันหัน

92. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา
(1) ร่ำลา สาบแข่ง ลาดยางถนน
(2) ลําใย เซ็นต์ชื่อ สังเกตุ
(3) สีสัน ผัดเวร โลกาภิวัฒน์
(4) จัตุรัส อนุญาต ปิกนิก
ตอบ 4 คําที่สะกดผิด ได้แก่ สาบแช่ง ลาดยางถนน ลําใย เซ็นต์ชื่อ
สังเกตุ ผัดเวร โลกาภิวัฒน์
ซึ่งที่ถูกต้องคือ สาปแช่ง ราดยางถนน ลําไย เซ็นชื่อ สังเกต
ผลัดเวร โลกาภิวัตน์

93. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา
(1) กงศุล กระเพรา กระตือรือร้น
(2) ถั่วพู เครื่องราง บิณฑบาต
(3) กะเพรา เลือนราง ถนนราดยาง
(4) คั่นช่าย มาตราการ ข้าวกลบหม้อ
ตอบ 2 คําที่สะกดผิด ได้แก่ กงศุล กระเพรา ถนนราดยาง คื่นชาย มาตราการ ข้าวกลบหม้อ
ซึ่งทีถูกต้องคือ กงสุล กะเพรา ถนนลาดยาง ขึ้นฉ่าย มาตรการ ข้าวกบหม้อ

94. ข้อใดมีคําที่สะกดไม่ถูกต้อง
(1) ฉันช๊อบชอบ กินอิ๊มอิ่ม
(2) ไปบ๊อยบ่อย เขาจ๊นจน
(3) ต๊ายตาย ชีวิตดี๊ดี
(4) ผ้าเก๊าเก่า ตัวโต๊โต
ตอบ 1 คําที่สะกดผิด ได้แก่ ฉันช๊อบชอบ ซึ่งที่ถูกต้องคือ ฉันช้อบชอบ

95. ข้อใดมีคําที่สะกดถูกสลับกับคําที่สะกดผิด
(1) บรรทุก แบ่งสันปันส่วน เผ่าพันธุ์ พังทลาย
(2) เกล็ดปลา แบหลา แท็กซี่ พรางตา
(3) ผัดวันประกันพรุ่ง ลาดยางถนน ต้มโคล้ง จตุรัส
(4) คํานวณ เข็ญใจ ข้นแค้น เกร็ดความรู้
ตอบ 3 คําที่สะกดผิด ได้แก่ ลาดยางถนน จตุรัส
ซึ่งที่ถูกต้องคือ ราดยางถนน จัตุรัส

96. ข้อใดมีคําที่สะกดผิดสลับกับคําที่สะกดถูก
(1) ผลัดผ้า ผลัดเวร ผัดหนี้ ผัดแป้งแต่งหน้า
(2) ผลัดเปลี่ยน ข้าวผัด ผลัดผ้า ทหารเกณฑ์ผลัดสอง
(3) วิ่งผลัด ผัดเวร ใบไม้ผลัดใบ ผลัดแป้งแต่งหน้า
(4) ผลัดหนี้ ผัดผ่อน ผัดเปลี่ยน ผัดวันประกันพรุ่ง
ตอบ 4 คําที่สะกดผิด ได้แก่ ผัดเวร ผลัดแป้งแต่งหน้า ผลัดหนี้ ผัดเปลี่ยน
ซึ่งที่ถูกต้องคือ ผลัดเวร ผัดแป้งแต่งหน้า ผัดหนี้ ผลัดเปลี่ยน

97.“พนักงานสอบสวนพยายามจะ……..ให้คู่กรณียอมความกัน” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) เกลี้ยกล่อม
(2) บอกกล่าว
(3) ไกล่เกลี่ย
(4) ตัดสิน
ตอบ 3 คําว่า “ไกล่เกลี่ย” – พูดจาให้ปรองดองกัน พูดจาให้ตกลงกัน (ส่วนคําว่า “เกลี้ยกล่อม พูดจูงใจให้คล้อยตามหรือปฏิบัติตาม “บอกกล่าว” = ร้องบอกให้ผู้อื่นเป็นพยานรับรู้ไว้ “ตัดสิน” = ลงความเห็นชี้ขาด)

98. “วันนี้ฝนตก……..ข้าว……….คงสดชื่นขึ้นมาได้” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) บ่อย ๆ นาปลัง
(2) ปรอย ๆ นาปลัง
(3) บ่อย ๆ นาปรัง
(4) ปรอย ๆ นาปรัง
ตอบ 4 คําว่า “ปรอย ๆ” – ที่ตกเป็นระยะ ๆ ไม่หนาเม็ด (ใช้กับฝน) เช่น ฝนตกปรอย ๆ, “นาปรัง” นาทีที่ทําในฤดูแล้งนอกฤดูทํานา (ส่วนคําว่า “บ่อย ๆ /นาปลัง” เป็นคําที่เขียนผิด)

99. “โบราณสถานหลังนี้มี……….ทางประวัติศาสตร์มาก” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) ค่า
(2) คุณค่า
(3) คุณประโยชน์
(4) คุณ
ตอบ 2 คําว่า “คุณค่า” หมายถึง สิ่งที่มีประโยชน์หรือมีมูลค่าสูง (ส่วนคําว่า “ค่า” หมายถึง มูลค่า หรือราคาของสิ่งใด ๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม, “คุณประโยชน์” หมายถึง ลักษณะที่ เป็นประโยชน์, “คุณ” หมายถึง ความดีที่มีประจําอยู่ในสิ่งนั้น ๆ)

100. “ผู้ใหญ่บ้าน……และชาวบ้าน……เงินสร้างอาคาร…………” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) กํานัล เรี่ยไร เอนกประสงค์
(2) กํานัน เรี่ยไร อเนกประสงค์
(3) กํานัล เรี่ยราย อเนกประสงค์
(4) กํานัน เรี่ยราย เอนกประสงค์
ตอบ 2 คําว่า “กํานัน” – ตําแหน่งพนักงานฝ่ายปกครอง ซึ่งมีอํานาจหน้าที่ปกครองราษฎรที่อยู่ ในเขตตําบล, “เรี่ยไร” – ขอร้องให้ช่วยออกเงินทําบุญตามสมัครใจ, “อเนกประสงค์” – ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างแล้วแต่ความต้องการ (ส่วนคําว่า “กํานัล” = การให้ของกัน ด้วยความนับถือ, “เรี่ยราย” – กระจายเกลื่อนไป, “เอนกประสงค์” เป็นคําที่เขียนผิด)

101. “เด็กวัยรุ่นที่ทําความผิด ควรส่งตัวไป………..คุมความประพฤติ” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) กัก
(2) จําคุก
(3) กักกัน
(4) กักขัง
ตอบ 4 คําว่า “กักขัง” = โทษทางอาญาสถานหนึ่งที่ให้กักตัวผู้ต้องโทษไว้ในสถานที่ซึ่งกําหนดไว้อันมิใช่ เรือนจํา (ส่วนคําว่า “กุ๊ก” – ไม่ให้ล่วงพ้นเขตที่กําหนดไว้, “จําคุก” – โทษทางอาญาสถานหนึ่ง = ที่ให้เอาตัวผู้ต้องโทษไปคุมขังไว้ในเรือนจํา, “กักกัน” – วิธีการเพื่อความปลอดภัยอย่างหนึ่งที่ ศาลใช้ในกรณีที่ให้ควบคุมผู้กระทําความผิดติดนิสัยไว้ภายในเขตกําหนด เพื่อป้องกันการกระทํา ความผิด เพื่อดัดนิสัย และเพื่อฝึกหัดอาชีพ)

102. “เวลายืน ห้ามเอามือ……..หลัง” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) ไพล
(2) ไพร่
(3) ไพล่
(4) ไพ่
ตอบ 3 คําว่า “ไพล” = ไขว้ เช่น ห้ามเอามือไพล่หลัง (ส่วนคําว่า “ไพล” หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง ต้นและใบคล้ายขิง เหง้าสีเหลืองอมเขียวใช้ทํายาได้, “ไพร่” หมายถึง ชาวเมือง พลเมืองสามัญ, “ไฟ” = เครื่องเล่นการพนันชนิดหนึ่ง ทําด้วยกระดาษค่อนข้างแข็งหรือพลาสติก)

103. “พ่อเหวี่ยงแหลงในแม่น้ำที่ไหลเชี่ยว……….จับปลาได้ก็รีบขอด……….. ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) กราด เกร็ดปลา
(2) กราก เกล็ดปลา
(3) กลาด เกล็ดปลา
(4) กราก เกร็ดปลา
ตอบ 2 คําว่า “กราก” – รวดเร็ว เช่น น้ําไหลเชี่ยวกราก, “เกล็ดปลา” = ส่วนที่มีลักษณะเป็นแผ่น ซ้อนเหลี่ยมกันห่อหุ้มตัวปลา (ส่วนคําว่า “กราด” – กวดให้แน่น เช่น กราดลิ่ม, “เกร็ดปลา” เป็นคําที่เขียนผิด, “กลาด” – ดาษดื่น)

104. การใช้ภาษาลักษณะใดทําให้นักศึกษาเกิดความรู้และความคิด
(1) พูดและฟัง
(2) เขียนและพูด
(3) ฟังและอ่าน
(4) อ่านและเขียน
ตอบ 3 หน้า 2, 81 (54351) การฟังและการอ่านเป็นการใช้ภาษาในการรับรู้เรื่องราวเพื่อจะได้เกิด องค์ความรู้ ความจํา ความเข้าใจ ความคิด และความบันเทิง ส่วนการพูดและการเขียนนั้น เป็นการใช้ภาษาในการนําความรู้ ความคิด หรือความต้องการของเราถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจ

105. ปัญหาการใช้ภาษาที่เห็นได้ชัดเจน คือข้อใด
(1) พูดและฟัง
(2) เขียนและพูด
(3) ฟังและอ่าน
(4) อ่านและเขียน
ตอบ 2 (คําบรรยาย) ปัญหาการใช้ภาษาที่สามารถเห็นได้ชัดเจน คือ การเขียนและการพูด ซึ่งถือเป็น กระบวนการภายนอก เพราะเป็นการใช้ภาษาที่ปรากฏออกมาให้เห็นอย่างเด่นชัด ส่วนการฟัง และอ่านถือเป็นกระบวนการภายใน เพราะเป็นการใช้ภาษาที่สังเกตเห็นได้ยาก กล่าวคือ ผู้พูด และผู้เขียนมิอาจทราบได้ว่าผู้ฟังและผู้อ่านเข้าใจสารที่ตนส่งหรือสื่อออกไปหรือไม่ เพียงไร

106. การทําให้ประโยครัดกุม ควรใช้วิธีการเขียนแบบใด
(1) รวบความ
(2) ขยายความ
(3) ทําให้ประโยคมีน้ำหนัก
(4) จับประเด็นใจความสําคัญ
ตอบ 1 หน้า 39 – 40, 47 (54351) การผูกประโยคให้กระชับรัดกุมมีสิ่งที่จะต้องพิจารณา คือ
1. การรวบความให้กระชับ
2. การลําดับความให้รัดกุม
3. การจํากัดความ

107. คําว่า “สระอา, สระน้ำ” คําว่า “สระ” เป็นคําประเภทใด
(1) คําคล้าย
(2) คําพ้องรูป
(3) คําพ้องเสียง
(4) คําเปรียบเทียบ
ตอบ 2 หน้า 14 (54351) คําพ้องรูป คือ คําที่เขียนเหมือนกัน แต่ความหมายและการออกเสียงจะ ต่างกัน ดังนั้นจึงต้องออกเสียงให้ถูกต้อง เพราะหากออกเสียงผิด ความหมายก็จะผิดไปด้วย เช่น คําว่า “สระอา” (สระ อ่านว่า สะหระ) หมายถึง เสียงสระ ซึ่งในที่นี้คือ สระอา ส่วนคําว่า “สระน้ํา” (สระ อ่านว่า สะ) หมายถึง แอ่งน้ําขนาดใหญ่ เป็นต้น

108. คําว่า “คัน, ครรภ์” เป็นคําประเภทใด
(1) คําเหมือนกัน
(2) คําพ้องรูป
(3) คําพ้องเสียง
(4) คําพ้องความหมาย
ตอบ 3 หน้า 14 (54351) คําพ้องเสียง คือ คําที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่ความหมายและการเขียน (รูป) ไม่เหมือนกัน ดังนั้นเวลาเขียนจึงต้องเขียนให้ถูกต้อง เพราะถ้าเขียนผิด ความหมายก็จะ ผิดไปด้วย เช่น คําว่า “คัน” (แนวดินหรือแนวทรายที่พูนสูงขึ้นเป็นแนวยาว), “ครรภ์” (ท้อง ใช้เฉพาะผู้หญิงที่มีลูกอยู่ในท้อง) เป็นต้น

109. “เขาเรียนอยู่คณะนิติ รามคําแหง” เป็นภาษาประเภทใด
(1) ภาษาพูด
(2) ภาษาเขียน
(3) ภาษาหนังสือพิมพ์
(4) ภาษาเฉพาะกลุ่ม
ตอบ 1 หน้า 6 – 7 (54351) ระดับของคําในภาษาไทยมีศักดิ์ต่างกัน เวลานําไปใช้ก็ใช้ในที่ต่างกัน ดังนั้นจึงต้องพิจารณาใช้คําให้เหมาะสม กล่าวคือ
1. คําที่ใช้ในโอกาสที่เป็นทางการ ได้แก่ คําที่ใช้ในภาษาแบบแผน หรือภาษาเขียนของ ทางราชการ เช่น ธนาคารปิดทําการแล้ว ฯลฯ
2. ค่าที่ใช้ในโอกาสที่ไม่เป็นทางการ ได้แก่ คําที่ใช้ในภาษาพูด หรือการเขียนจดหมาย ส่วนตัวถึงบุคคลที่สนิทสนมกัน ซึ่งในบางครั้งก็มักจะตัดคําให้สั้นลง เช่น เขาเรียนอยู่คณะนิติ รามคําแหง ฯลฯ

110. คําว่า “ฟิล์ม, ฟิวส์, ฟาร์ม” เป็นคําประเภทใด
(1) คํายืม
(2) คําทับศัพท์
(3) คําศัพท์บัญญัติ
(4) คําศัพท์แปลกใหม่
ตอบ 2 หน้า 123 – 125 (H) คําทับศัพท์ หมายถึง คําภาษาต่างประเทศที่นํามาใช้ในภาษาไทยโดยวิธีการถ่ายเสียงและถอดอักษร เช่น ฟิล์ม (Film), ฟิวส์ (Fuse), ฟาร์ม (Farm) ฯลฯ

111. หน่วยงานใดเป็นผู้จัดทําพจนานุกรม
(1) รัฐสภา
(2) ราชบัณฑิตยสถาน
(3) สํานักนายกรัฐมนตรี
(4) กระทรวงวัฒนธรรมฯ
ตอบ 2 (คําบรรยาย) ราชบัณฑิตยสถาน เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกรม เป็นหน่วยงานที่จัดทําพจนานุกรม ซึ่งเป็นหนังสือที่รวบรวมคําที่มีใช้อยู่ใน ภาษาไทย โดยให้ความรู้และกําหนดในเรื่องอักขรวิธี (บอกคําเขียน) การออกเสียงคําอ่าน (บอกคําอ่าน) นิยามความหมาย (บอกความหมาย) และบอกประวัติของคําเท่าที่จําเป็น

112. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับล่าสุดเป็นปี พ.ศ. ใด
(1) พ.ศ. 2525
(2) พ.ศ. 2542
(3) พ.ศ. 2554
(4) พ.ศ. 2564
ตอบ 3 (คําบรรยาย) พจนานุกรมฉบับทางการที่ออกมาฉบับล่าสุดและใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คือ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554

113. คําว่า “ทัศนวิสัย, วิสัยทัศน์, โลกทัศน์” เป็นคําประเภทใด
(1) คําไวพจน์
(2) คําภาษาต่างประเทศ
(3) คําศัพท์บัญญัติ
(4) คําทับศัพท์
ตอบ 3 หน้า 9 (54351), (คําบรรยาย) คําศัพท์บัญญัติ คือ คําศัพท์เฉพาะวิชาที่ราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติจากภาษาต่างประเทศ เพื่อกําหนดใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนเอกสารทางราชการและการเรียนการสอนสําหรับสาขาวิชาแขนงหนึ่งแขนงใดโดยเฉพาะ ซึ่งจะแบ่งเป็นหมวดหมู่ต่าง ๆ เช่น ทัศนวิสัย (Visibility), วิสัยทัศน์ (Vision), โลกทัศน์ (World View) เป็นต้น

114. “เขาทําการปิดประตูใส่กุญแจอย่างแน่นหนา” ข้อความนี้บกพร่องอย่างไร
(1) เรียงลําดับประโยคไม่ถูก
(2) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(3) ใช้คํากํากวม
(4) ใช้คําฟุ่มเฟือย
ตอบ 4 หน้า 18 – 19, 39 (54351) การใช้คําฟุ่มเฟือยหรือการใช้คําที่ไม่จําเป็นจะทําให้คําโดยรวม ไม่มีน้ําหนักและข้อความขาดความหนักแน่น ไม่กระชับรัดกุม เพราะเป็นคําที่ไม่มีความหมาย อะไร แม้จะตัดออกไปก็ไม่ได้ทําให้ความหมายของข้อความนั้นเปลี่ยนแปลงไป แต่กลับทําให้ ดูรุงรังยิ่งขึ้น เช่น เขาทําการปิดประตูใส่กุญแจอย่างแน่นหนา (ใช้คําฟุ่มเฟือย) จึงควรแก้ไขเป็น เขาปิดประตูใส่กุญแจอย่างแน่นหนา

115. “บ้านของผู้คนตั้งอยู่ริมแม่น้ําเจ้าพระยา” ข้อความนี้บกพร่องอย่างไร
(1) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(2) ใช้คําฟุ่มเฟือย
(3) ใช้คํากํากวม
(4) ใช้คําขยายความผิดที่
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 114. ประกอบ) ข้อความที่ว่า บ้านของผู้คนตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา (ใช้คํา ฟุ่มเฟือย) จึงควรแก้ไขให้ถูกต้องเป็น บ้านตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา (คําว่า “บ้าน” – สิ่งที่คน ปลูกสร้างเพื่อเป็นที่อยู่อาศัย)

116. “มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยจํานวนมาก” ข้อความนี้บกพร่องอย่างไร
(1) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(2) ใช้คํากํากวม
(3) ใช้คําฟุ่มเฟือย
(4) ใช้คําขยายความผิดที่
ตอบ 4 หน้า 37 (54351) การเรียงลําดับประโยคให้ถูกที่ คือ การวางประธาน กริยา กรรม และส่วนขยายให้ตรงตามตําแหน่ง เพราะถ้าหากวางไม่ถูกที่จะทําให้ข้อความนั้นไม่ชัดเจน หรือ
มีความหมายไม่ตรงกับที่เราต้องการ เช่น มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยจํานวน มาก (วางส่วนขยายผิดที่ หรือใช้คําขยายไม่ถูกต้อง) จึงควรแก้ไขเป็น มีนักศึกษาจํานวนมากลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทย

117. “มหาวิทยาลัยแห่งนี้เต็มไปด้วยสุนัขจรจัด” ข้อความนี้บกพร่องอย่างไร
(1) ใช้คํากํากวม
(2) ใช้คําฟุ่มเฟือย
(3) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(4) เรียงลําดับประโยคไม่ถูก
ตอบ 3 หน้า 38 (54351) การใช้คําตามแบบภาษาไทย คือ การทําให้ข้อความที่ผูกขึ้นมีลักษณะ เป็นภาษาไทย ไม่เลียนแบบภาษาต่างประเทศ ซึ่งจะทําให้ข้อความกะทัดรัด เข้าใจง่าย และ ไม่เคอะเขิน เช่นมหาวิทยาลัยแห่งนี้เต็มไปด้วยสุนัขจรจัด (ใช้สํานวนต่างประเทศ) จึงควร แก้ไขเป็น สุนัขจรจัดอยู่เต็มมหาวิทยาลัยแห่งนี้

118. “อาจารย์บรรยายให้นักศึกษาฟังเรื่องการใช้ภาษา” ข้อความนี้บกพร่องอย่างไร
(1) ใช้คํากํากวม
(2) ใช้คําฟุ่มเฟือย
(3) เรียงลําดับประโยคไม่ถูก
(4) ใช้สํานวนต่างประเทศ
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 116. ประกอบ) ข้อความที่ว่า อาจารย์บรรยายให้นักศึกษาฟังเรื่องการใช้ ภาษา (วางส่วนขยายผิดที่ หรือใช้คําขยายไม่ถูกต้อง) จึงควรแก้ไขด้วยการเรียงลําดับประโยค ให้ถูกต้องเป็น อาจารย์บรรยายเรื่องการใช้ภาษาให้นักศึกษาฟัง

119. “น้ำถูกทําให้แห้งไปจากถนน” ประโยคนี้บกพร่องอย่างไร
(1) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(2) ใช้คําขยายไม่ถูก
(3) ใช้คําไม่ถูกต้อง
(4) ใช้คําไม่เป็นเหตุเป็นผล
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 117. ประกอบ) ข้อความที่ว่า น้ําถูกทําให้แห้งไปจากถนน (ใช้สํานวน ต่างประเทศ) จึงควรแก้ไขให้ถูกต้องเป็น น้ำแห้งไปจากถนน

120. “เขาทําลายไทย” ข้อความนี้บกพร่องอย่างไร
(1) ใช้คําขยายความผิดที่
(2) ใช้คําฟุ่มเฟือย
(3) ใช้คํากํากวม
(4) ใช้คําไม่เป็นเหตุเป็นผล
ตอบ 3 หน้า 11 (54351) การใช้คําที่มีความหมายหลายอย่างจะต้องคํานึงถึงถ้อยคําแวดล้อมด้วย เพื่อให้เกิดความแจ่มชัด ไม่กํากวม เพราะคําชนิดนี้ต้องอาศัยถ้อยคําที่แวดล้อมอยู่เป็นเครื่องช่วย กําหนดความหมาย เช่น เขาทําลายไทย (ใช้คํากํากวม) จึงควรแก้ไขให้มีความหมายแน่ชัดลงไป โดยใช้ถ้อยคําแวดล้อมเสียใหม่เป็น เขาทําลายประเทศไทย/เขาทําศิลปะรูปลายไทย

THA1001 ลักษณะและการใช้ภาษาไทย 1/2564

การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2564
ข้อสอบกระบวนวิชา THA 1001 ลักษณะและการใช้ภาษาไทย
คําสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1. ข้อใดไม่สะท้อนลักษณะของภาษาไทยที่เป็นคําโดดชัดเจนที่สุด
(1) ยายน้อยขายลูกชิ้นทอดหน้าโรงเรียน
(2) เรานั่งทําแบบทดสอบตั้งครึ่งชั่วโมง
(3) นมเย็นสองแก้วสามร้อยบาท
(4) ผงซักฟอกแบบใดที่ทําให้ผ้าขาวนะ
ตอบ 3 หน้า 2, 5 – 6 (62204), 2 – 3 (H), (คําบรรยาย) ลักษณะของภาษาไทยที่เป็นคําโดด มีดังนี้
1. คําแต่ละคําต้องออกเสียงพยางค์เดียว และอาจเป็นคําควบกล้ำก็ได้
2. ต้องเป็นภาษาไทยเท่านั้น ไม่ใช่คํายืมจากภาษาอื่น
3. มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
4. มีระบบวรรณยุกต์ หรือมีระบบเสียงสูงต่ำ ฯลฯ
(คําว่า “บาท” เป็นคํายืมมาจากภาษาบาลีสันสกฤต = ปาท)

2. “ยายตักน้ําจิ้มราดลูกชิ้นทอดสองไม้นั้นจนชุ่ม” ข้อความนี้ไม่ปรากฏลักษณะของภาษาไทยประเภทใด
(1) มีระบบเสียงสูงต่ำ
(2) บอกเพศ
(3) ใช้คําลักษณนาม
(4) บอกพจน์
ตอบ 1 หน้า 2 (62204), 6 – 10 (H) ข้อความข้างต้นปรากฏลักษณะของภาษาไทย ดังนี้
1. บอกเพศ คือ ชาย/หญิง หรือตัวผู้ตัวเมีย เช่น ยาย (เพศหญิง)
2. บอกพจน์ คือ จํานวน เช่น สอง (ใช้คําบอกจํานวนนับ)
3. ใช้คําลักษณนาม ซึ่งมากับคําขยายบอกจํานวนนับ เช่น สองไม้ ฯลฯ

3.คํานามในข้อใดแสดงเพศไม่ชัดเจน
(1) สะใภ้เจ้าสัว
(2) แม่ครัวคนใหม่
(3) สุภาพบุรุษสุดซอย
(4) พลเมืองดิจิทัล
ตอบ 4 หน้า 2, 109 – 110, 112 62204), 6 – 7, 97 – 98 (H) คํานามในภาษาไทยบางคําก็แสดงเพศได้ชัดเจนในตัวของมันเอง เช่น คําที่บอกเพศชาย ได้แก่ พ่อ พ่อครัว สุภาพบุรุษ พระภิกษุ เณร ทิด เขย ชาย หนุ่ม บ่าว ปู่ ตา ผม นาย ลุง พลาย (ช้างตัวผู้) ฯลฯ และคําที่บอกเพศหญิง ได้แก่ ดิฉัน สะใภ้ แม่ แม่ครัว สุภาพสตรี หญิง สาว นาง ซี ป้า ย่า ยาย พัง (ช้างตัวเมีย) ฯลฯ แต่คําบางคําที่เป็นคํารวมทั้ง 2 เพศ เช่น พี่ น้อง เด็ก น้า อา ลูก หลาน เพื่อน ฯลฯ เมื่อต้องการ แสดงเพศให้ชัดเจนตามแบบของภาษาคําโดด ก็จะต้องใช้คําบ่งเพศมาประกอบเข้าข้างหน้าบ้าง ข้างหลังบ้าง หรืออาจนํามาประสมกันตามแบบคําประสมบ้าง เช่น พี่สาว น้องคนสวย น้าชาย อาหญิง เด็กผู้หญิง หลานชาย ฯลฯ (ส่วนคําว่า “พลเมือง” เป็นคํารวมทั้ง 2 เพศ)

4. “น้อง ๆ กําลังเดินเลาะริมชายหาด” ข้อความนี้ปรากฏลักษณะของภาษาไทยแบบใด
(1) บอกพจน์
(2) คําคําเดียวมีหลายความหมาย
(3) มีระบบเสียงสูงต่ำ
(4) ใช้คําลักษณนาม
ตอบ 1 หน้า 77, 110 (62204), 76, 98 (H) การแสดงพจน์ (จํานวน) จะมีอยู่หลายวิธี แต่ก็ต้องดูความหมายของประโยคด้วย ดังนี้
1. ใช้คําบอกจํานวนหนึ่ง (เอกพจน์) ได้แก่ โสด เดียว หนึ่ง โทน ฯลฯ
2. ใช้คําบอกจํานวนมากกว่าหนึ่ง (พหูพจน์) ได้แก่ คู่แฝด (จํานวนสองที่กําหนดไว้เป็นชุด), กลุ่ม/หมู่ ฝูง/พวก/ขบวน/ช่อ (มีจํานวนมากกว่าสองขึ้นไป) ฯลฯ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ คําขยาย ได้แก่ มาก หลาย ฯลฯ, ใช้คําบอกจํานวนนับ ได้แก่ สอง สี่ โหล ฯลฯ โหล ฯลฯ, ใช้คําซ้ํา ได้แก่ เด็ก ๆ หนุ่ม ๆ สาว ๆ น้อง ๆ หลาน ๆ ฯลฯ และใช้คําซ้อน ได้แก่ ลูกเด็กเล็กแดง (เด็กเล็ก ๆ หลายคน) ฯลฯ

5. ข้อใดไม่เป็นสระเดี่ยว
(1) หน้า
(2) ดํา
(3) ทอด
(4) เจ้า
ตอบ 4 หน้า 8, 13 – 14 (62204), 17, 24 – 30 (H) เสียงสระในภาษาไทยมี 28 เสียง ดังนี้
1. สระเดี่ยว 18 เสียง แบ่งเป็นเสียงสั้น 9 เสียง ได้แก่ อะ อิ อี อุ เอะ แอะ เออะ โอะ เอาะ และเสียงยาว 9 เสียง ได้แก่ อา อี อือ อู เอ แอ เออ โอ ออ
2. สระผสม 10 เสียง แบ่งเป็นเสียงสั้น 5 เสียง ได้แก่ เอียะ เอือะ อัวะ เอา ไอ และเสียงยาว 5 เสียง ได้แก่ เอีย เอือ อัว อาว อาย
(ยกเว้นคําใดที่ลงท้ายด้วย ยาว ซึ่งเป็นพยัญชนะกึ่งสระ อาจเป็นได้ทั้งตัวสะกด ย/ว หรือเป็น สระผสม 2 เสียง หรือ 3 เสียงก็ได้)

6. ข้อใดไม่เป็นสระผสม
(1) ตั๋ว
(2) เพลีย
(3) สั่ง
(4) เอว
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ

7.“ผงซักฟอกวางขายบนชั้นมีหลายยี่ห้อ” ข้อความนี้มีสระเดี่ยวกี่เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ)
(1) 5 เสียง
(2) 6 เสียง
(3) 3 เสียง
(4) 4 เสียง
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีสระเดี่ยว 5 เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ) ได้แก่
1. สระโอะ = ผง/บน
2. สระอะ = ซัก/ชั้น
3. สระออ = ฟอก/ห้อ
4. สระอา = วาง
5. สระอี = มี/ยี่

8.ข้อใดเป็นสระผสม

(1) เขย
(2) ครรภ์
(3) ขลาด
(4) ขวิด
ตอบ 1 หน้า 14 (62204), 27 (H), (ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ) คําว่า “เขย” ลงท้ายด้วย ย ซึ่งเป็น พยัญชนะกึ่งสระ จึงอาจเป็นได้ทั้งตัวสะกด ย หรือเป็นสระผสม 2 เสียง ประกอบด้วย เออ + ย (เออ + อี) = เอย (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นสระเดี่ยว)

9. รูปพยัญชนะไทยลําดับที่ 3 ตรงกับข้อใด
(1) ฅ
(2) ม
(3) ค
(4) ฃ
ตอบ 4 (คําบรรยาย) ฃ = รูปพยัญชนะในภาษาไทยลําดับที่ 3 เป็นอักษรสูง ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว

10. ข้อใดไม่ใช่สระผสม 2 เสียง
(1) คลั่ง
(2) เย้ย
(3) ไป
(4) ทวน
ตอบ 1 หน้า 14 (62204), 23, 27 (H), (ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ) คําว่า “คลั่ง” = สระอะ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นสระผสม 2 เสียง ได้แก่ คําว่า “เย้ย” ประกอบด้วย เออ + ย (เออ + อี) = เอย, “ไป” ประกอบด้วย อะ + ย (อะ + อิ) = ไอ, “ทวน” ประกอบด้วย อู + อา = อ้ว)

11. ข้อใดไม่เป็นสระหลัง
(1) ยุง
(2) โอบ
(3) เยอะ
(4) กอด
ตอบ 3 หน้า 9 – 10 (62204), 18 – 19 (H) สระเดี่ยวที่จําแนกตามส่วนต่าง ๆ ของลิ้นที่ทําหน้าที่ ซึ่งต้องมีสภาพของริมฝีปากประกอบด้วย ได้แก่
1. สระกลาง ได้แก่ อา คือ เออ อะ อี เออะ
2. สระหน้า ได้แก่ อี เอ แย อิเอะ แอะ
3. สระหลัง ได้แก่ อู โอ ออ อุ โอะ เอาะ

12. ข้อใดมีเสียงสระตรงกับคําว่า “เย็น”
(1) เบา
(2) เพลิน
(3) เขต
(4) เด่น
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ) คําว่า “เย็น/เด่น” – สระเอะ, “เบา” – สระเอา, “เพลิน” – สระเออ, “เขต” – สระเอ

13. ข้อใดประกอบด้วยเสียงสระอี + อา + อู
(1) กล้วย
(2) เลื่อย
(3) เกี๊ยว
(4) เสียบ
ตอบ 3 หน้า 14 (62204), 26 (H) คําว่า “เกี๊ยว” ประกอบด้วย เอ๊ย + ว (อี + อา + อู) = เอียว

14. ข้อใดไม่มีเสียงสระอา
(1) เสียง
(2) เศร้า
(3) เฝือก
(4) กลัว
ตอบ 2 หน้า 11 – 13 (62204), 21, 23 – 24 (H) คําว่า “เศร้า” ประกอบด้วย อะ + ว (อะ + อุ) = เอา (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นมีเสียงสระอา ได้แก่ คําว่า “เสียง” ประกอบด้วย อี + อา = เอีย, “เผือก” ประกอบด้วย คือ + อา = เอือ, “กลัว” ประกอบด้วย อู + อา = อ้ว)

15. พยัญชนะต้นในข้อใดเกิดที่ฐานริมฝีปา
(1) มัน
(2) หอม
(3) นุ่ม
(4) ขาย
ตอบ 1หน้า 17 – 18 (62204), 37 – 38 (H) พยัญชนะต้นที่จําแนกตามฐานกรณ์ (ที่เกิดหรือที่ตั้งของเสียง) สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
1. ฐานคอ (คอหอย) มี 2 เสียง คือ ห (ฮ) อ
2. ฐานเพดานอ่อน มี 3 เสียง คือ ก ค (ข ฆ) ง
3. ฐานเพดานแข็ง มี 5 เสียง คือ จ ช (ฉ ฌ) ส (ซ ศ ษ) ย (ญ) ร
4. ฐานฟัน มี 5 เสียง คือ ต (ฎ) ต (ฏ) ท (ถ ฐ ฑ ฒ ธ) น (ณ) ล (ฬ)
5. ฐานริมฝีปาก ได้แก่ ริมฝีปากบนกับล่างประกบกัน มี 5 เสียง คือ บ ป พ (ผ ภ) มว และริมฝีปากล่างประกบกับฟันบน มี 1 เสียง คือ ฟ (ฝ)

16. พยัญชนะต้นในข้อใดเป็นประเภทกึ่งเสียดแทรก
(1) ยิ้ม
(2) เสียง
(3) ช้าง
(4) ม่าน
ตอบ 3 หน้า 19 – 21 (62204), 39 – 43 (H), (คําบรรยาย) พยัญชนะต้นของไทยที่มีการจําแนกตาม รูปลักษณะของเสียง แบ่งออกได้ดังนี้

1. พยัญชนะระเบิด (พยัญชนะกัก) = ก ค (ฃ ฆ) จ ด (ฎ) ต (ฎ) ท (ถ ฐ ฑ ฒ ธ) บ ป พ (ผ ภ) อ
2. พยัญชนะนาสิก = ง น (ณ) ม
3. พยัญชนะเสียดแทรก = ส (ซ ศ ษ) ฟ (ฝ)
4. พยัญชนะกึ่งเสียดแทรก = ช (ฉ ฌ)
5. พยัญชนะกึ่งสระ = ย ว
6. พยัญชนะเหลว = ร ล
7. พยัญชนะเสียงหนัก = ห (ฮ) รวมทั้งพยัญชนะที่มีเสียง ห ผสมอยู่ด้วย = ค (ข) ช (ฉ) ท (ถ) พ (ผ)

17. ข้อใดไม่ใช่พยัญชนะควบกันมา
(1) ขว้าง
(2) สร้าง
(3) หล่น
(4) ปรุง
ตอบ 3 หน้า 22 – 26 (62204), 44 – 49 (H) การออกเสียงแบบควบกันมา หรืออักษรควบ คือ พยัญชนะคู่ที่ออกเสียง 2 เสียงควบกล้ําไปพร้อมกัน แบ่งออกเป็น
1. อักษรควบกล้ำแท้ หรือเสียงกล้ำกันสนิท โดยเสียงทั้งสองจะร่วมเสียงสระและวรรณยุกต์ เดียวกัน เช่น ขว้าง, ปรุง, คลอง, พระ ฯลฯ
2. อักษรควบกล้ําไม่แท้ หรือเสียงกล้ำกันไม่สนิท เช่น สร้าง (ร้าง), ทราย (ชาย) ฯลฯ

18. ข้อใดไม่ใช่พยัญชนะนํากันมา
(1) เฉวียน
(2) ทหาร
(3) สหาย
(4) สะบัด
ตอบ 4 หน้า 22 (62204), 44 (H) การออกเสียงแบบนํากันมา (อักษรนํา) คือ พยัญชนะคู่ที่พยัญชนะ ตัวหน้ามีอํานาจเหนือพยัญชนะตัวหลัง โดยที่พยัญชนะตัวหน้าจะออกเสียงเพียงครึ่งเสียง และ พยัญชนะตัวหลังก็เปลี่ยนเสียงตาม ซึ่งจะออกเสียงเหมือนกับเสียงที่มี “ห” นํา เช่น อยู่ (หมู่),หล่น, หมา, หมด, เฉวียน (ฉะเหวียน), ทหาร (ทะหาน), สหาย (สะหาย) ฯลฯ

19. ข้อใดเป็นพยัญชนะเคียงกันมา
(1) อุปมา
(2) วัดวา
(3) สิงหา
(4) พระธรรม
ตอบ 1 หน้า 22 (62204), 44 (H) (คําบรรยาย) การออกเสียงแบบตามกันมา หรือเคียงกันมา (การออกเสียงแบบเรียงพยางค์) คือ พยัญชนะคู่ที่ออกเสียงแต่ละเสียงเต็มเสียง และเสียง ทั้งสองไม่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน นอกจากนี้ถ้าหากคําใดที่มีเสียงสระอะ อา อิ อี อุ อู อยู่กลางคํา และพยางค์หน้าออกเสียงเต็มเสียงทุกคําให้ถือเป็นพยัญชนะคู่แบบเคียงกันมา เช่น อุปมา (อุปะมา), กิจกรรม (กิดจะกํา), จักรวาล (จักกะวาน) ฯลฯ

20. ข้อใดไม่มีพยัญชนะคู่
(1) เรือแล่นอยู่ในลําคลอง
(2) หมาน้อยเห่าเสียงดัง
(3) น้ำตาลทรายขายหมดแล้ว
(4) คนดีมีเยอะมาก
ตอบ 4 หน้า 17 – 18, 21 – 22 (62204), 37, 44 (H) พยัญชนะต้นในภาษาไทยมี 2 ประเภท ได้แก่
1. พยัญชนะเดี่ยว คือ พยัญชนะต้นที่มีเพียงเสียงเดียว เช่น คนดีมีเยอะมาก เป็นต้น
2. พยัญชนะคู่ คือ พยัญชนะต้น 2 ตัวเรียงกันและออกเสียงทั้งคู่ หรือออกเสียงเพียงเสียงเดียวก็ได้ แบ่งออกเป็น แบบเคียงกันมา, แบบนํากันมา (เช่น หมา, หมด) และแบบควบกันมา
(เช่น คลอง, ทราย) (ดูคําอธิบายข้อ 17., 18. และ 19. ประกอบ)

21. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดเหมือนกัน
(1) วัยเยาว์
(2) เผาข้าว
(3) อําพัน
(4) ลาภลอย
ตอบ 2 หน้า 27 – 29 (62204), 50 – 53 (H) พยัญชนะสะกดของไทยจะมีเพียง 8 เสียงเท่านั้น ได้แก่
1. แม่กก – ก ข ค ฆ
2. แม่กด = จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส
3. แม่กบ = บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ
4. แม่กน = น ณ ร ล ฬ ญ
5. แม่กง = ง
6. แม่กม = ม
7. แม่เกย = ย
8. แม่เกอว = ว
นอกจากนี้สระอํา (อัม) = แม่กม, สระไอ/โอ (อัย) = แม่เกย และสระเอา (อาว) = แม่เกอว (คําว่า “เผาข้าว” = แม่เกอว “วัยเยาว์” = แม่เกย/แม่เกอว “อําพัน” = แม่กม แม่กน “ลาภลอย” = แม่กบ/แม่เลย)

22. ข้อใดไม่มีเสียงพยัญชนะสะกดทุกคํา
(1) ตํานาน
(2) หม้อไฟ
(3) หัวป่า
(4) เสาร์ห้า
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 21. ประกอบ) คําที่ไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด ได้แก่ หม้อ (หม + สระออ, หัว (ห + สระอัว), ป่า (ป – สระอา), ห้า (ห + สระอา)

23. “ผมเป็นคนมั่นใจในการสอบวิชานี้เสมอ” ข้อความนี้มีพยัญชนะสะกดกี่เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ)
(1) 6 เสียง
(2) 4 เสียง
(3) 3 เสียง
(4) 5 เสียง
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 21. ประกอบ)ข้อความนี้ปรากฏพยัญชนะสะกด 4 เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ) คือ
1. แม่กม = ผม
2. แม่กน = เป็น, คน, มั่น, การ
3. แม่เกย = ใจ, ใน
4. แม่กบ = สอบ
(ส่วนคําที่ไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด ได้แก่ วิชานี้เสมอ)

24. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะละกดที่เป็นคําเป็นทุกคํา
(1) จบสิ้น
(2) ผมซอย
(3) แกงบวด
(4) หลีกเลี่ยง
ตอบ 2 หน้า 28 (62204), 51 (H), (ดูคําอธิบายข้อ 5. และ 21. ประกอบ) การพิจารณาลักษณะของ คําเป็นกับคําตาย มีหลักเกณฑ์ดังนี้
1. คําเป็น คือ คําที่สะกดด้วยแม่กง กน กม เกย เกอว และคําที่ไม่มีตัวสะกด ใช้สระเสียงยาว รวมทั้งสระอํา ใอ ไอ เอา (เพราะออกเสียงเหมือนมีตัวสะกดเป็นแม่กม เกย เกอว)
2. คําตาย คือ คําที่สะกดด้วยแม่กก กด กบ และคําที่ไม่มีตัวสะกด ใช้สระเสียงสั้น

25. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ตรี
(1) เงื่อน
(2) เนื้อ
(3) เหยียบ
(4) หลบ
ตอบ 2 หน้า 33 – 37 (62204), 55 – 60 (H) เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยจะมี 5 เสียง 4 รูป ได้แก่ เสียงสามัญ (ไม่มีรูปวรรณยุกต์กํากับ), เสียงเอก ( ่ ), เสียงโท ( ้ ), เสียงตรี ( ๊ ) และเสียง จัตวา ( ๋ ) ซึ่งในคําบางคํา รูปและเสียงวรรณยุกต์อาจไม่ตรงกัน จึงควรเขียนรูปวรรณยุกต์ให้ ถูกต้อง เช่น คําว่า “เนื้อ” มีเสียงวรรณยุกต์ตรี แต่ใช้ไม้โท (ส่วนคําว่า “เงื่อน/เหยียบ/หลบ” = โท/เอก/เอก)

26. ข้อใดไม่มีเสียงวรรณยุกต์เอก
(1) บอก
(2) กระ
(3) น่า
(4) จูบ
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 25. ประกอบ) คําว่า “น่า” มีเสียงวรรณยุกต์โท แต่ใช้ไม้เอก(ส่วนตัวเลือกข้ออื่นมีเสียงวรรณยุกต์เอก)

27. ข้อใดไม่มีเสียงวรรณยุกต์โท
(1) มั่น
(2) ใช้
(3) ฆ่า
(4) กล้า
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 25. ประกอบ) คําว่า “ใช้” มีเสียงวรรณยุกต์ตรี แต่ใช้ไม้โท
(ส่วนตัวเลือกข้ออื่นมีเสียงวรรณยุกต์โท)

28. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์จัตวา
(1) หวาน
(2) ควาญ
(3) ลูก
(4) ฉาบ
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 25. ประกอบ) คําว่า “หวาน” มีเสียงวรรณยุกต์จัตวา แต่ไม่มีรูปวรรณยุกต์ กํากับ (ส่วนคําว่า “ควาญ/ลูก/ฉาบ” = สามัญ/โท/ เอก)

29. “ผัดไทย ราดหน้า ส้มตํา ไก่ย่าง อย่าหวังว่ามีในร้านนี้” ข้อความนี้มีเสียงวรรณยุกต์ใดน้อยที่สุด
(1) สามัญ
(2) โท
(3) เอก
(4) จัตวา
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 25. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีเสียงวรรณยุกต์ ดังนี้
1. เสียงสามัญ = ไทย/ดํา/มีใน
2. เสียงเอก = ผัด/ไก่/อย่า
3. เสียงโท = ราดหน้า/ส้ม/ย่าง/ว่า
4. เสียงตรี = ร้าน/นี้
5. เสียงจัตวา = หวัง

30. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ต่างจากข้ออื่น
(1) ขิม
(2) หวย
(3) สูตร
(4) ถาม
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 25. ประกอบ) คําว่า “สูตร” มีเสียงวรรณยุกต์เอก แต่ไม่มีรูปวรรณยุกต์ กํากับ (ส่วนคําว่า “ขิม/หวย/ถาม” = จัตวา)

31. “ฉันบอกเธอแล้ว เขาเป็นพระมาเกิด” ข้อความนี้ปรากฏเสียงวรรณยุกต์กี่เสียง (ไม่นับเสียงซ้ํา)
(1) 2 เสียง
(2) 3 เสียง
(3) 5 เสียง
(4) 4 เสียง
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 25. ประกอบ)
1. เสียงสามัญ = เธอเป็นมา2. เสียงเอก = บอก/เกิด
3. เสียงตรี = แล้ว/พระ
4. เสียงจัตวา = ฉัน/เขา
ข้อความข้างต้นมีเสียงวรรณยุกต์ 4 เสียง ดังนี้

32. “ความรักทําให้คนหลงทางมาหลายรายแล้ว” ข้อความนี้มีคําประสมคํา
(1) 4 คํา
(2) 1 คํา
(3) 3 pin
(4) 2 คํา
ตอบ 4 หน้า 80 – 89 (62204), 78 – 82 (H) คําประสม คือ คําตั้งแต่ 2 คําขึ้นไปมาประสมเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้คําใหม่ที่มีความหมายใหม่มาใช้ในภาษา ซึ่งความหมายสําคัญจะอยู่ที่คําต้น (คําตัวตั้ง) ส่วนที่ตามมาเป็นคําขยาย ซึ่งไม่ใช่คําที่ขยายคําต้นจริง ๆ แต่จะช่วยให้คําทั้งคํามีความหมาย จํากัดเป็นนัยเดียว เช่น ความรัก, หลงทาง, เครื่องมือ, กับดัก, ชื่อเสียง, ลูกน้อง, ลูกรัก, ลูกค้า, วัดดวง, ยาฆ่าเชื้อ, อวดเก่ง, เวียนหัว, จับคู่ เป็นต้น

33. ข้อใดไม่เป็นความหมายแฝง
(1) เย็น
(2) กระซิบ
(3) ดูด
(4) แกะ
ตอบ 1 หน้า 44 – 47 (62204), 62 – 63 (H) ความหมายแฝง หมายถึง ความหมายย่อยที่แฝงอยู่ในความหมายใหญ่ ซึ่งจะแนะรายละเอียดบางอย่างไว้ในความหมายนั้น ๆ ได้แก่ ความหมายแฝง บอกทิศทางเข้าข้างใน เช่น ดูด ฉีด อัด, ความหมายแฝงบอกทิศทางแยกไปคนละทาง เช่น แกะ ปะทุ ระเบิด เตลิด, ความหมายแฝงในคํากริยาที่ใช้กับเสียง เช่น กระซิบ (พูดเบา ๆ) เป็นต้น

34. “กวางน้อยของพี่ กําลังเคี้ยวข้าวคําโตเลย” คําว่า “กวางน้อย” จัดเป็นความหมายประเภทใด
(1) ความหมายแฝง
(2) ความหมายอุปมา
(3) การแยกเสียงแยกความหมาย
(4) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 2 หน้า 48 – 49 (62204), 64 (H) คําอุปมา คือ คําที่ใช้เปรียบเทียบเพื่อพรรณนาบอกลักษณะ ให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อให้มีความหมายใหม่เกิดขึ้นอีกความหมายหนึ่ง มีอยู่ 2 ประเภท ได้แก่
1. คําอุปมาที่ได้มาจากคําที่มีใช้อยู่แล้ว เช่น ไข่มุก (สตรีที่งดงาม บริสุทธิ์ และสูงค่า), เทวดา/ นางฟ้า (ดี สวย), กวางน้อย (แฟนสาวหรือภรรยา สื่อเป็นนัยถึงความน่ารักน่าเอ็นดู) ฯลฯ
2. คําอุปมาที่สร้างขึ้นใหม่ ส่วนมากเป็นคําประสม เช่น แมวนอนหวด (ซื่อจนเซ่อ) ฯลฯ

35. ข้อใดเป็นการแยกเสียงแยกความหมายในลักษณะเสียงสูงต่ําต่างกัน
(1) บาด – ปาด
(2) วับ – วาบ
(3) รวบ – รวม
(4) เดียว – เดี่ยว
ตอบ 4 หน้า 51 – 52 (62204), 65 (H) การแยกเสียงแยกความหมาย คือ การเปลี่ยนแปลงเสียง ในคําบางคําที่มีความหมายหลายอย่างให้แตกต่างกันบ้าง เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนว่าคํานั้น มีความหมายว่าอย่างไรในที่นั้น ๆ โดยความหมายย่อยและที่ใช้อาจจะแตกต่างกันบ้าง ได้แก่ “เดียว – เดี่ยว” (เสียงสูงต่ำต่างกัน) ต่างก็แปลว่าหนึ่ง เช่น มาเดี่ยว มาคนเดียว แต่จะนํามา ใช้แทนกันไม่ได้ เพราะ “เดียว” หมายถึง หนึ่งเท่านั้น แต่ “เดี่ยว” หมายถึง ไม่มีคู่ ไม่ได้นําคู่ของตนมาด้วย เป็นต้น

36. ข้อใดเป็นคําซ้ำแบบแสดงความไม่เจาะจง
(1) ไป ๆ มา ๆ ก็ทําข้อสอบไม่ได้
(2) เขาซื้อขนมมาแจกเป็นถุง ๆ
(3) คนดี ๆ จะไม่ทุจริตในการสอบ
(4) หนู ๆ ทําข้อสอบได้ไหม
ตอบ 4 หน้า 76 – 80 (62204), 76 – 78 (H) คําซ้ำ คือ คําคําเดียวกันที่นํามากล่าว 2 ครั้ง เพื่อให้ มีความหมายเน้นหนักขึ้น หรือเพื่อให้มีความหมายแตกต่างจากคําเดี่ยว ซึ่งวิธีการสร้างคําซ้ำ ก็เหมือนกับการสร้างคําซ้อน แต่ใช้คําคําเดียวมาซ้อนกันโดยมีเครื่องหมายไม้ยมก (ๆ) กํากับ เช่น หนู ๆ เรา ๆ ท่าน ๆ เขา ๆ (เป็นคําซ้ําที่ซ้ำคําสรรพนาม แสดงความไม่เจาะจง) ฯลฯ

37. ข้อใดเป็นคําซ้อน
(1) เครื่องมือ
(2) กับดัก
(3) ป่าวร้อง
(4) ชื่อเสียง
ตอบ 3 หน้า 62 – 76 (62204), 67 – 76 (H) คําซ้อน คือ คําเดี่ยว 2, 4 หรือ 6 คํา ที่มีความหมาย หรือมีเสียงที่ใกล้เคียงกัน หรือเป็นไปในทํานองเดียวกัน ซ้อนเข้าด้วยกันเพื่อทําให้เกิดคําใหม่ ที่มีความหมายใหม่ขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. คําซ้อนเพื่อความหมาย (มุ่งที่ความหมายเป็นสําคัญ) ซึ่งอาจเป็นคําไทยซ้อนเข้าด้วยกัน เช่น ป่าวร้อง, ลูกหลาน, แน่นอน, ดูดดื่ม, เริ่มต้น, ซ่อนเร้น ฯลฯ หรืออาจเป็นคําไทย ซ้อนกับคําภาษาอื่น เช่น รากฐาน (ไทย + บาลีสันสกฤต) ฯลฯ
2. คําซ้อนเพื่อเสียง (มุ่งที่เสียงเป็นสําคัญ) เช่น หลงใหล, หลากหลาย, เกะกะ, ขึงขัง ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นคําประสม) (ดูคําอธิบายข้อ 32. ประกอบ)

38. ข้อใดเป็นคําซ้อน
(1) ลูกหลาน
(2) ลูกน้อง
(3) ลูกรัก
(4) ลูกค้า
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 32. และ 37. ประกอบ

39. ข้อใดไม่เป็นคําซ้อน
(1) แน่นอน
(2) ดูดดื่ม
(3) วัดดวง
(4) เริ่มต้น
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 32. และ 37. ประกอบ

40. ข้อใดเป็นคําประสม
(1) หลงใหล
(2) ยาฆ่าเชื่อ
(3) หลากหลาย
(4) ซ่อนเร้น
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 32. และ 37. ประกอบ

41. ข้อใดไม่เป็นคําประสม
(1) อวดเก่ง
(2) เวียนหัว
(3) จับคู่
(4) รากฐาน
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 32. และ 37. ประกอบ

42. ข้อใดมีคําอุปสรรคเทียมที่เกิดจากการกร่อนเสียง
(1) เบาะดํากํามะหยี่สมกาย อานปรุฉลุลาย ดุนดอกกระเด็นดูงาม
(2) แหนแห่แตรสังข์กังสดาล ซึ่งนึ่งฆ้องขาน เสียงกลองกระหึมครึมเสียง
(3) ซองหางบังเหียนพลอยพลาม วุ้งแวววับวาม แวววาววะวาบปลาบตา
(4) เป่าสังข์ว่าสําเนียง แตรฝรั่งประดังเสียง เสียงแตรนแตร่นแตร้แตรงอน
ตอบ 3 หน้า 93 – 95 (62204), 83 – 84 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการกร่อนเสียง มักเป็นคําที่กร่อนเสียงพยางค์ต้นให้เป็นเสียง “อะ” ได้แก่
1. “มะ” ที่นําหน้าชื่อไม้ผล ไม่ใช่ไม้ผล และหน้าคําบอกกําหนดวัน เช่น หมากม่วง – มะม่วง, หมากเฟือง – มะเฟือง, หมากไฟ – มะไฟ, เมื่อคืน – มะรืน
2. “ตะ” นําหน้าชื่อสัตว์ ต้นไม้ และคําที่มีลักษณะคล้ายตา เช่น ตัวเพียน – ตะเพียน, ตอม่อ – ตะม่อ ตาวัน – ตะวัน, ต้นขบ – ตะขบ, ต้นเคียน – ตะเคียน
3. “สะ” เช่น สายคือ – สะดือ, สายดึง – สะดึง, สาวใต้ – สะใภ้
4. “ฉะ” เช่น ฉันนั้น – ฉะนั้น ฉันนี้ – ฉะนี้ เฉื่อย ๆ – ฉะเฉื่อย, ฉาด ๆ – ฉะฉาด
5. “ยะ/ระ/ละ/วะ” เช่น เยือก ๆ – ยะเยือก, รัว ๆ – ระรัว, รี่ ๆ – ระรี่, เรื่อ ๆ – ระเรื่อ,ลิบ ๆ – ละลิบ, วาบ ๆ – วะวาบ
6. “อะ” เช่น อันไร/อันใด – อะไร, อันหนึ่ง – อนึ่ง
7. “จะ” เช่น เจื้อยเจื้อย – จะเจื้อย, แจ้วแจ้ว – จะแจ๋ว, จ้อจ้อ – จะจ้อ
สําหรับคําอื่น ๆ ที่ไม่ได้เป็นไปตามนี้ ได้แก่ ผู้ญาณ – พยาน, ชาตา – ชะตา, ช้าพลู – ชะพลู, เฌอเอม – ชะเอม, ชีผ้าขาว – ชีปะขาว, คํานึง – คะนึง เป็นต้น

43. คําใดกร่อนเสียงมาจากคําเดิมว่า “ตัว
(1) ตะเคียน
(2) ตะวัน
(3) ตะขบ
(4) ตะเพียน
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 42. ประกอบ

44. “นกกระสาถาจับต้นกระสัง โนรีจับรังแล้วบินร่อน” ข้อความนี้มีคําที่เกิดจากอุปสรรคเทียมชนิดใด
(1) แบ่งคําผิด
(2) เทียบแนวเทียบผิด
(3) เลียนแบบภาษาเขมร
(4) กร่อนเสียง
ตอบ 1 หน้า 94 (62204), 84 – 85 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการแบ่งคําผิด เกิดจากการพูดเพื่อให้เสียงต่อเนื่องกัน โดยเพิ่มเสียง “กะ” (ปัจจุบันใช้ว่า “กระ”) เข้าไป 1 เสียงในคําที่พยางค์แรก สะกดด้วยเสียง “ก” ได้แก่

1. นกสา – นกกระสา
2. นกจิบ – นกกระจิบ
3. นกเต็น – นกกระเต็น
4. นกจาบ – นกกระจาบ
5. ลูกสุน – ลูกกระสุน
6. ผักสัง – ผักกระสัง ฯลฯ

45. ข้อใดไม่มีคําอุปสรรคเทียมชนิดที่ได้จากการเทียบแนวเทียบผิด
(1) กระมิดกระเมี้ยน กระจุ๋มกระจิ๋ม กะดํากะด่าง
(2) กระจุกกระจิก กระโดกกระเดก กระดุกกระดิก
(3) กะพรวดกะพราด กระดุกกระดิก กะปริดกะปรอย
(4) กระโตกกระตาก กระเสือกกระสน กระแอมกระไอ
ตอบ 2 หน้า 94 – 96 (62204), 85 – 86 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการเทียบแนวเทียบผิด คือ การเพิ่มเสียง “กะ” (ปัจจุบันใช้ว่า “กระ”) เข้าไป 2 เสียง ในคําซ้อนเพื่อเสียงที่หน้าพยางค์ต้น และหน้าพยางค์ท้ายไม่ได้สะกดด้วย “ก” ซึ่งยึดการใช้อุปสรรคเทียมที่เพิ่มเสียงเพื่อไม่ให้เสียง คอนกันมาเป็นแนวเทียบ แต่เป็นการเทียบแนวเทียบผิด เช่น
1. มิดเพี้ยน – กระมิดกระเมี้ยน
2. จุ๋มจิ๋ม – กระจุ๋มกระจิ๋ม
3. ดําด่าง – กะดํากะต่าง
4. พรวดพราด – กะพรวดกะพราด
5. ปริดปรอย – กะปริดกะปรอย
6. เสือกสน – กระเสือกกระสน
7. แอมไอ – กระแอมกระไอ ฯลฯ
(ส่วนตัวเลือกข้อ 2 เป็นอุปสรรคเทียมที่เกิดจากการเพิ่มเสียงเพื่อไม่ให้เสียงคอนกัน)

46. ข้อใดเป็นคําอุปสรรคเทียมที่เกิดจากการเลียนแบบภาษาเขมร
(1) ระรัว
(2) ระรี่
(3) ระย่อ
(4) ระเรื่อ
ตอบ 3 หน้า 96 – 98 (62204), 86 – 87 (H) อุปสรรคเทียมเลียนแบบภาษาเขมร นับเป็นวิธีการ แผลงคําของเขมรที่ใช้นําหน้าคําเพื่อประโยชน์ทางไวยากรณ์ ได้แก่
1. “ชะ/ระ/ปะ/ประ/พะ/สม/สะ” เช่น ชะชะร้าย, ระคน, ระคาย, ระย่อ, ปะปน, ประเดี๋ยว ปะติดปะต่อ, ประท้วง, ประหวั่น, พะรุงพะรัง, พะเยิบ, สมรู้, สมยอม, สมสู่, สะสาง, สะพรั่ง, สะสวย, สะพรึบ ฯลฯ
2. ใช้ “ข ค ป ผ พ” มานําหน้าคํานามและกริยาวิเศษณ์ เพื่อให้มีความหมายเป็นการีต แปลว่า “ทําให้” เช่น ขยุกขยิก, ขยิบ, ขยี้, ขยํา, ปลุก, ปลง, ปลด, ปละ, ปราบ, ผละ, พร่ำ ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นอุปสรรคเทียมที่เกิดจากการกร่อนเสียง) (ดูคําอธิบายข้อ 42. ประกอบ)

47. “พักสายตาเถอะนะคนดี” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ประโยคคําถาม
(2) ประโยคบอกเล่า
(3) ประโยคคําสั่ง
(4) ประโยคขอร้อง
ตอบ 4 หน้า 102 (62204), 92 – 93 (H) ประโยคขอร้องหรือชักชวน คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องการขอร้องหรือชักชวนให้ผู้ฟังทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ตามที่ตนต้องการ ซึ่งการใช้คําพูดนั้นจะคล้ายกับ ประโยคคําสั่งแต่นุ่มนวลกว่า โดยในภาษาเขียนมักจะมีคําว่า “โปรดกรุณา” อยู่หน้าประโยค ส่วนในภาษาพูดนั้นอาจมีคําลงท้ายประโยค ได้แก่ เถอะ เถิด นะ นะ หน่อย ซี ซี ฯลฯ

48. “ห้ามผู้เข้าสอบพูดคุยหรือสนทนาทั้งในห้องสอบและทางออนไลน์โดยเด็ดขาด ยกเว้นการสื่อสารกับ กรรมการคุมสอบเท่านั้น” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ประโยคบอกเล่า
(2) ประโยคขอร้อง
(3) ประโยคคําสั่ง
(4) ประโยคคําถาม
ตอบ 3 หน้า 102 (62204), 91 – 92 (H) ประโยคคําสั่ง คือ ประโยคที่ต้องการให้ผู้ฟังทําตามคําสั่ง มักละประธานและขึ้นต้นด้วยคํากริยา เช่น ไปได้แล้ว แต่ถ้าหากจะมีประธานก็จะระบุชื่อหรือ เน้นตัวบุคคลเพื่อให้คนที่ถูกสั่งรู้ตัว เช่น แดงออกไป นอกจากนี้ประโยคคําสั่งอาจมีกริยาช่วย “อย่า/ห้าม/จง/ต้อง” เพื่อสั่งให้ทําหรือไม่ให้ทําก็ได้

49. “ตกหลุมรักสาวพัทยา ก็เธอช่างสวยเกินจะจินตนา” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ประโยคคําถาม
(2) ประโยคบอกเล่า
(3) ประโยคคําสั่ง
(4) ประโยคขอร้อง
ตอบ 2 หน้า 103 – 104 (62204) 90 – 91, 93 – 94 (H) ประโยคบอกเล่า คือ ประโยคที่บอกเล่า เรื่องราวตามธรรมดา ซึ่งอาจใช้ในทางตอบรับหรือตอบปฏิเสธก็ได้ เช่น ไปแล้วจ้า, ไม่ได้ไปค่ะ ฯลฯ แต่บางครั้งประโยคที่มีคําแสดงคําถามว่า “ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร” อาจจะใช้ในประโยคบอกเล่าก็ได้ หากไม่ได้แสดงความสงสัยหรือไม่ได้ต้องการคําตอบ แต่จะเป็นการ กล่าวถึงสิ่งต่าง ๆ โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง

50. “ไปเที่ยวเล่นเห็นอ้ายอะไรมิรู้ ดําทั้งตัวหัวหูมันดูขัน” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ประโยคคําถาม
(2) ประโยคขอร้อง
(3) ประโยคบอกเล่า
(4) ประโยคคําสั่ง
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 49. ประกอบ

51. “กรุณาสวมหน้ากากอนามัย หรือหน้ากากผ้าในการเดินทางรถไฟ” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ประโยคบอกเล่า
(2) ประโยคขอร้อง
(3) ประโยคคําสั่ง
(4) ประโยคคําถาม
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 47. ประกอบ

52. ข้อความใดปรากฏคําสรรพนามบุรุษที่ 2
(1) รู้ได้ไงฉันมีพิรุธ
(2) พูดแบบนี้หล่อนมีพิรุธนะ
(3) รู้ไหม ใครฆ่าอารยา
(4) พยูนเขาไม่ได้ฆ่า
ตอบ 2 หน้า 112 – 113 (62204) 99 (H) สรรพนามบุรุษที่ 2 คือ คําที่ใช้แทนตัวผู้ที่พูดด้วย เช่น คุณ เธอ ท่าน เรา หล่อน เจ้า แก เอ็ง ถึง ฯลฯ นอกจากนี้ยังอาจใช้คํานามอื่น ๆ แทนตัวผู้ที่ พูดด้วย เพื่อแสดงความสนิทสนมรักใคร่ ได้แก่
1. ใช้ตําแหน่งเครือญาติแทน เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง ลูก ตา ยาย ปู่ ย่า ฯลฯ
2. ใช้ตําแหน่งหน้าที่แทน เช่น ครู อาจารย์ หัวหน้า ฯลฯ
3. ใช้เรียกบรรดาศักดิ์แทน เช่น ท่านขุน คุณหลวง เจ้าคุณ คุณหญิง ฯลฯ
4. ใช้ชื่อผู้พูดทั้งชื่อเล่นชื่อจริงแทน เช่น คุณสมบัติ คุณสมศรี คุณสมร นุช แดง ฯลฯ

53. ข้อใดใช้คําสรรพนามที่บอกความชี้เฉพาะ
(1) ที่นี่คือห้องสอบ
(2) ใครคนหนึ่งคนนั้น
(3) วันเกิดฉันปีนี้
(4) นี่คือความจริง
ตอบ 4 หน้า 111, 115 – 116 (62204), 99 (H) สรรพนามที่แสดงความเฉพาะเจาะจง ได้แก่ “นี้ นั้น โน้น นี่ นั่น โน่น” ซึ่งคําทั้งหมดนี้ใช้แทนสิ่งที่พูดถึง อะไรก็ได้เพราะไม่ได้ระบุชื่อ ในขณะนั้น และต้องไม่มีคํานามอยู่ข้างหน้า นอกจากนี้คําว่า “นั่นนี่” ยังใช้สร้างคําใหม่ โดยมากจะเป็นคําอุทาน ซึ่งแต่ละคําก็มีความหมายเฉพาะอย่างหนึ่ง ๆ ต่างกันไป ได้แก่ “นั่นแน่ นั่นแน่ะ นั่นซี นั่นแหละ นี่ซิ นี่แหละ นั่นไง นั่นเป็นไง”

54. ข้อใดมีคํากริยาช่วยที่บอกเวลาต่างจากข้ออื่น
(1) ฉันกําลังจะไปพอดี
(2) เธอหายป่วยแล้ว
(3) เขาได้วางแผนครบถ้วน
(4) ป้าได้รับพัสดุแล้ว
ตอบ 1 หน้า 2, 121-123 7-8, 123 (62204), 7 – 8, 100 – 101 (H) การแสดงกาล คือ การแสดงให้รู้ว่า กริยานั้นกระทําเมื่อไร ซึ่งนอกจากจะต้องอาศัยกริยาช่วยเพื่อบอกกาลเวลาที่ต่างกันแล้ว เช่น คําว่า “จะกําลังจะ” (บอกอนาคต), “กําลัง/อยู่” (บอกปัจจุบัน), “ได้แล้ว” (บอกอดีต) ฯลฯ ก็ยังมีคํากริยาวิเศษณ์หรือกริยาบางคําที่ช่วยแสดงกาล โดยอาศัยเหตุการณ์และสภาพแวดล้อม เป็นเครื่องชี้ ดังนี้
1. บอกปัจจุบัน ได้แก่ เดี๋ยวนี้ ขณะนี้ ตอนนี้ วันนี้ ฯลฯ
2. บอกอนาคต ได้แก่ พรุ่งนี้ มะรืนนี้ ปีหน้า เดือนหน้า เร็ว ๆ นี้ ฯลฯ
3. บอกอดีต ได้แก่ เมื่อวานนี้ เมื่อก่อนนี้ เมื่อวันก่อน เมื่อปีก่อน เพิ่งมา ฯลฯ

55. คํากริยาช่วยในข้อใดไม่แสดงการคาดคะเน
(1) เราควรจะช่วยกันป้องกันโรคนี้
(2) ปีหน้าคงจะได้มาพบกัน
(3) โควิดน่าจะเบาบางลงบ้าง
(4) สถานการณ์อาจจะดีขึ้น
ตอบ 1 หน้า 123 — 126 (62204) 101 (H) คําที่บอกมาลา (แสดงภาวะหรือแสดงอารมณ์) อาจจะ ใช้กริยาช่วย ได้แก่ คง จึง ควร จง ต้อง อาจ โปรด ย่อม เห็นจะ ฯลฯ มาช่วยแสดง หรือใช้คําอื่น ๆ ได้แก่ น่า นา เถอะ เถิด ซิ ซี ซินะ นะ น่ะ ละ ล่ะ เล่า หรอก ดอก ฯลฯ เช่น เราควรจะช่วยกันป้องกันโรคนี้ (แสดงความเห็นในทางที่ถูกหรือเหมาะสม) เป็นต้น (ส่วนคําว่า “คงจะ น่าจะอาจจะ” ใช้แสดงการคาดคะเน

56. “ดีชั่วอยู่ที่ตัวทํา สูงต่ําอยู่ที่ทําตัว” ประโยคนี้ใช้คําคุณศัพท์ประเภทใด
(1) บอกภาวะ
(2) บอกความแบ่งแยก
(3) บอกความชี้เฉพาะ
(4) บอกลักษณะ
ตอบ 4 หน้า 130 (62204), 102 (H) คําคุณศัพท์ที่บอกลักษณะหรือบอกภาวะ (ลักษณคุณศัพท์) สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
1. บอกลักษณะ ได้แก่ สูง ต่ํา ดํา ขาว ดี ชั่ว เลว งาม สวย น่ารัก แข็ง อ่อน อ้วน ผอม ล่ำสัน กํายํา อดทน ฯลฯ
2. บอกภาวะ ได้แก่ เจ็บ ป่วย ตาย เป็น หัก พัง บิน แตก เซ เดาะ ทรุด บอบช้ำ ฟกช้ำ เอียง เท เหี่ยวเฉา ร่วงโรย ฯลฯ ซึ่งบางคําอาจใช้เป็นคํากริยาได้

57. ข้อใดใช้คําวิเศษณ์ขยายกริยาบอกความแบ่งแยก
(1) ทําข้อสอบพลางก็คิดไปพลาง
(2) ทําข้อสอบอย่างง่าย
(3) อยากตอบอะไรก็ได้ตามใจ
(4) จะตอบอยู่แล้วทีเดียว
ตอบ 1 หน้า 139 (62204), 103 (H) คํากริยาวิเศษณ์บอกความแบ่งแยก ได้แก่ บ้าง ด้วย พลาง กัน ต่าง ต่าง ๆ ต่างหาก เช่น ท่าข้อสอบพลางก็คิดไปพลาง (ทํากริยา 2 อย่างไปพร้อมกัน) เป็นต้น

58. ข้อใดใช้คําบุรพบทไม่ถูกต้อง
(1) อวยพรแก่ผู้ใหญ่
(2) ได้ยินกับหู
(3) ถวายของแด่พระสงฆ์
(4) เรามาทํางานแต่เช้า
ตอบ 1 หน้า 145 – 146 (62204), 105 – 106 (H) คําบุรพบทที่แสดงการให้และรับ มีดังนี้
1. คําว่า “แก่” ใช้เมื่อผู้รับมีศักดิ์ต่ํากว่าหรือเยาว์วัยกว่า เช่น แม่ซื้อเสื้อให้แก่ลูก ฯลฯ
2. คําว่า “แต่” ใช้เมื่อผู้รับเป็นผู้ที่เคารพนับถือ ผู้อาวุโส หรือผู้ที่สูงศักดิ์กว่า เช่น ทําบุญอุทิศ ส่วนกุศลแด่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ, ถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสงฆ์, อวยพรแด่ผู้ใหญ่ ฯลฯ
3. คําว่า “ต่อ” ใช้นําหน้าความที่เป็นผู้รับต่อหน้า เผชิญหน้า หรือซึ่งหน้า เช่น นายอําเภอให้ไป ยื่นฟ้องต่อศาล ฯลฯ

59. คําว่า “เมื่อ” ในข้อใดเป็นคําสันธาน
(1) เมื่อฉันถึงบ้าน แม่ก็มารอรับพอดี
(2) เมื่อวันก่อน ฉันมาถึงกรุงเทพฯ
(3) ฉันกลับต่างจังหวัดเมื่อวานนี้
(4) เมื่อวันปีใหม่ฉันไปไหว้พระ
ตอบ 1 หน้า 153 — 155 (62204), 106, 108 (H) คําสันธานที่เชื่อมความคล้อยตามกัน ทํานองเดียวกัน ไม่ขัดแย้งกัน โดยทําหน้าที่เชื่อมความที่เกี่ยวกับเวลา ได้แก่ ก็, แล้ว…ก็, แล้ว…จึง ครั้น…ก็ เมื่อ เมื่อ…ก็, ครั้น….จึง, เมื่อ…จึง, พอ….ก็ ส่วนที่ทําหน้าที่เชื่อมความให้สอดคล้อง หรือรวมเข้าด้วยกัน ได้แก่ ทั้ง ทั้ง…ก็ ทั้ง…และ, ก็ได้, ก็ดี, กับ, และ

60.“ถ้าได้แต่งงาน ฝันอยากจะมีลูกชาย คงหล่อหลาย ๆ เพราะว่าลูกชายได้แม่มันมา” ข้อความนี้ใช้คําสันธานชนิดใด
(1) เชื่อมความขัดแย้งกัน เชื่อมความคล้อยตามกัน
(2) เชื่อมความคล้อยตามกัน เชื่อมความให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง
(3) เชื่อมความเปรียบเทียบกัน เชื่อมความไม่สละสลวย
(4) เชื่อมความคาดคะเน, เชื่อมความที่เป็นเหตุเป็นผล
ตอบ 4 หน้า 156 – 157 (62204) 106 – 107 (H) ข้อความข้างต้นใช้คําสันธาน 2 ชนิด ได้แก่
1. คําสันธานที่เชื่อมความคาดคะเนหรือแบ่งรับแบ่งสู้ ได้แก่ ถ้า, หาก, ถ้าหากว่า, ถ้า….ก็ ถ้า…จึง, แม้…แต่ แม้ว่า, เว้นแต่, นอกจาก
2. คําสันธานที่เชื่อมความเป็นเหตุเป็นผลกัน ได้แก่ เพราะ, เพราะว่า ด้วย, ด้วยว่า เหตุว่า อาศัยที่, ค่าที่, เพราะฉะนั้น ดังนั้น จึง, เลย, เหตุฉะนี้

61. คําใดใช้คําลักษณนามเดียวกับคําว่า “ถนน”
(1) ลําธาร
(2) สะพาน
(3) เหล็ก
(4) ไม้กวาด
ตอบ 1 หน้า 160 – 165 (62204), 109 – 110 (H) คําลักษณนาม คือ คําที่ตามหลังคําบอกจํานวนนับ เพื่อบอกรูปลักษณะและชนิดคํานามที่อยู่ข้างหน้าคําบอกจํานวนนับ มักจะเป็นคําพยางค์เดียว แต่เป็นคําที่สร้างขึ้นมาใหม่โดยอาศัยการอุปมาเปรียบเทียบ การเลียนเสียงธรรมชาติ การเทียบ แนวเทียบ และการใช้คําซ้ำกับคํานามนั้นเอง (กรณีที่ไม่มีลักษณนามโดยเฉพาะ) ได้แก่
1. ถนน/ลําธาร (สาย)
2. สะพาน (สะพาน)
3. เหล็กเส้น (เส้น)
4. ไม้กวาด (อัน/กํา)
5. เตารีดไฟฟ้า (อ้น)
6. บัตรประชาชน (ฉบับ)
7. ตั๋วเงิน (ฉบับ/ใบ)
8. เกวียน (เล่ม)
9. กุนเชียง (ข้าง/คู่) ฯลฯ

62. ข้อใดคือคําลักษณนามของคําว่า “เตารีดไฟฟ้า”
(1) ตัว
(2) ใบ
(3) อัน
(4) ลูก
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 61. ประกอบ

63. ข้อใดใช้คําลักษณนามผิด
(1) บัตรประชาชน 1 ฉบับ
(2) ตั๋วเงิน 3 ฉบับ
(3) เกวียน 2 คัน
(4) กุนเชียง 1 ข้าง
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 61. ประกอบ

64. คําอุทานในข้อใดแสดงอารมณ์ต่างจากข้ออื่น
(1) ชิชะมนุษย์นี้สามารถ องอาจจองถนนด้วยภูผา
(2) อนิจจาไม่รู้ว่ายังไรเลย พุทโธ่เอ๋ยเหมือนจะเป็นสะเป็นกัน
(3) เหวยเหวยท้าวยศวิมล นอนกรนอยู่ได้ไม่ขานรับ
(4) อุเหม่ตาเฒ่านี้เจ้าเล่ห์ เฉโกโว้เว้หนักหนา
ตอบ 2 หน้า 158 – 160 (62204), 109 (H) คําอุทาน คือ คําที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ต่าง ๆ ซึ่งคําอุทานบางคําก็กําหนดไม่ได้ว่าคําไหนใช้แสดงอารมณ์อะไรแน่นอน แล้วแต่การออกเสียง และสถานการณ์ เช่น คําว่า “อุเหม่/เหม่เหม่/ดูดู๋/เหวยเหวย/ชิชะ/ฮึ” แสดงอารมณ์โกรธหรือ ไม่ชอบใจ, “โธ่ถัง/พุทโธ่เอ๋ย/โถ/อนิจจา” แสดงอารมณ์เสียใจหรือสงสาร เป็นต้น

65. “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว……………ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย ประธาน กรรมการมูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน….”ข้อความนี้ควรใช้คําใดเติมในช่องว่าง
(1) โอกาส, เฝ้าทูลละอองพระบาท
(2) ประทานพระวโรกาส, เฝ้าทูลละอองพระบาท
(3) พระราชทานพระบรมราชวโรกาส, เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท
(4) วโรกาส, เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท
ตอบ 3 คําว่า “โอกาส” และ “วโรกาส” เป็นคําที่มีความหมายไปในทางเดียวกัน แต่คําว่า “วโรกาส” ใช้เฉพาะเมื่อขอโอกาสจากพระมหากษัตริย์ และถ้าพระมหากษัตริย์ให้โอกาสจะใช้ราชาศัพท์ว่า “พระราชทานพระบรมราชวโรกาส”, คําว่า “เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท” = เข้าพบ รับเสด็จฯ/ถวายการต้อนรับ ใช้กับพระมหากษัตริย์ และพระราชินี

66. “วันที่ 23 ตุลาคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี……. ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต” ข้อความนี้ควรใช้คําใดเติมในช่องว่าง
(1) ทรงเสด็จออก
(2) เสด็จ
(3) เสด็จพระราชดําเนิน
(4) เสด็จออก
ตอบ 3 เสด็จพระราชดําเนิน (เสด็จฯ) = เดินทางไปโดยยานพาหนะ

67. “หนังสือเรื่องนิทานโบราณคดี เป็น……สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ”ข้อความนี้ควรใช้คําใดเติมในช่องว่าง
(1) พระบวรราชนิพนธ์
(2) นิพนธ์
(3) พระราชนิพนธ์
(4) พระนิพนธ์
ตอบ 4 ผลงานการประพันธ์ของพระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้า จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า จะใช้ราชาศัพท์ว่า “พระนิพนธ์” (ส่วนคําว่า “พระราชนิพนธ์” ใช้กับผลงานประพันธ์ของ พระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระราชวงศ์ลําดับที่ 2, “นิพนธ์” ใช้กับผลงานประพันธ์ของพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้า)

68. “ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย และคณะ……..หนังสือสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน จํานวน 1 ชุด” ข้อความนี้ควรใช้คําใดเติมในช่องว่าง
(1) ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย
(2) น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย
(3) ทรงถวาย
(4) ถวาย
ตอบ 1 หน้า 176 (62204), 116 (H) ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ทูลเกล้าฯ ถวาย) = ถวายสิ่งของขนาดเล็ก (ของที่ยกได้) หรือถวายสิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น ทูลเกล้าฯ ถวายเงิน, ทูลเกล้าฯ ถวาย หนังสือ ฯลฯ ส่วนน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย น้อมเกล้าฯ ถวาย) = ถวายสิ่งของขนาดใหญ่ (ของที่ยกขึ้นไม่ได้) หรือถวายสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดิน, น้อมเกล้าฯ ถวาย รถพยาบาล, น้อมเกล้าฯ ถวายพระพร ฯลฯ

69. “วันที่ 24 กันยายน เป็นวันมหิดล วันคล้ายวัน…..ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม
พระบรมราชชนก” ข้อความนี้ควรใช้คําใดเติมในช่องว่าง
(1) สิ้นชีพิตักษัย
(2) สวรรคต
(3) ทิวงคต
(4) สิ้นพระชนม์
ตอบ 2 คําว่า “ตาย” นั้น ในกรณีของสมเด็จพระบรมราชชนก เมื่อสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 7 จะต้อง ใช้ราชาศัพท์ว่า “สิ้นพระชนม์” แต่ในรัชกาลปัจจุบันได้โปรดให้สถาปนาพระอัฐิขึ้นเป็นสมเด็จ พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ซึ่งทรงรับพระสัปตปฎลเศวตฉัตรแล้ว จึงให้เปลี่ยนมาใช้ราชาศัพท์ว่า “สวรรคต” แทน

70. “หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ……….ด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538 ณ โรงพยาบาล
สมิติเวช” ข้อความนี้ควรใช้คําใดเติมในช่องว่าง
(1) พิราลัย
(2) ถึงแก่อสัญกรรม
(3) สิ้นชีพิตักษัย
(4) สิ้นพระชนม์
ตอบ 2 ถึงแก่อสัญกรรม = ตาย ใช้กับผู้ตายที่มีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยา หรือผู้ดํารงตําแหน่ง ประธานองคมนตรี องคมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานสภา ฯลฯ (หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ดํารงตําแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 13 ของประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2518)

ข้อ 71 – 80. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคําถาม โดยให้สัมพันธ์กับข้อความที่ให้อ่าน

ข้าวกล้อง คือ ข้าวที่ผ่านการกะเทาะเอาเปลือกออกด้วยการขัดสีเพียงครั้งเดียว จึงมีสีขาวขุ่น และยังคงมีจมูกข้าวและเยื่อหุ้มเมล็ดข้าว (รํา) อยู่ ซึ่งเป็นส่วนที่มีคุณค่าอาหาร เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย

สารอาหารที่มีอยู่ในข้าวกล้อง ได้แก่ เกลือแร่ วิตามิน และยังให้พลังงานมากกว่าข้าวขาวที่ ขัดสีแล้ว แต่ผู้บริโภค โดยเฉพาะวัยรุ่น…วัยจ๊าบ มักไม่ชื่นชอบในการเปิบสักเท่าไหร่ เนื่องจากสีสันและ รสชาติที่ไม่คุ้นลิ้น….

นายประสิทธ์ ไชยประเสริฐ หรือกล้อง นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้สร้างไอเดีย “ข้าวกล้องกรอบ ปรุงรส” ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวแปรรูปใหม่จากข้าวกล้องมีรสชาติดี ทั้งยังมีสรรพคุณป้องกันโรคอีกด้วย นอกจากที่มีคุณค่าทางโภชนาการแล้ว ราคายังถูกกว่าข้าวขาว

หนุ่มกล้อง เล่าว่า ข้าวกล้องกรอบปรุงรส คือ การนําเอาข้าวกล้องที่เหลือจากการรับประทาน มาแปรรูปใหม่ ดีกว่าการนําไปทิ้งโดยไม่มีประโยชน์ ซึ่งข้าวกล้องช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจ ป้องกัน มะเร็งลําไส้ นอกจากนี้การบริโภคข้าวกล้องจะทําให้รู้สึกอิ่มเร็วและอิ่มนาน เพราะมีใยอาหารมากกว่าข้าวขาว และได้รับประโยชน์เพิ่มมากขึ้น จึงมีการเพิ่มเมล็ดธัญพืชลงไปด้วย เช่น งาขาว, งาดํา, เมล็ดฟักทอง และเมล็ดทานตะวัน

สําหรับส่วนผสมสําหรับข้าวกล้องกรอบปรุงรส ข้าวกล้อง 60 กรัม น้ําปลา 5 กรัม น้ำตาลปี๊บ 30 กรัม น้ำมะขามเปียก 20 กรัม พริกป่น 2.5 กรัม แบะแซ 30 กรัม งาดํา งาขาว เมล็ดทานตะวันและ เมล็ดฟักทอง 15 กรัม

นายประสิทธ์ เล่าต่อว่า วิธีทําเริ่มจากนําข้าวกล้องที่เหลือไปอบตู้ลมร้อนในอุณหภูมิ 60 องศา เซลเซียส ประมาณ 1 ชั่วโมง จนแห้งสนิท หรือหากไม่มีตู้อบ ใช้วิธีการโบราณดั้งเดิม คือ ตากแดด 3 – 4 วัน จากนั้นนําข้าวกล้องที่ได้ นําไปทอดในน้ำมันที่ร้อนเต็มที่ กระทั่งมีสีเหลืองจึงตักขึ้น ก่อนนําน้ําปลา น้ําตาลปี๊บ น้ํามะขามเปียก พริกป่น และแบะแซ ผสมรวมกันเทลงในกระทะ เคี่ยวไฟปานกลางจนน้ําปรุง เป็นยางมะตูม ลดไฟลงแล้วผสมข้าวกล้องและธัญพืชรวมกัน

ก่อนจะนําไปคลุกกับน้ำปรุงรสที่เคี่ยวจนเข้ากัน ตั้งไว้จนอุ่น นํามาขึ้นรูปเป็นก้อนกลมในปริมาณ
ก้อนละ 5 กรัม พักไว้ให้เย็นเท่านี้ก็นํามาเปิบได้แล้ว….

ข้าวกล้องกรอบปรุงรส เป็นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจที่สามารถทํารับประทานภายในครอบครัว หรือแม่บ้านคนไหนสนใจทําขายได้ก็ไม่จน กลิ้งกว้างได้ที่ 080-758-5165 ซึ่งหนุ่มกล้อง เจ้าของไอเดีย
บอกอีกว่า…ไม่คิดค่าลิขสิทธิ์แต่อย่างใด…!!!

71. ข้อความที่ให้อ่านจัดเป็นวรรณกรรมประเภทใด
(1) ข่าว
(2) บทความ
(3) เรียงความ
(4) บทวิเคราะห์
ตอบ 2 (คําบรรยาย) บทความ คือ งานเขียนที่มีการนําเสนอข้อมูลที่ได้มาจากเอกสารทางวิชาการ หรือผลงานการวิจัย ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็นเพื่อให้ข้อมูลหรือความรู้ และมีการสรุป ให้เห็นความสําคัญของเรื่อง พร้อมทั้งเสนอข้อคิดให้ผู้อ่านนําไปพิจารณา

72. โวหารการเขียนเป็นแบบใด
(1) บรรยาย
(2) อธิบาย
(3) อภิปราย
(4) พรรณนา
ตอบ 2 หน้า 72 (54351), (คําบรรยาย) โวหารเชิงอธิบาย คือ โวหารที่ใช้ในการชี้แจงเพื่อให้ผู้อ่าน เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างชัดเจนแจ่มแจ้ง ซึ่งเป็นการให้ความรู้หรือข้อมูลแต่เพียงด้านเดียว อาจจะเป็นด้านบวกหรือด้านลบก็ได้ โดยมีการชี้แจงแสดงเหตุและผล การยกตัวอย่างประกอบการเปรียบเทียบ และการจําแนกแจกแจง เช่น การอธิบายความหมายของคํา กฎเกณฑ์ ทฤษฎี และวิธีการต่าง

73, จุดประสงค์ของผู้เขียนคืออะไร
(1) โฆษณา
(2) สื่อความรู้
(3) ส่งเสริมรายได้
(4) ประชาสัมพันธ์
ตอบ 3 ผู้เขียนมีจุดประสงค์ในการนําเสนอ คือ เพื่อส่งเสริมรายได้ให้กับแม่บ้านหรือผู้ที่สนใจนําสูตร
ข้าวกล้องปรุงรสไปทําขายได้

74. จุดเด่นของข้าวกล้องปรุงรสคืออะไร
(1) พบทางรวยได้ง่าย ๆ
(2) เพิ่มรายได้จากของเหลือ
(3) ต้นกล้าอาชีพมีมากมาย
(4) หลากหลายความคิดพิชิตความจน
ตอบ 2 จุดเด่นของข้าวกล้องปรุงรส คือ การนําเอาข้าวกล้องที่เหลือจากการรับประทานมาแปรรูป
เสียใหม่ เพื่อเพิ่มรายได้จากของเหลือ

75. ท่วงทํานองเขียนเป็นแบบใด
(1) ภาษาเขียนที่เรียบง่าย
(2) ภาษาเขียนที่กระชับรัดกุม
(3) มีทั้งภาษาเขียน ภาษาพูด และภาษาปาก
(4) เป็นภาษาแบบแผนที่สละสลวย เข้าใจง่าย
ตอบ 3 หน้า 58 (54351) ผู้เขียนใช้ท่วงทํานองเขียนแบบเรียบง่าย คือ ท่วงทํานองเขียนที่ใช้คําง่าย ๆ ชัดเจน การผูกประโยคไม่ซับซ้อน ทําให้อ่านง่ายและเข้าใจได้ทันที โดยไม่ต้องเสียเวลาในการ ขบคิดมากนัก แต่จะมีทั้งการใช้ภาษาเขียน ภาษาพูด และภาษาปากปะปนกัน

76. ข้อใดเรียงลําดับถูกต้องเมื่อกล่าวถึงรสชาติของข้าวกล้องปรุงรสจากมากไปน้อย
(1) เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม เผ็ด
(2) กรอบ เผ็ด เปรี้ยว เค็ม หวาน
(3) มัน หวาน เปรี้ยว เค็ม เผ็ด
(4) หวาน เค็ม เผ็ด เปรี้ยว มัน
ตอบ 3 จากข้อความ…. สําหรับส่วนผสมสําหรับข้าวกล้องกรอบปรุงรส ข้าวกล้อง 60 กรัม น้ําปลา 5 กรัม น้ำตาลปี๊บ 30 กรัม น้ํามะขามเปียก 20 กรัม พริกป่น 2.5 กรัม แบะแซ 30 กรัม งาดํา งาขาว เมล็ดทานตะวันและเมล็ดฟักทอง 15 กรัม

77. เหตุใดวัยรุ่นจึงไม่ใคร่ชอบข้าวกล้อง
(1) เลี่ยนเกินไป
(2) มีกากใยอาหารมาก
(3) ขาดรสชาติและสีสัน
(4) หาซื้อได้ยากกว่าข้าวขาว
ตอบ 3 จากข้อความ… สารอาหารที่มีอยู่ในข้าวกล้อง ได้แก่ เกลือแร่ วิตามิน และยังให้พลังงานมากกว่า ข้าวขาวที่ขัดสีแล้ว แต่ผู้บริโภค โดยเฉพาะวัยรุ่น….วัยจ๊าบ มักไม่ชื่นชอบในการเป็นสักเท่าไหร่ เนื่องจากสีสันและรสชาติที่ไม่คุ้นลิ้น….

78. แนวคิดหลักของข้อความดังกล่าวคืออะไร
(1) ของดีมีคุณค่าอยู่ใกล้ตัวเรา
(2) เครื่องปรุงไทยทําได้ทั้งอาหารและขนม
(3) ประโยชน์ทางการแพทย์ที่คาดไม่ถึง
(4) คุณค่าทางโภชนาการและรายได้จากของที่ถูกมองข้าม
ตอบ 4 (คําบรรยาย) แนวคิดหลัก (Theme) คือ สารัตถะ แก่นเรื่อง หรือสาระสําคัญของเรื่องที่ผู้เขียน มุ่งจะสื่อถึงผู้อ่าน เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับชื่อเรื่อง โดยจะมีใจความครอบคลุมรายละเอียด ทั้งหมดและมีลักษณะเป็นนามธรรม ซึ่งแนวคิดหลักหรือสารัตถะสําคัญของเรื่องนี้ ได้แก่ คุณค่า ทางโภชนาการและรายได้จากของที่ถูกมองข้าม

79. สิ่งใดที่สามารถใช้สิ่งอื่นทดแทนกันได้
(1) สัดส่วน
(2) วิธีการ
(3) เครื่องปรุง
(4) ส่วนผสม
ตอบ 2 จากข้อความ… นายประสิทธ์ เล่าต่อว่า วิธีทําเริ่มจากนําข้าวกล้องที่เหลือไปอบตู้ลมร้อนใน อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ประมาณ 1 ชั่วโมง จนแห้งสนิท หรือหากไม่มีตู้อบ ใช้วิธีการโบราณดั้งเดิม คือ ตากแดด 3 – 4 วัน…

80. ข้อใดเรียงลําดับประเภทของคําต่อไปนี้อย่างถูกต้อง กรี๊งกร๊าง แบะแซ สารอาหาร
(1) คําร่วมสมัย คําโบราณ คําล้ำสมัย
(2) ภาษาพูด ภาษาปาก ภาษาเขียน
(3) ภาษาปาก คําทับศัพท์ ศัพท์บัญญัติ
(4) ภาษาถึงแบบแผน ภาษาไม่เป็นแบบแผน ภาษาแบบแผน
ตอบ 3 หน้า 8 – 9 (54351), 123 – 125 (H) จากโจทย์สามารถเรียงลําดับคําที่ถูกต้อง ดังนี้
1. ภาษาปากหรือคําตลาด คือ คําที่ใช้พูดกันทั่วไป เช่น กรี๊งกร๊าง
2. คําทับศัพท์ คือ คําภาษาต่างประเทศที่นํามาใช้ในภาษาไทย โดยมีการถ่ายเสียงให้ใกล้เคียง ภาษาเดิมมากที่สุด เช่น แบะแซ (มาจากภาษาจีน)
3. คําศัพท์บัญญัติ หรือคําเฉพาะวิชา คือ คําศัพท์ที่ราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติขึ้นมาจาก ภาษาต่างประเทศ เพื่อกําหนดใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนเอกสารของทางราชการและ การเรียนการสอนสาขาวิชาแขนงหนึ่งแขนงใดโดยเฉพาะ เช่น สารอาหาร (Nutrient)

81. ข้อใดเป็นสํานวนทั้งหมด
(1) สองหน้า, ลมเพลมพัด, น้ำลดตอผุด
(2) ร้อนอาสน์, ล้มมวย, หนอนหนังสือ
(3) ผีพลอย, นายว่าขี้ข้าพลอย, ทํานาบนหลังคน
(4) เฒ่าหัวงู, งมเข็มในมหาสมุทร, รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ
ตอบ 2 หน้า 119 – 121 (H) ข้อแตกต่างของสํานวน คําพังเพย และสุภาษิต มีดังนี้
1. สํานวน หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นอย่างกะทัดรัด ใช้คําน้อยแต่กินความหมายมาก และเป็นความหมายโดยนัยหรือโดยเปรียบเทียบ เช่น ร้อนอาสน์ (มีเรื่องเดือดร้อน ทําให้อยู่เฉย ไม่ได้), ล้มมวย (สมยอม หรือทําให้สมยอมกันในทางที่ไม่สุจริต), หนอนหนังสือ (คนที่ชอบ หมกมุ่นอยู่กับการอ่านหนังสือ), สองหน้า (ทําตัวให้ทั้ง 2 ฝ่าย ต่างเข้าใจผิดกัน โดยมุ่งหวัง ประโยชน์เพื่อตน), ลมเพลมพัด (อาการที่เจ็บป่วยโดยไม่รู้สาเหตุ มักเข้าใจกันว่าถูกกระทํา), เฒ่าหัวงู (คนแก่เจ้าเล่ห์) เป็นต้น

2. คําพังเพย หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อตีความ สรุปเหตุการณ์ สภาวการณ์ บุคลิก และอารมณ์ให้เข้ากับเรื่อง มีความหมายกลาง ๆ ไม่เน้นการสั่งสอน แต่แฝงคติเตือนใจให้ นําไปปฏิบัติหรือไม่ให้นําไปปฏิบัติ เช่น น้ําลดตอผุด (เมื่อหมดอํานาจ ความชั่วที่ได้ทําเอาไว้ ก็ปรากฏ), งมเข็มในมหาสมุทร (ค้นหาสิ่งที่ยากจะค้นหาได้), ผีซ้ําพลอย (ถูกซ้ำเติมเมื่อ พลาดพลั้ง), นายว่าขี้ข้าพลอย (พลอยพูดผสมโรง ติเตียนผู้อื่นตามนายไปด้วย), ทํานาบน หลังคน (หาผลประโยชน์ใส่ตนโดยขูดรีดผู้อื่น) เป็นต้น

3. สุภาษิต หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อสั่งสอนโดยตรง ซึ่งอาจเป็นคติ ข้อติติง คําจูงใจ หรือคําห้าม และเนื้อความที่สั่งสอนก็เป็นความจริง เป็นความดีที่ยอมรับกันโดยทั่วไป เช่น รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ (รักจะอยู่ด้วยกันนาน ๆ ให้ตัดความโกรธอาฆาตพยาบาทออกไป แต่ถ้ารักจะอยู่กันสั้น ๆ ก็ต่อความโกรธไว้) เป็นต้น

82. ข้อใดเป็นคําพังเพยทั้งหมด
(1) สองหน้า, ลมเพลมพัด, น้ําลดตอผุด
(2) ผีพลอย, นายว่าขี้ข้าพลอย, ทํานาบนหลังคน
(3) เฒ่าหัวงู, งมเข็มในมหาสมุทร, รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ
(4) ร้อนอาสน์, ล้มมวย, หนอนหนังสือ
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 81. ประกอบ

83. ข้อใดเรียงลําดับถูกต้องตั้งแต่สํานวน คําพังเพย และสุภาษิต
(1) ผีพลอย, นายว่าขี้ข้าพลอย, ทํานาบนหลังคน
(2) เฒ่าหัวงู, งมเข็มในมหาสมุทร, รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ
(3) ร้อนอาสน์, ล้มมวย, หนอนหนังสือ
(4) สองหน้า, ลมเพลมพัด, น้ำลดตอผุด
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 81. ประกอบ

84. “คว่ำบาตร” ตรงกับข้อใด
(1) สะดวก ไม่ยุ่งยาก
(2) ดีแต่พูดแต่ทําไม่ได้
(3) ล้มคว่ำลงอย่างไม่เป็นท่า
(4) ไม่ยอมคบค้าสมาคมด้วย
ตอบ 4 คว่ำบาตร – ไม่ยอมคบค้าสมาคมด้วย

85. ข้อใดมีความหมายไม่ตรงกับสํานวนว่า “สองสลึงเฟื่อง”
(1) ไม่รอบคอบ
(2) บ้าๆ บอ ๆ
(3) ไม่เต็มบาท
(4) ไม่เต็มเต็ง
ตอบ 1 สองสลึงเฟือง – บ้า ๆ บอ ๆ ไม่เต็มบาท ไม่เต็มเต็ง, มีสติไม่สมบูรณ์

86. “ขึ้นกบนปลายไม้” มีความหมายตรงกับข้อใด
(1) ชี้แนะแนวทางในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
(2) ลงทุนมาก ได้ผลประโยชน์เล็กน้อย
(3) หวังในสิ่งที่อยู่ไกลตัว
(4) ลงทุนไปได้ผลประโยชน์ไม่คุ้มทุน
ตอบ 3 ชิ้นกบนปลายไม้ = หวังในสิ่งที่อยู่ไกลตัว

87. ข้อใดมีคําที่สะกดผิดปรากฏอยู่ด้วย
(1) แบงก์ ผัดผ่อน โลกาภิวัตน์
(2) ผาสุก โน้ตดนตรี ผุดลุกผุดนั่ง
(3) รื่นรมย์ อานิสงส์ เบญจเพส
(4) หงส์ เลือกสรร ตระเวน
ตอบ 2 คําที่สะกดผิด ได้แก่ โน๊ตดนตรี ซึ่งที่ถูกต้องคือ โน้ตดนตรี

88. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา
(1) บังสุกุล กะทันหัน เลือดกบปาก
(2) ผลัดเวร กระเพรา มาตรการ
(3) กระทัดรัด บิณฑบาต เครื่องรางของขลัง
(4) กะทะ วิ่งผลัด อนุสาวรีย์
ตอบ 1 คําที่สะกดผิด ได้แก่ กระเพรา กระทัดรัด กะทะ
ซึ่งที่ถูกต้องคือ กะเพรา กะทัดรัด กระทะ

89. ข้อใดมีคําที่สะกดถูกสลับกับคําที่สะกดผิด
(1) คลินิก ปิกนิก เหล็กใน ศุลกากร
(2) เหล็กไหล กาบเรือ เผ่าพันธุ์ สวดมนตร์
(3) แบงค์ แท็กซี่ หมูหย็อง ช็อกโกแลต
(4) กงสุล โควตา กระจิริด ผลัดเปลี่ยน
ตอบ 2 คําที่สะกดผิด ได้แก่ กาบเรือ สวดมนตร์ แบงค์
ซึ่งที่ถูกต้องคือ กราบเรือ สวดมนต์ แบงก์

90. ข้อใดมีคําที่สะกดถูกขนาบคําที่สะกดผิด
(1) อิสรภาพ สี่เหลี่ยมจตุรัส ไอศกรีม
(2) เสื้อเชิ้ต อนุญาต รสชาติ
(3) จัดสรร สัมมนา บานเกล็ด
(4) ทะเลสาบ ไม่ไยดี ไม้ผลัดใบ
ตอบ 1 คําที่สะกดผิด ได้แก่ สี่เหลี่ยมจตุรัส ซึ่งที่ถูกต้องคือ สี่เหลี่ยมจัตุรัส

91. ข้อใดสะกดผิดทุกคํา
(1) ขนมคุกกี้ หลุดลุ่ย คลาคล่ำ
(2) มาตรฐาน หลงใหล อนุสาวรีย์ชัย
(3) ก้าวร้าว ขนมเค้ก เลิกรา
(4) อินทผาลัม มุขตลก ถนนราดยาง
ตอบ 4 คําที่สะกดผิด ได้แก่ อินทผาลัม มุขตลก ถนนราดยาง
ซึ่งที่ถูกต้องคือ อินทผลัม มุกตลก ถนนลาดยาง

92.“มัวแต่……..เลยไม่ได้ไปเที่ยวต่างประเทศในฤดู……เลย” ควรเติมคำใดลงในช่องว่าง
(1) ผลัดวันประกันพรุ่ง ใบไม้ผัดใบ
(2) ผัดวันประกันพรุ่ง ใบไม้ผลัดใบ
(3) ผลัดวันประกันพรุ่ง ใบไม้ผลัดใบ
(4) ผัดวันประกันพรุ่ง ใบไม้ผัดใบ
ตอบ 2 คําว่า “ผัดวันประกันพรุ่ง” – ขอเลื่อนเวลาออกไปครั้งแล้วครั้งเล่า “ผลัด” = เปลี่ยนแทนที่ เช่น ใบไม้ผลัดใบ ผลัดขน ผลัดเสื้อผ้า ผลัดเวร (ส่วนคําว่า “ผลัดวันประกันพรุ่ง/ใบไม้ผัดใบ เป็นคําที่เขียนผิด)

93. “วันนี้ฝนตก…….ข้าว……คงสดชื่นขึ้นมาได้” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) บ่อย ๆ นาปรัง
(2) บ่อย ๆ นาปลัง
(3) ปรอย ๆ นาปรัง
(4) ปรอย ๆ นาปลัง
ตอบ 3 คําว่า “ปรอย ๆ” = ที่ตกเป็นระยะ ๆ ไม่หนาเม็ด (ใช้กับฝน) เช่น ฝนตกปรอย ๆ, “นาปรัง” – นาที่ทําในฤดูแล้งนอกฤดูทํานา (ส่วนคําว่า “บ่อย ๆ / นาปลัง” เป็นคําที่เขียนผิด)

94.“แกง……..ไม่ต้องใส่ถั่ว……ลงไป” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) คั่ว คั่ว
(2) ขั้ว ขั้ว
(3) ขั้ว คั่ว
(4) คั่ว ขั้ว
ตอบ 1 คําว่า “คั่ว” = เรียกแกงกะทิชนิดหนึ่งคล้ายแกงเผ็ด แต่มีรสออกเปรี้ยวว่า แกงคั่ว, เอาสิ่งของใส่กระเบื้องหรือกระทะตั้งไฟให้ร้อนแล้วคนไปจนสุกหรือเกรียม เช่น คั่วถั่ว คั่วงา (ส่วนคําว่า
“ขั้ว” – ส่วนที่ต่อของก้านดอกไม้ ใบไม้ ผลไม้ และอื่น ๆ)

95.“สวัสดี……..เข้ามานั่งข้างในก่อน…………….” ควรเติมคำใดลงในช่องว่าง
(1) ค่ะ น่ะค่ะ
(2) ค่ะ นะคะ
(3) ค่ะ นะค่ะ
(4) คะ นะคะ
ตอบ 2 คําว่า “ค่ะ” = คําลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ในการบอกให้ทราบอย่างสุภาพ เช่น สวัสดีค่ะ ไปค่ะ, “คะ” – คําลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ต่อจากคําว่า “ซินะ” เพื่อแสดงความสุภาพ เช่น เชิญซิคะ เข้ามานั่งข้างในก่อนนะคะ (ส่วนคําว่า “น่ะค่ะ/นะค่ะ” เป็นคําที่เขียนผิด)

96. “ผู้ชุมนุมเข้าไป………การทํางานของเจ้าหน้าที่ แม้เจ้าหน้าที่จะ……………อย่างไรก็ไม่ได้ผล” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) ขัดขืน กัน
(2) กีดกัน กั้น
(3) ขัดขวาง กั้น
(4) กีดขวาง กัน
ตอบ 3 คําว่า “ขัดขวาง” = ทําให้ไม่สะดวก ทําให้ติดขัด, “กั้น” – กีดขวางหรือทําสิ่งกีดขวางเพื่อบัง คั่น หรือกันไว้ไม่ให้เข้ามา (ส่วนคําว่า “ขัดขืน” = ไม่ประพฤติตาม ไม่ทําตาม, “กัน” = กีดขวาง ไว้ไม่ให้เข้ามาหรือออกไป หรือไม่ให้เกิดมีขึ้น “กีดกัน” = กันไม่ให้ทําได้โดยสะดวก, “กีดขวาง” – ขวางกั้นไว้ ขวางเกะกะ)

97. “แถวนี้มีคนอยู่……..จึงต้องใส่กุญแจให้…….” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) แน่นหนา หนาแน่น
(2) แน่นหนา แน่นหนา
(3) หนาแน่น แน่นหนา
(4) หนาแน่น หนาแน่น
ตอบ 3 คําว่า “หนาแน่น” = คับคั่ง แออัด, “แน่นหนา” – มั่นคง แข็งแรง

98. “พอลูกแมว………ออกมาจากกล่อง กระต่ายก็………เข้าไปในโพรงใต้ดิน” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) ผุด ผุด
(2) ผุด ผลุบ
(3) ผลุบ ผลุด
(4) ผลุด ผลุบ
ตอบ 2 คําว่า “ผุด” คําว่า “ผุด” = ขึ้นมาให้ปรากฏ เช่น ปลาผุด ผุดลุกผุดนั่ง, “ผลุบ” = ที่ดําลง มุดลง หรือลับหาย เข้าไปโดยรวดเร็วทันที เช่น นกผลุบเข้ารัง หนูผลุบเข้าไปในรู (ส่วนคําว่า “ผลุด” = หลุดเข้าหรือ ออกโดยเร็ว มุดเข้าหรือออกโดยเร็ว, “ผับ” เป็นคําที่เขียนผิด)

99.“คนหลัง……..ปลูกเรือน………ตอ” ควรเติมคําใดลงในช่องว่าง
(1) คร่อม ค่อม
(2) ค่อม คอม
(3) ค่อม คร่อม
(4) คร่อม คร่อม
ตอบ 3 คําว่า “ค่อม” = เรียกหลังที่งอมากว่า หลังค่อม, “คร่อม” = ยงโย่ให้ของอยู่ใต้ตัว เช่น เอาตัว คร่อมไว้ นอนคร่อม หรือเอาสิ่งของ เช่น โต๊ะ/เก้าอี้ ตั้งในอาการเช่นนั้น เช่น วางโต๊ะคร่อมกองหนังสือ โดยปริยายหมายถึง ลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปลูกเรือนคร่อมตอ เป็นต้น

100. “เจ้าหน้าที่คุมสอบทําการเปิดระบบการสอบ” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(2) ใช้คําฟุ่มเฟือย
(3) วางส่วนขยายผิดที่
(4) ใช้คําขยายไม่ถูกต้อง
ตอบ 2 หน้า 18 – 19, 39 (54351) การใช้คําฟุ่มเฟือยหรือการใช้คําที่ไม่จําเป็นจะทําให้คําโดยรวม ไม่มีน้ำหนักและข้อความขาดความหนักแน่น ไม่กระชับรัดกุม เพราะเป็นคําที่ไม่มีความหมายอะไร แม้จะตัดออกไปก็ไม่ได้ทําให้ความหมายของข้อความนั้นเปลี่ยนแปลงไป แต่กลับทําให้ดูรุงรังยิ่งขึ้น เช่น เจ้าหน้าที่คุมสอบทําการเปิดระบบการสอบ (ใช้คําฟุ่มเฟือย) จึงควรแก้ไขเป็น เจ้าหน้าที่คุมสอบเปิดระบบการสอบ

101. “เรื่องนี้ถูกขอให้บรรยายในที่ประชุม” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ใช้คําฟุ่มเฟือย
(2) ใช้คําผิดความหมาย
(3) วางส่วนขยายผิดที่
(4) ใช้สํานวนต่างประเทศ
ตอบ 4 หน้า 126 (62204), 38 (54351) การใช้คําตามแบบภาษาไทย หมายถึง การทําให้ข้อความที่ผูกขึ้นมีลักษณะเป็นภาษาไทย ไม่เลียนแบบภาษาต่างประเทศ ซึ่งจะทําให้ข้อความกะทัดรัด เข้าใจง่าย และไม่เคอะเขิน เช่น เรื่องนี้ถูกขอให้บรรยายในที่ประชุม (ใช้สํานวนต่างประเทศ) ดังนั้นจึงควรแก้ไขเป็น เรื่องนี้ได้ขอให้บรรยายในที่ประชุม (คําว่า “ถูก” ในภาษาไทยมักใช้ใน ความหมายที่ไม่น่ายินดี เช่น เขาถูกลูกน้องทําร้าย น้องถูกหมากัด เธอถูกไล่ออก ฯลฯ)

102. “อาจารย์บรรยายให้นักศึกษาฟังเรื่องการใช้สํานวน” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) วางส่วนขยายผิดที่
(2) ใช้คํากํากวม
(3) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(4) ใช้คําฟุ่มเฟือย
ตอบ 1 หน้า 37 (54351) การเรียงลําดับประโยคให้ถูกที่ หมายถึง การวางประธาน กริยา กรรม และส่วนขยายให้ตรงตามตําแหน่ง เพราะถ้าหากวางไม่ถูกที่ก็จะทําให้ข้อความนั้นไม่ชัดเจนหรือมีความหมายไม่ตรงตามต้องการ เช่น อาจารย์บรรยายให้นักศึกษาฟังเรื่องการใช้สํานวน (วางส่วนขยายผิดที่ หรือใช้คําขยายไม่ถูกต้อง) จึงควรแก้ไขโดยวางส่วนขยายให้ถูกต้องเป็น อาจารย์บรรยายเรื่องการใช้สํานวนให้นักศึกษาฟัง

103. “ฉันไม่รู้จะตอบแทนเขาอย่างไรดี” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ใช้คําผิดความหมาย
(2) ใช้คํากํากวม
(3) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(4) วางส่วนขยายผิดที่
ตอบ 2 หน้า 11 (54351) การใช้คําที่มีความหมายหลายอย่างจะต้องคํานึงถึงถ้อยคําแวดล้อมด้วย เพื่อให้เกิดความแจ่มชัด ไม่กํากวม เนื่องจากคําชนิดนี้ต้องอาศัยถ้อยคําซึ่งแวดล้อมอยู่เป็น เครื่องช่วยกําหนดความหมาย เช่น ฉันไม่รู้จะตอบแทนเขาอย่างไรดี (ใช้คํากํากวม) จึงควรแก้ไขให้มีความหมายที่แน่ชัดลงไปเป็น ฉันไม่รู้จะตอบคําถามแทนเขาอย่างไรดี ฉันไม่รู้จะ ตอบแทนพระคุณเขาอย่างไรดี

104. “ห้องสอบที่เต็มไปด้วยนักศึกษา” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ใช้คํากํากวม
(2) วางส่วนขยายผิดที่
(3) ใช้คําฟุ่มเฟือย
(4) ใช้สํานวนต่างประเทศ
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 101. ประกอบ) ประโยคที่ว่า “ห้องสอบที่เต็มไปด้วยนักศึกษา” (ใช้สํานวน ต่างประเทศ) จึงควรแก้ไขให้มีลักษณะเป็นภาษาไทยได้ว่า นักศึกษาอยู่เต็มห้องสอบ

105. ประโยคใดใช้ภาษาเขียน
(1) บอกให้เขามาเร็ว ๆ
(2) เมื่อไรเขาจะมา
(3) เขามาเมื่อไหร่
(4) ยังไงเขาก็ไม่มา
ตอบ 2 หน้า 6 – 7 (54351), (คําบรรยาย) ระดับของคําในภาษาไทยมีศักดิ์ต่างกัน เวลานําไปใช้ก็ใช้ ในที่ต่างกัน ดังนั้นจึงต้องพิจารณาใช้คําให้เหมาะสม กล่าวคือ
1. คําที่ใช้ในโอกาสที่เป็นทางการ ได้แก่ คําที่ใช้ในภาษาแบบแผน หรือใช้ในภาษาเขียนของทางราชการ เช่น เมื่อใด เหตุใด เมื่อไร อย่างไร เท่าไร ฯลฯ
2. คําที่ใช้ในโอกาสที่ไม่เป็นทางการ ได้แก่ คําที่ใช้ในภาษาพูด หรือการเขียนจดหมายส่วนตัว ถึงบุคคลที่สนิทสนมกัน เช่น เมื่อไหร่ ยังไง เท่าไหร่ ฯลฯ ซึ่งในบางครั้งก็มักจะใช้คําซ้ำ เช่น บอกให้เขามาเร็ว ๆ ฯลฯ หรือตัดคําให้สั้นลง เช่น มหาลัย คณะวิศวะ คณะมนุษย์ ฯลฯ

106. ข้อใดใช้ภาษาไม่เป็นทางการ
(1) เขาเดินทางมายังไง
(2) เขาจ่ายเงินไปเท่าไร
(3) เหตุใดเขาจึงไม่ไป
(4) ทําอย่างไรถ้าเขาไม่มา
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 105. ประกอบ

107. “แอ๊บแบ๊ว” เป็นคําประเภทใด
(1) ภาษาสแลง
(2) ภาษาปาก
(3) ภาษาต่างประเทศ
(4) ภาษาเฉพาะกลุ่ม
ตอบ 1 หน้า 8 – 9 (54351), (คําบรรยาย) ภาษาสแลง มักเป็นคําที่ใช้กันในหมู่คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ความหมายของคําจะไม่ชัดเจนและไม่เป็นที่รู้จักกันทั่วไป จึงมักได้รับความนิยมเป็นครั้งคราว แล้วก็เลิกใช้กันไป ดังนั้นภาษาสแลงจึงเป็นคําที่เกิดง่ายตายเร็ว และเป็นคําที่ไม่สุภาพมากนัก ไม่ควรนํามาใช้ในการพูดและเขียนอย่างเป็นทางการเด็ดขาด เช่น แอ๊บแบ๊ว จุงเบย บ่องตง ฟิน เกรียน เงิบ ฯลฯ

ข้อ 108. – 110. ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้แล้วตอบคําถาม
(1) ใช้คําขัดแย้งกัน
(2) ใช้คําต่างศักดิ์
(3) ใช้คําไม่เป็นเหตุเป็นผล
(4) ใช้สํานวนต่างประเทศ

108. “ฝนค่อย ๆ ตกลงมาอย่างหนัก” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 1 หน้า 41 (54351) การใช้คําขัดแย้งกัน หมายถึง การใช้คําที่ทําให้เนื้อความขัดกัน หรือใช้คํา ที่มีความหมายตรงกันข้าม เช่น ฝนค่อย ๆ ตกลงมาอย่างหนัก (ใช้คําขัดแย้งกัน) ดังนั้นจึงควรแก้ไขเป็น ฝนค่อย ๆ ตกลงมาอย่างช้า ๆ (คําว่า “ค่อย ๆ” = ไม่รีบร้อน ไม่ไว ช้า ๆ ส่วนคําว่า “หนัก” – แรง เช่น ฝนตกหนัก)

109. “เธอสอบเข้าเรียนที่นี่ได้เพราะบ้านเธอรวย” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 3 หน้า 40 (54351) การจํากัดความให้มีความเกี่ยวข้องกัน คือ การใช้ประโยคหรือข้อความ ซ้อนกันต้องระมัดระวังเรื่องใจความที่เกี่ยวข้องหรือเป็นเหตุเป็นผล ไม่ควรให้กระจัดกระจาย ไปเป็นคนละเรื่อง ถ้าหากใจความใดไม่สัมพันธ์กัน ก็ควรแยกออกเป็นคนละข้อความเสียเลย มิฉะนั้นจะทําให้ข้อความขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เช่น เธอสอบเข้าเรียนที่นี่ได้เพราะ บ้านเธอรวย (ข้อความไม่เกี่ยวข้อง หรือใช้คําไม่เป็นเหตุเป็นผลกัน) จึงควรแก้ไขให้ถูกต้องเป็น เธอสอบเข้าเรียนที่นี่ได้เพราะเธอขยันอ่านหนังสือ

110. “บิดามารดาของฉันมีอาชีพรับราชการ” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 2 หน้า 6 (54351) คําในภาษาไทยมีระดับไม่เท่ากัน หรือเรียกว่า มีศักดิ์ต่างกัน ซึ่งหมายถึง มีการแบ่งคําออกไปใช้ในที่สูงต่ําต่างกันตามความเหมาะสม เช่น บิดามารดาของฉันมีอาชีพ รับราชการ (ใช้คำต่างศักดิ์กัน) จึงควรแก้ไขให้ถูกต้องเป็น พ่อแม่ของฉันมีอาชีพรับราชการ/ บิดามารดาของข้าพเจ้ามีอาชีพรับราชการ

111. การทําให้ประโยครัดกุม ควรใช้วิธีการเขียนแบบใด
(1) รวบความ
(2) ขยายความ
(3) ทําให้ประโยคมีน้ำหนัก
(4) จับประเด็นใจความสําคัญ
ตอบ 1 หน้า 39 – 40, 47 (54351) การผูกประโยคให้กระชับรัดกุมมีสิ่งที่จะต้องพิจารณา คือ
1. การรวบความให้กระชับ
2. การลําดับความให้รัดกุม
3. การจํากัดความ

112. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับล่าสุดเป็นปี พ.ศ. ใด
(1) พ.ศ. 2525
(2) พ.ศ. 2542
(3) พ.ศ. 2554
(4) พ.ศ. 2564
ตอบ 3 (คําบรรยาย) พจนานุกรมฉบับทางการที่ออกมาฉบับล่าสุดและใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คือ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554

113. คําว่า “แคลอรี ไนต์คลับ ออกซิเจน” เป็นคําประเภทใด
(1) คําศัพท์บัญญัติ
(2) คําทับศัพท์
(3) คําสแลง
(4) คําศัพท์แปลกใหม่
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 80. ประกอบ) ตัวอย่างของคําทับศัพท์ที่เขียนได้อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ ที่ประกาศใช้ของราชบัณฑิตยสถาน เช่น แคลอรี (Calorie), ไนต์คลับ (Nightclub), ออกซิเจน
(Oxygen), คอมพิวเตอร์ (Computer) ฯลฯ

114. คําว่า “New Normal” ภาษาไทยใช้ว่า “ความปรกติใหม่” คํานี้เป็นคําประเภทใด
(1) คําทับศัพท์
(2) คําศัพท์แปลกใหม่
(3) คําศัพท์บัญญัติ
(4) คําสแลง
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 80. ประกอบ) ตัวอย่างของคําศัพท์บัญญัติตามที่ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติไว้ เป็นภาษาไทย เช่น ความปกติใหม่หรือฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal), วิสัยทัศน์ (Vision), โลกทัศน์ (World View), วีดิทัศน์ (Video), โลกาภิวัตน์ (Globalization) ฯลฯ

115. คําว่า “วิสัยทัศน์ โลกทัศน์ วีดิทัศน์” เป็นคําประเภทใด
(1) คํายืม
(2) คําทับศัพท์
(3) คําศัพท์บัญญัติ
(4) คําศัพท์แปลกใหม่
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 114. ประกอบ

ข้อ 116. – 117. จงเลือกคําที่มีความหมายต่างจากคําอื่น ๆ

116. (1) บุษบา
(2) บุษบง
(3) บุษบัน
(4) บุษบก
ตอบ 4 คําว่า “บุษบก = มณฑปขนาดเล็กแต่ด้านข้างโปร่ง เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ ในพระราชพิธี หรือประดิษฐานปูชนียวัตถุ เช่น พระพุทธรูป (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นหมายถึง ดอกไม้)

117. (1) ยี่หร่า
(2) ยีโถ
(3) ยี่หุบ
(4) ยี่เข่ง
ตอบ 1 คําว่า “ยี่หร่า” = ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง ผลแก่แห้งใช้เป็นเครื่องเทศและยาสมุนไพรได้ บางครั้งเรียกว่า เทียนขาว (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นชื่อไม้ดอก)

118. “อย่าไปแห่แหนคนไร้ค่าอย่างพวกจอกแหน” คําว่า “แทน” เป็นคําประเภทใด
(1) คําพ้องรูป
(2) คําพ้องรูปและพ้องเสียง
(3) คําพ้องเสียง
(4) คําพ้องความหมาย
ตอบ 1 หน้า 14 (54351) คําพ้องรูป คือ คําที่เขียนเหมือนกัน แต่ความหมายและการออกเสียงจะต่างกัน ดังนั้นจึงต้องออกเสียงให้ถูกต้อง เพราะถ้าหากออกเสียงผิด ความหมายก็จะผิด ไปด้วย เช่น คําว่า “แหน” อ่านว่า “แหน” (ใช้เข้าคู่กับคําอื่นในคําว่า “หวงแหน แห่แหน เฝ้าแหน”) หรืออาจอ่านว่า “แทน” (ชื่อไม้น้ำหลายชนิดในวงศ์ Lemnaceae ใบกลมเล็ก ๆ ลอยอยู่ตามน้ํานิ่ง เช่น แหนเล็ก แหนใหญ่ จอกแหน) เป็นต้น

119. “เมื่อวันจันทร์ แม่จันปลูกต้นจันทน์เทศ” คําที่ออกเสียงว่า “ฉัน” เป็นคําประเภทใด
(1) คําพ้องรูปและพ้องเสียง
(2) คําพ้องเสียง
(3) คําพ้องความหมาย
(4) คําพ้องรูป
ตอบ 2 หน้า 14 (54351) คําพ้องเสียง คือ คําที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่ความหมายและการเขียน (รูป) ไม่เหมือนกัน เวลาเขียนจึงต้องเขียนให้ถูกต้อง เพราะถ้าหากเขียนผิด ความหมายก็จะผิดไปด้วย เช่น คําว่า “จันทร์” = ชื่อวันที่ 2 ของสัปดาห์ (วันจันทร์), “จัน” = ชื่อคน (แม่จัน), “จันทน์” – ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิดหนึ่ง (ต้นจันทน์เทศ) เป็นต้น

120. “เขาขันอาสาว่าจะช่วยขัดขันน้ำ พอได้ยินเสียงไก่ขันก็ตกใจทําขันหล่น คนเห็นก็พากันขบขัน
คําว่า “ขัน” เป็นคําประเภทใด
(1) คําพ้องรูปและพ้องเสียง
(2) คําพ้องเสียง
(3) คําพ้องรูป
(4) คําพ้องรูป พ้องเสียง พ้องความหมาย
ตอบ 1 (คําบรรยาย), (ดูคําอธิบายข้อ 118. และ 119. ประกอบ) คําว่า “วัน” เป็นคําพ้องรูปและพ้องเสียง คือ คําที่เขียนและออกเสียงเหมือนกัน แต่ความหมายต่างกัน จะรู้ว่าความหมาย เป็นอย่างไรต้องดูข้อความแวดล้อมประกอบ เช่น คําว่า “วัน” (อ่านว่า “ขัน”) = เสนอตัว เข้ารับทําโดยเต็มใจ (ขันอาสา), ภาชนะสําหรับตักหรือใส่น้ำ (ขันน้ำ/ขันหล่น), อาการร้องอย่างหนึ่งของไก่หรือนกบางชนิด เฉพาะในตัวผู้ (ไก่ขัน), น่าหัวเราะ (ขบขัน) เป็นต้น

THA1001 ลักษณะและการใช้ภาษาไทย 1/2563

การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2563
ข้อสอบกระบวนวิชา THA 1001 ลักษณะและการใช้ภาษาไทย
คําสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1. “เทอมนี้เธอตั้งใจเรียนดีมากเลย” ข้อความนี้สะท้อนลักษณะของภาษาไทยที่เป็นคําโดดกี่คํา
(1) 6 คํา
(2) 7 คํา
(3) 8 คํา
(4) 9 คํา
ตอบ 3 หน้า 2, 5 – 6 (62204), 2 – 3 (H), (คําบรรยาย) ลักษณะของภาษาไทยที่เป็นคําโดด มีดังนี้
1. คําแต่ละคําต้องออกเสียงพยางค์เดียว และอาจเป็นคําควบกล้ำก็ได้
2. ต้องเป็นภาษาไทยเท่านั้น ไม่ใช่คํายืมจากภาษาอื่น
3. มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
4. มีระบบวรรณยุกต์ หรือมีระบบเสียงสูงต่ำ ฯลฯ
(ข้อความนี้สะท้อนลักษณะของภาษาไทยที่เป็นคําโดด 8 คํา ได้แก่ นี้เธอตั้งใจเรียนดีมากเลย ยกเว้นคําว่า “เทอม” ที่เป็นคํายืมมาจากภาษาอังกฤษ =Term)

2. “ลุงขอชานมสองถ้วยได้ไหม” ข้อความนี้ไม่ปรากฏภาพสะท้อนลักษณะของภาษาไทยประเภทใด
(1) บอกเพศ
(2) บอกมาลา
(3) บอกพจน์
(4) ใช้คําลักษณนาม
ตอบ 2 หน้า 2 (62204), 6 – 9 (H) ข้อความข้างต้นปรากฏลักษณะของภาษาไทย ดังนี้
1. บอกเพศ คือ ชาย/หญิง หรือตัวผู้ตัวเมีย เช่น ลุง (เพศชาย)
2. บอกพจน์ คือ จํานวน เช่น สอง (ใช้คําบอกจํานวนนับ)
3. ใช้คําลักษณนาม ซึ่งมากับคําขยายบอกจํานวนนับ เช่น สองถ้วย ฯลฯ (ส่วนบอกมาลา คือ ภาวะหรืออารมณ์ในขณะที่พูด ซึ่งอาจนําคําอื่นมาช่วยประกอบคํากริยา)

3.ข้อใดไม่มีคําบอกเพศ
(1) น้องคนสวยชอบกินไอติม
(2) พี่สาวไปเที่ยวตรัง
(3) อาสามกําลังจะไปบ้านย่า
(4) พลายทองดําเดินริมลําธาร
ตอบ 3 หน้า 2, 109 – 110, 112 (62204), 6 – 7, 97 – 98 (H) คํานามในภาษาไทยบางคําก็แสดง เพศได้ชัดเจนในตัวของมันเอง เช่น คําที่บอกเพศชาย ได้แก่ พ่อ พระภิกษุ เณร ทิด เขย ชาย หนุ่ม บ่าว ปู่ ตา ผม นาย ลุง พลาย (ช้างตัวผู้) ฯลฯ และคําที่บอกเพศหญิง ได้แก่ ดิฉัน สะใภ้ แม่ หญิง สาว นาง ชี ป้า ย่า ยาย พัง (ข้างตัวเมีย) ฯลฯ แต่คําบางคําที่เป็นคํารวมทั้งสองเพศ เช่น พี่ น้อง เด็ก น้า อา ลูก หลาน เพื่อน ฯลฯ เมื่อต้องการแสดงเพศให้ชัดเจนตามแบบภาษา คําโดดก็จะต้องใช้คําบ่งเพศมาประกอบเข้าข้างหน้าบ้าง ข้างหลังบ้าง หรืออาจนํามาประสมกัน ตามแบบคําประสมบ้าง เช่น พี่สาว น้องคนสวย เด็กผู้หญิง น้าชาย อาหญิง หลานชาย ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้อ 3 คําว่า “อา” แสดงเพศไม่ชัดเจนว่าเป็นอาชายหรืออาหญิง)

4.ข้อใดเป็นสระเดี่ยว
(1) แชร์
(2) เผย
(3) ซ้าย
(4) เป้า
ตอบ 1 หน้า 8, 13 – 14 (62204), 17, 24 – 30 (H) เสียงสระในภาษาไทยมี 28 เสียง ดังนี้
1. สระเดี่ยว 18 เสียง แบ่งเป็นเสียงสั้น 9 เสียง ได้แก่ อะ อิ อี อุ เอะ แอะ เออะ โอะ เอาะ และเสียงยาว 9 เสียง ได้แก่ อา อี คือ อู เอ แอ เออ โอ ออ
2. สระผสม 10 เสียง แบ่งเป็นเสียงสั้น 5 เสียง ได้แก่ เอียะ เอือะ อัวะ เอา ไอ และเสียงยาว 5 เสียง ได้แก่ เอีย เอือ อัว อาว อาย
(ยกเว้นคําใดที่ลงท้ายด้วย ย/ว ซึ่งเป็นพยัญชนะกึ่งสระ อาจเป็นได้ทั้งตัวสะกด ยาว หรือเป็น สระผสม 2 เสียง หรือ 3 เสียงก็ได้)

5.ข้อใดเป็นสระหน้า
(1) เปิด
(2) แสง
(3) จับ
(4) เหมาะ
ตอบ 2 หน้า 9 – 10 (62204), 18 – 19 (H) สระเดี่ยวที่จําแนกตามส่วนต่าง ๆ ของลิ้นที่ทําหน้าที่ ซึ่งต้องมีสภาพของริมฝีปากประกอบด้วย ได้แก่
1. สระกลาง ได้แก่ อา อือ เออ อะ อี เออะ
2. สระหน้า ได้แก่ อี เอ แอ อิ เอะ แอะ
3. สระหลัง ได้แก่ อู โอ ออ อุ โอะ เอาะ

6. ข้อใดมีเสียงสระเดี่ยวตรงกับคําที่ขีดเส้นใต้ว่า “คนธรรพ์”
(1) โลภ
(2) ชอล์ก
(3) พราหมณ์
(4) ลักษณ์
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 4. ประกอบ) คําว่า “ธรรพ์ (ทัน)/ลักษณ์” = สระอะ, “โลภ” = สระโอ “ชอล์ก” = สระเอาะ, “พราหมณ์” = สระอา

7. “นมโหลนี้มีราคาตั้ง 50 บาทเชียว” ข้อความข้างต้นมีเสียงสระเดี่ยวกี่เสียง (ไม่นับเสียงซ้ํา)
(1) 4 เสียง
(2) 5 เสียง
(3) 6 เสียง
(4) 7 เสียง
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 4. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีสระเดี่ยว 6 เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ) ได้แก่
1. สระโอะ = นม
2. สระโอ = โหล
3. สระอี = นี้/มี
4. สระอา = ราคา/ห้า/บาท
5. สระอะ = ตั้ง
6. สระอิ = สิบ

8.ข้อใดเป็นสระผสม
(1) ครรภ์
(2) ฟิวส์
(3) คริสต์
(4) โชว์
ตอบ 2 หน้า 13 (62204), 25 (H), (ดูคําอธิบายข้อ 4. ประกอบ) คําว่า “ฟิวส์” (ฟิว) ลงท้ายด้วย ว ซึ่งเป็นพยัญชนะกึ่งสระ จึงอาจเป็นได้ทั้งตัวสะกด 2 หรือเป็นสระผสม 2 เสียง ประกอบด้วย อิ + ว (อิ + อุ) = อิว (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นสระเดี่ยว)

9.ข้อใดไม่มีเสียงสระอา
(1) ขาว
(2) ลวด
(3) เรือ
(4) แจว
ตอบ 4 หน้า 12 – 14 (62204), 23 – 26 (H) คําว่า “แจว” ประกอบด้วย แอ + ว (แอ + อู) = แอว (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นมีเสียงสระอา ได้แก่ คําว่า “ขาว” ประกอบด้วย อา + ว (อา + อู) = อาว “ลวด” ประกอบด้วย อู + อา = อัว, “เรือ” ประกอบด้วย อือ + อา = เอือ)

10. ข้อใดไม่เป็นสระผสม
(1) ฤกษ์
(2) เศียร
(3) เสาร์
(4) ไวน์
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 4. ประกอบ) คําว่า “ฤกษ์” = สระเออ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นสระผสม ได้แก่ คําว่า “เศียร” = สระเอีย “เสาร์” = สระเอา, “ไวน์” = สระไอ)

11. ข้อใดประกอบด้วยเสียงสระอี + อา + อู
(1) เรียน
(2) เปรย
(3) เกี่ยว
(4) เลื่อย
ตอบ 3 หน้า 14 (62204), 26 (H) คําว่า “เกี่ยว” ประกอบด้วย เอีย + ว (อี + อา + อู) = เอียว

12. รูปพยัญชนะในภาษาไทยลําดับที่ 27 ตรงกับข้อใด
(1) ผ
(2) บ
(3) ฑ
(4) ป
ตอบ 4 (คําบรรยาย) ป = รูปพยัญชนะในภาษาไทยลําดับที่ 27 เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากบหรือแม่กบ เช่น บาป เนปจูน สัปดาห์ ฯลฯ

13. พยัญชนะต้นในข้อใดเป็นประเภทเหลว
(1) ออก
(2) ลาย
(3) หิว
(4) ว่า
ตอบ 2 หน้า 19 – 21 (62204), 39 – 43 (H), (คําบรรยาย) พยัญชนะต้นของไทยที่มีการจําแนกตาม รูปลักษณะของเสียง แบ่งออกได้ดังนี้
1. พยัญชนะระเบิด (พยัญชนะกัก) = ก ค (ขฆ) จ ด (ฎ) ต (ฏ) ท (ถ ฐ ฑ ฒ ธ) บ ป พ (ผ) อ
2. พยัญชนะนาสิก = ง น (ณ) ม
3. พยัญชนะเสียดแทรก = ส (ซ ศ ษ) ฟ (ฝ)
4. พยัญชนะกึ่งเสียดแทรก = ช (ฉ ฌ)
5. พยัญชนะกึ่งสระ = ย ว
6. พยัญชนะเหลว = รส
7. พยัญชนะเสียงหนัก = ห (ฮ) รวมทั้ง
พยัญชนะที่มีเสียง ห ผสมอยู่ด้วย = ค (ข) ช (ฉ) ท (ถ) พ (ผ)

14. พยัญชนะต้นในข้อใดเกิดที่ฐานคอ
(1) เบา
(2) กอด
(3) อึ่ง
(4) ธาตุ
ตอบ 3 หน้า 17 – 18 (62204), 37 – 38 (H) พยัญชนะต้นที่จําแนกตามฐานกรณ์ (ที่เกิดหรือที่ตั้งของเสียง) สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
1. ฐานคอ (คอหอย) มี 2 เสียง คือ ห (ฮ) อ
2. ฐานเพดานอ่อน มี 3 เสียง คือ ก ค (ข ฆ) ง
3. ฐานเพดานแข็ง มี 5 เสียง คือ จ ช (ฉ ฌ) ส (ซ ศ ษ) ย (ญ) ร
4. ฐานฟัน มี 5 เสียง คือ ด (ฎ) ต (ฏ) ท (ถ ฐ ฑ ฒ ธ) น (ณ) ล (ฬ)
5. ฐานริมฝีปาก ได้แก่ ริมฝีปากบนกับล่างประกบกัน มี 5 เสียง คือ บ ป พ (ผ 4) ม ว และริมฝีปากล่างประกบกับฟันบน มี 1 เสียง คือ ฟ (ฝ)

15. ข้อใดเป็นพยัญชนะนํากันมา
(1) หลาน
(2) สกัด
(3) กระทบ
(4) แสดง
ตอบ 1 หน้า 22 (62204), 44 (H) การออกเสียงแบบนํากันมา (อักษรนํา) คือ พยัญชนะคู่ที่พยัญชนะ ตัวหน้ามีอํานาจเหนือพยัญชนะตัวหลัง โดยที่พยัญชนะตัวหน้าจะออกเสียงเพียงครึ่งเสียง และพยัญชนะตัวหลังก็เปลี่ยนเสียงตาม ซึ่งจะออกเสียงเหมือนกับเสียงที่มี “ห” นํา เช่น อยู่ (หมู่), หลาน, หวัด, แถลงการณ์ (ถะแหลงกาน), ถวาย (ถะหวาย), สวรรค์ (สะหวัน) อย่าง (หย่าง), เหนือ, หน้า ฯลฯ

16. ข้อใดเป็นพยัญชนะเคียงกันมา
(1) ภาคภูมิ
(2) แถลงการณ์
(3) นิ่มนวล
(4) สรรพนาม
ตอบ 4 หน้า 22 (62204), 44 (H), (คําบรรยาย) การออกเสียงแบบตามกันมา หรือเคียงกันมา (การออกเสียงแบบเรียงพยางค์) คือ พยัญชนะคู่ที่ออกเสียงแต่ละเสียงเต็มเสียง และเสียง ทั้งสองไม่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน นอกจากนี้ถ้าหากคําใดที่มีเสียงสระอะ อา อิ อี อุ อู อยู่กลางคํา และพยางค์หน้าออกเสียงเต็มเสียงทุกคําให้ถือเป็นพยัญชนะคู่แบบเคียงกันมา เช่น สรรพนาม (สับพะนาม), สถานการณ์ (สะถานะกาน), กิจกรรม (กิดจะกํา), จักรวาล (จักกะวาน) ฯลฯ

17. ข้อใดเป็นพยัญชนะควบกันมา
(1) ถวาย
(2) ทราบ
(3) เนตร
(4) หวัด
ตอบ 2 หน้า 22 – 26 (62204), 44 – 49 (H) การออกเสียงแบบควบกันมา หรืออักษรควบ คือ พยัญชนะคู่ที่ออกเสียง 2 เสียงควบกล้ําไปพร้อมกัน แบ่งออกเป็น
1. อักษรควบกล้ำแท้ หรือเสียงกล้ำกันสนิท โดยเสียงทั้งสองจะร่วมเสียงสระและวรรณยุกต์ เดียวกัน เช่น ความสุข, กระเป๋า ฯลฯ
2. อักษรควบกล้ำไม่แท้ หรือเสียงกล้ํากันไม่สนิท เช่น ทราบ (ซาบ), สร้าง (ร้าง) ฯลฯ

18. ข้อใดมีพยัญชนะคู่ประเภทเคียงกันมา ควบกันมา และนํากันมา เรียงตามลําดับ
(1) สวรรค์ซื้อกับข้าวสามอย่าง
(2) สถานการณ์น้ําท่วมภาคเหนือกําลังวิกฤต
(3) กิจกรรมที่สร้างความสุข คือ การนอน
(4) จักรวาลนํากระเป๋าออกมาขายที่หน้าบ้าน
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 15, 16. และ 17. ประกอบ

19. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดตรงกับคําว่า “ข้าวสวย”
(1) เฝ้าทรัพย์
(2) อ่าวจันทร์
(3) เท่าใด
(4) ทั่วไทย
ตอบ 3 หน้า 27 – 29 (62204), 50 – 53 (H) พยัญชนะสะกดของไทยจะมีเพียง 8 เสียงเท่านั้น ได้แก่
1. แม่กก = ก ข ค ฆ
2. แม่กด จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส
3. แม่กบ = บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ
4. แม่กน = น ณ ร ล ฬ ญ
5. แมกง = ง
6. แมกม = ม
7. แม่เกย = ย
8. แม่เกอว = ว
นอกจากนี้สระอํา (อัม) = แม่กม, สระไอ ไอ (อัย) = แม่เกย และสระเอา (ยาว) = แม่เกอว
(คําว่า “ข้าวสวย, เท่าใด” = แม่เกอว /แม่เกย ส่วนคําว่า “เฝ้าทรัพย์” = แม่เกอว/ แม่กบ “อ่าวจันทร์” = แม่เกอว/ แม่กน “ทั่วไทย” = ไม่มีตัวสะกด/แม่เกย)

20. ข้อใดมีคําที่ไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด
(1) ผิวเสีย
(2) นำหอม
(3) สามพัน
(4) อกไก่
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 19. ประกอบ) คําที่ไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด ได้แก่ เสีย (ส + เอีย)

21. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดที่ต่างจากข้ออื่น
(1) โลภ
(2) กอปร
(3) ลาภ
(4) วรรค
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 19. ประกอบ

22. “ดอกไม้ช่อนี้เป็นของใคร” จากข้อความมีพยัญชนะสะกดกี่เสียง (ไม่นับเสียงซ้ํา)
(1) 2 เสียง
(2) 3 เสียง
(3) 4 เสียง
(4) 5 เสียง
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 19. ประกอบ) ข้อความข้างต้นปรากฏพยัญชนะสะกด 4 เสียง (ไม่นับเสียงซ้ํา) ได้แก่ 1. แม่กก = ดอก
2. แม่เกย = ไม้, ใคร
3. แม่กน = เป็น
4. แม่กง = ของ
(ส่วนคําที่ไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด ได้แก่ ช่อ, นี้)

23. “อยากจะร้องตะโกนไปทั่วฟ้าว่า ทําข้อสอบได้จริง ๆ นะ” จากข้อความมีพยัญชนะสะกดที่เสียง
(ไม่นับเสียงซ้ำ)
(1) 5 เสียง
(2) 6 เสียง
(3) 7 เสียง
(4) 8 เสียง
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 19. ประกอบ) ข้อความข้างต้นปรากฏพยัญชนะสะกด 6 เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ)
ได้แก่
1. แม่กก = อยาก
2. แม่กง = ร้อง, จริง
3. แม่กน = โกน
4. แม่เกย = ไป, ได้
5. แม่กม = ทํา
6. แม่กบ = สอบ
(ส่วนคําที่ไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด ได้แก่ จะ, ตะ, ทั่ว, ฟ้า, ว่า, ข้อ, นะ)

24. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์เอก
(1) มั่น
(2) วิ่ง
(3) สุ่ม
(4) ยั่ว
ตอบ 3 หน้า 33 – 37 (62204), 55 – 60 (H) เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยจะมี 5 เสียง 4 รูป ได้แก่ เสียงสามัญ (ไม่มีรูปวรรณยุกต์กํากับ), เสียงเอก ( ่ ), เสียงโท ( ้), เสียงตรี ( ๊ ) และเสียง จัตวา ( ๋ ) ซึ่งในคําบางคํา รูปและเสียงวรรณยุกต์อาจไม่ตรงกัน จึงควรเขียนรูปวรรณยุกต์ให้ ถูกต้อง เช่น คําว่า “สุ่ม” มีรูปและเสียงวรรณยุกต์เอกตรงกัน (ส่วนคําว่า “มั่น/ วิ่ง/ยั่ว” มีเสียง วรรณยุกต์โททั้งหมด)

25. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์โท
(1) ม้า
(2) ใหญ่
(3) สิทธิ์
(4) ว่าง
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) คําว่า “ว่าง” มีเสียงวรรณยุกต์โท แต่ใช้ไม้เอก (ส่วนคําว่า “ม้า/ใหญ่/สิทธิ์” = ตรี/เอก/เอก)

26. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ต่างจากข้ออื่น
(1) แห่ง
(2) ผิด
(3) กิ่ง
(4) สระ
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) คําว่า “แท่ง” มีเสียงวรรณยุกต์โท แต่ใช้ไม้เอก
(ส่วนตัวเลือกข้ออื่นมีเสียงวรรณยุกต์เอก)

27. ข้อใดไม่มีเสียงวรรณยุกต์เอก
(1) แม้ไม่ใช่คนโปรด
(2) อย่างคนอื่นเขา
(3) แม้จะดูว่างเปล่า
(4) ในสายตาเธอนะ
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) คําที่มีเสียงวรรณยุกต์เอก ได้แก่ โปรด, อย่าง, อื่น, จะ, เปล่า

28.“อดข้าวมาเกือบสองวัน” จากข้อความไม่ปรากฏวรรณยุกต์เสียงใด
(1) โท
(2) จัตวา
(3) ตรี
(4) เอก
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีเสียงวรรณยุกต์ 4 เสียง ดังนี้
1. เสียงสามัญ = มา/วัน
2. เสียงเอก = อด/เกือบ
3. เสียงโท = ข้าว
4. เสียงจัตวา = สอง

29. “สาธุ ขอให้ลูกช้างถูกหวยสักงวดเถิด” จากข้อความมีวรรณยุกต์กี่เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ)
(1) 3 เสียง
(2) 4 เสียง
(3) 5 เสียง
(4) 6 เสียง

ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีเสียงวรรณยุกต์ 4 เสียง ดังนี้
1. เสียงเอก = ถูก/สัก/เถิด
2. เสียงโท = ให้/ลูก/งวด
3. เสียงตรี = ธุ/ช้าง
4. เสียงจัตวา = สา/ขอ/หวย

30. “เปิดมุมมองใหม่ ไร้ขีดจํากัด” จากข้อความมีเสียงวรรณยุกต์โทกเสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ)
(1) 0 เสียง
(2) 1 เสียง
(3) 2 เสียง
(4) 4 เสียง
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 24. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีเสียงวรรณยุกต์ 3 เสียง ดังนี้
1. เสียงสามัญ = มุม/มอง/จํา
2. เสียงเอก = เปิด/ใหม่/ขีด/กัด
3. เสียงตรี = ไร้ (ข้อความข้างต้นไม่มีเสียงวรรณยุกต์โทและจัตวา)

31.คําที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดเป็นความหมายแฝง
(1) สาวงามยิ้มสวย
(2) ดอกไม้อยู่ในแจกัน
(3) น้องเหมือนพี่มาก
(4) นักมวยเตะก้านคอโจร
ตอบ 4 หน้า 44, 48 (62204), 62 – 63 (H) ความหมายแฝง หมายถึง ความหมายย่อยที่แฝงอยู่ในความหมายใหญ่ ซึ่งจะแนะรายละเอียดบางอย่างไว้ในความหมายนั้น ๆ ได้แก่ ความหมายแฝง ในคํากริยาที่เป็นไปรุนแรง เช่น เตะ (ใช้เท้าเหวี่ยงหรือดีดไปอย่างแรง), กระทืบ (ยกเท้ากระแทก ลงไป), สะบัด (สลัดแรง ๆ เพื่อให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดออกไป) เป็นต้น

32. คําที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดเป็นความหมายอุปมา
(1) เหล่านางฟ้าต่างอยู่บนสวรรค์
(2) เขาล้างมือจากวงการเซียนพระแล้ว
(3) น้ำน้อยย่อมแพ้ไฟ
(4) ความรักช่างหวานจนน้ําตาลเรียกพี่
ตอบ 2 หน้า 48 – 49 (62204), 64 (H) คําอุปมา คือ คําที่ใช้เปรียบเทียบเพื่อพรรณนาบอกลักษณะ ให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อให้มีความหมายใหม่เกิดขึ้นอีกความหมายหนึ่ง มีอยู่ 2 ประเภท ได้แก่
1. คําอุปมาที่ได้มาจากคําที่มีใช้อยู่แล้ว เช่น ไข่มุก (สตรีที่งดงาม บริสุทธิ์ และสูงค่า), เทวดา/ นางฟ้า (ดี สวย), หิน (ยากมาก), ล้างมือ (เลิกยุ่งเกี่ยวอีกต่อไป) ฯลฯ
2. คําอุปมาที่สร้างขึ้นใหม่ ส่วนมากเป็นคําประสม เช่น แมวนอนหวด (ชื่อจนเซ่อ) ฯลฯ (ส่วนคําว่า “นางฟ้า” ในตัวเลือกข้อ 1 เป็นความหมายโดยตรง ไม่ใช่คําอุปมาเปรียบเทียบ)

33. ข้อใดปรากฏการแยกเสียงแยกความหมายแบบเสียงสูงต่่ำต่างกัน
(1) วับ – วาบ
(2) บาด – ปาด
(3) เดียว – เดี่ยว
(4) เบะปาก – แบะปาก
ตอบ 3 หน้า 51 – 52 (62204), 65 (H) การแยกเสียงแยกความหมาย คือ การเปลี่ยนแปลงเสียง ในคําบางคําที่มีความหมายหลายอย่างให้แตกต่างกันบ้าง เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนว่าคํานั้น มีความหมายว่าอย่างไรในที่นั้น ๆ โดยความหมายย่อยและที่ใช้อาจจะแตกต่างกันบ้าง ได้แก่ “เดียว – เดี่ยว” (เสียงสูงต่ำต่างกัน) ต่างก็แปลว่าหนึ่ง เช่น มาเดี่ยว มาคนเดียว แต่จะนํามา ใช้แทนกันไม่ได้ เพราะ “เดียว” หมายถึง หนึ่งเท่านั้น แต่ “เดี่ยว” หมายถึง ไม่มีคู่ ไม่ได้นําคู่ของตนมาด้วย เป็นต้น

34. ข้อใดเป็นคําซ้ำไม่ได้
(1) คําว่าไม่ ๆ ต้องอธิบายแล้ว
(2) ขอข้อสอบง่าย ๆ บ้างเถิด
(3) ยารสขม ๆ กินยากจัง
(4) ลองเดา ๆ ดู ใจอาจตรงกันก็ได้

ตอบ 1 หน้า 76 – 80 (62204), 76 – 78 (H) คําซ้ํา คือ คําคําเดียวกันที่นํามากล่าว 2 ครั้ง เพื่อให้ มีความหมายเน้นหนักขึ้น หรือเพื่อให้มีความหมายแตกต่างจากคําเดี่ยว ซึ่งวิธีการสร้างคําซ้ํา ก็เหมือนกับการสร้างคําซ้อน แต่ใช้คําคําเดียวมาซ้อนกันโดยมีเครื่องหมายไม้ยมก (ๆ) กํากับ เช่น ขอข้อสอบง่าย ๆ บ้างเถิด, ยารสขม ๆ กินยากจัง, ลองเดา ๆ ดู ใจอาจตรงกันก็ได้ ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้อ 1 ไม่ใช่คําซ้ำ เพราะเป็นคําที่พูดติดต่อเป็นความเดียวกัน จึงไม่ควรใช้ไม้ยมก)

35. ข้อใดเป็นคําซ้อน
(1) หน้าผา
(2) ทบทวน
(3) ลูกรัก
(4) ของชําร่วย
ตอบ 2 หน้า 62 – 76 (62204), 67 – 76 (H) คําซ้อน คือ คําเดียว 2, 4 หรือ 6 คํา ที่มีความหมาย หรือมีเสียงที่ใกล้เคียงกัน หรือเป็นไปในทํานองเดียวกัน ซ้อนเข้าด้วยกันเพื่อทําให้เกิดคําใหม่ ที่มีความหมายใหม่ขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. คําซ้อนเพื่อความหมาย (มุ่งที่ความหมายเป็นสําคัญ) ซึ่งอาจเป็นคําไทยซ้อนเข้าด้วยกัน เช่น ตื้นเขิน, ว่างเปล่า, ช้านาน, บีบคั้น ว่ากล่าว, ขาแข้ง ฯลฯ หรืออาจจะเป็นคําไทยซ้อนกับคําที่ มาจากภาษาอื่น เช่น รูปร่าง (บาลีสันสกฤต + ไทย), รากฐาน (ไทย + บาลี), สาบสูญ (ไทย + บาลีสันสกฤต) ฯลฯ
2. คําซ้อนเพื่อเสียง (มุ่งที่เสียงเป็นสําคัญ) เช่น ทบทวน, ทัดทาน,อวดอ้าง ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นคําประสม)

36. ข้อใดเป็นคําซ้อน
(1) รูปลักษณ์
(2) รูปถ่าย
(3) รูปปั้น
(4) รูปร่าง
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 35. ประกอบ

37. ข้อใดไม่เป็นคําซ้อน
(1) ตื้นเขิน
(2) ต้นทุน
(3) ว่างเปล่า
(4) ทัดทาน
ตอบ 2 หน้า 80 – 89 (62204), 78 – 82 (H) คําประสม คือ คําตั้งแต่ 2 คําขึ้นไปมาประสมเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้คําใหม่ที่มีความหมายใหม่มาใช้ในภาษา ซึ่งความหมายสําคัญจะอยู่ที่คําต้น (คําตัวตั้ง ส่วนที่ตามมาเป็นคําขยาย ซึ่งไม่ใช่คําที่ขยายคําต้นจริง ๆ แต่จะช่วยให้คําทั้งคํามีความหมาย จํากัดเป็นนัยเดียว เช่น ต้นทุน, คนรัก, ไก่ย่าง, หมูอบ, เสือร้องไห้, ต้นตาล, ความดี, ชาวไร่, เครื่องมือ ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นคําซ้อน) (ดูคําอธิบายข้อ 35. ประกอบ)

38. ข้อใดเป็นคําประสม
(1) คนรัก
(2) ช้านาน
(3) บีบคั้น
(4) รากฐาน
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 35 และ 37. ประกอบ

39. ข้อใดไม่เป็นคําประสม
(1) ไก่ย่าง
(2) หมูอบ
(3) นกบิน
(4) เสือร้องไห้
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 37. ประกอบ) คําว่า “นกบิน” ไม่เป็นคําประสม แต่เป็นคําเดี่ยวเรียงกัน ประกอบด้วย ประธาน + กริยา (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นคําประสมที่เป็นชื่ออาหาร)

40. ข้อใดเป็นคําประสมทุกคํา
(1) อวดอ้าง ต้นตาล
(2) ว่ากล่าว สาบสูญ
(3) ความดี ขาแข้ง
(4) ชาวไร่ เครื่องมือ
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 35. และ 37. ประกอบ

41. คําใดกร่อนเสียงมาจากคําเดิมว่า “สาว”
(1) สะดึง
(2) สะดือ
(3) สะใภ้
(4) สะสวย
ตอบ 3 หน้า 93 – 95 (62204), 83 – 84 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการกร่อนเสียง มักเป็นคําที่ กร่อนเสียงพยางค์ต้นให้เป็นเสียง “อะ” ได้แก่
1. “มะ” ที่นําหน้าชื่อไม้ผล ไม่ใช่ไม้ผล และหน้าคําบอกกําหนดวัน เช่น หมากม่วง – มะม่วง, หมากเฟือง – มะเฟือง, หมากไฟ – มะไฟ, เมื่อคืน – มะรืน
2. “ตะ” นําหน้าชื่อสัตว์ ต้นไม้ และคําที่มีลักษณะคล้ายตา เช่น ตัวขาบ – ตะขาบ,ตอม่อ – ตะม่อ ตาราง – ตะราง, ต้นโก – ตะโก, ต้นเคียน – ตะเคียน ་
3. “สะ” เช่น สายดือ – สะดือ, สายดึง – สะดึง, สาวใภ้ – สะใภ้
4. “ฉะ” เช่น ฉันนั้น – ฉะนั้น, ฉันนี้ – ฉะนี้, เฉื่อย ๆ – ฉะเฉื่อย, ฉาด ๆ – ฉะฉาด
5. “ยะ/ระ/ละ” เช่น เยือก ๆ – ยะเยือก, เรื่อย ๆ – ระเรื่อย, รี่ ๆ – ระรี่, ลิบๆ – ละลิบ
6. “อะ” เช่น อันไร/อันใด – อะไร, อันหนึ่ง + อนึ่ง
7. “จะ” เช่น เจื้อยเจื้อย – จะเจื้อย, แจ้วแจ้ว – จะแจ้ว, จ้อจ้อ – จะจ้อ
สําหรับคําอื่น ๆ ที่ไม่ได้เป็นไปตามนี้ ได้แก่ ผู้ญาณ – พยาน, ชาตา – ชะตา, ช้าพลู – ชะพลู, เฌอเอม – ชะเอม, ชีผ้าขาว – ชีปะขาว, คํานึง – คะนึง เป็นต้น

42. ข้อใดมีคําอุปสรรคเทียมชนิดแบ่งคําผิด
(1) ดุเหว่าแว่วแล้วเลื้อยระเรื่อยร้อง ประสานซ้องก้องดงพลางส่งเสียง
(2) นกกระสาจับกระสั่งเสียงวังเวง ร้องครื้นเครงก้องฟ้าพนาวัน
(3) รุกขชาติดาษสร้างริมทางไป มะเฟืองมะไฟตูมตาดดาษดา
(4) ยะเยือกเย็นเส้นหญ้าเป็นป่าชัฏ พระพายพัดเย็นในฤทัยหวน
ตอบ 2 หน้า 94 (62204), 84 – 85 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการแบ่งคําผิด เกิดจากการพูดเพื่อให้
เสียงต่อเนื่องกัน โดยเพิ่มเสียง “กะ” (ปัจจุบันใช้ว่า “กระ” ) เข้าไป 1 เสียงในคําที่พยางค์แรกสะกดด้วยเสียง “ก” ได้แก่
1. นกสา – นกกระสา
2. นกเต็น – นกกระเต็น
3. นกจาบ – นกกระจาบ
4. ลูกสุน – ลูกกระสุน
5. ผักสัง – ผักกระสัง ฯลฯ
(ส่วนตัวเลือกข้ออื่นมีคําอุปสรรคเทียมชนิดกร่อนเสียง) (ดูคําอธิบายข้อ 41. ประกอบ)

43. คําใดเป็นคําอุปสรรคเทียมชนิดเทียบแนวเทียบผิด
(1) กระโดกกระเดก
(2) กระโชกกระชาก
(3) กระชุ่มกระชวย
(4) กระอักกระอ่วน
ตอบ 3 หน้า 94 – 96 (62204), 85 – 86 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการเทียบแนวเทียบผิด คือ การเพิ่มเสียง “กะ” (ปัจจุบันใช้ว่า “กระ”) เข้าไป 2 เสียง ในคําซ้อนเพื่อเสียงที่หน้าพยางค์ต้น และหน้าพยางค์ท้ายไม่ได้สะกดด้วย “ก” ซึ่งยึดการใช้อุปสรรคเทียมที่เพิ่มเสียงเพื่อไม่ให้เสียง คอนกันมาเป็นแนวเทียบ แต่เป็นการเทียบแนวเทียบผิด เช่น มิดเพี้ยน – กระมิดกระเมี้ยน หืดหอบ – กระหืดกระหอบ, ชุ่มชวย – กระชุ่มกระชวย, จุ๋มจิ๋ม – กระจุ๋มกระจิ๋ม ฯลฯ

44. “เสียงสรวลระนี้ เสียงแก้วพี่หรือเสียงใคร” ข้อความนี้มีคําอุปสรรคเทียมชนิดใด
(1) แบ่งคําผิด
(2) กร่อนเสียง
(3) เทียบแนวเทียบผิด
(4) เพิ่มเสียงไม่ให้เสียงคอนกัน
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 41. ประกอบ

45. ข้อใดถูก
(1) กระเต็น เป็นคําอุปสรรคเทียมชนิดกร่อนเสียง มาจากคําว่า “นกเต็น
(2) พะรุงพะรัง เป็นคําอุปสรรคเทียมชนิดเลียนแบบภาษาเขมร
(3) กระจุ๋มกระจิ๋ม เป็นคําอุปสรรคเทียมชนิดเพิ่มเสียงไม่ให้เสียงคอนกัน
(4) ตะม่อ เป็นคําอุปสรรคเทียมชนิดกร่อนเสียง มาจากคําว่า “ต้นม่อ”
ตอบ 2 หน้า 96 – 98 (62204), 86 – 87 (H), (ดูคําอธิบายข้อ 41, 42, และ 43. ประกอบ) อุปสรรคเทียมเลียนแบบภาษาเขมร เป็นวิธีการแผลงคําของเขมรที่ใช้นําหน้าคําเพื่อประโยชน์ ทางไวยากรณ์ แบ่งออกได้ดังนี้
1. “ชะ/ระ/ปะ/ประ/พะ/สม/สะ” เช่น ชะดีจะร้าย, ระคน, ระคาย, ระย่อ, ปะปน, ประเดี่ยว, ปะติดปะต่อ, ประท้วง, ประหวั่น, พะรุงพะรัง, พะเยิบ สมรู้, สมยอม, สมสู่, สะสาง, สะพรั่ง, สะสวย, สะพรึบ ฯลฯ
2. ใช้ “ข ค ป ผ พ” มานําหน้าคํานามและกริยาวิเศษณ์ เพื่อให้มีความหมายเป็นการีต แปลว่า “ทําให้” เช่น ขยุกขยิก, ขยิบ, ขยี้, ขยํา, ปลุก, ปลง, ปลด, ปละ, ปราบ, ผละ, พร่ํา ฯลฯ

ข้อ 46 – 50. ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้แล้วตอบคําถาม
(1) ประโยคบอกเล่า
(2) ประโยคคําถาม
(3) ประโยคคําสั่ง
(4) ประโยคขอร้อง

46. “ห้ามผู้อภิปรายแสดงกิริยาหรือใช้วาจาอันไม่สุภาพ” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 3 หน้า 102 (62204), 91 – 92 (H) ประโยคคําสั่ง คือ ประโยคที่ต้องการให้ผู้ฟังทําตามคําสั่ง มักละประธานและขึ้นต้นด้วยคํากริยา เช่น ไปได้แล้ว แต่ถ้าหากจะมีประธานก็จะระบุชื่อหรือ เน้นตัวบุคคลเพื่อให้คนที่ถูกสั่งรู้ตัว เช่น แดงออกไป นอกจากนี้ประโยคคําสั่งอาจมีกริยาช่วย “อย่า/ห้าม/จง/ต้อง” เพื่อสั่งให้ทําหรือไม่ให้ทําก็ได้

47. “โปรดมีสมาธิในการทําข้อสอบครับ” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 4 หน้า 102 (62204), 92 – 93 (H) ประโยคขอร้องหรือชักชวน คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องการ ขอร้องหรือชักชวนให้ผู้ฟังทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ตามที่ตนต้องการ ซึ่งการใช้คําพูดนั้นจะคล้ายกับ ประโยคคําสั่งแต่นุ่มนวลกว่า โดยในภาษาเขียนมักจะมีคําว่า “โปรดกรุณา” อยู่หน้าประโยค ส่วนในภาษาพูดนั้นอาจมีคําลงท้ายประโยค ได้แก่ เถอะ เถิด นะ นะ หน่อย ซี ซี ฯลฯ

48. “อยู่ที่ไหน ช่วยบอกได้ไหมใจ ใยถึงไม่คืนกลับมา” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 2 หน้า 102 – 103 (62204), 93 – 94 (H) ประโยคคําถาม คือ ประโยคที่ต้องการคําตอบ อาจมี คําแสดงคําถาม ได้แก่ ใคร อะไร ที่ไหน ทําไม เมื่อไร อย่างไร หรือเปล่า หรือไม่ ไหม บ้าง ฯลฯ

49. “จงจําไว้ว่ารักใคร อย่าทําให้ใจต้องเจ็บ” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 46. ประกอบ

50.“ถ้าเขาจะรัก ยืนเฉย ๆ เขาก็รัก ถ้าเขาจะรัก ไม่ต้องทักเขาก็ทัก” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 1 หน้า 103 – 104 (62204), 90 – 91, 93 – 94 (H) ประโยคบอกเล่า คือ ประโยคที่บอกเล่าเรื่องราวตามธรรมดา ซึ่งอาจใช้ในทางตอบรับหรือตอบปฏิเสธก็ได้ เช่น ไปแล้วจ้า, ไม่ได้ไปค่ะ ฯลฯ แต่บางครั้งประโยคที่มีคําแสดงคําถามว่า “ใคร อะไรที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร” อาจจะใช้ในประโยคบอกเล่าก็ได้ หากไม่ได้แสดงความสงสัยหรือไม่ได้ต้องการคําตอบ แต่จะเป็นการ กล่าวถึงสิ่งต่าง ๆ โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง

51. ข้อใดมีคํานามบอกเพศต่างจากข้ออื่น
(1) ผู้ใหญ่บ้านกําลังให้สัมภาษณ์
(2) นักเรียนรวมตัวกันที่สนามกีฬา
(3) ภิกษุกําลังเทศนาบนธรรมาสน์
(4) อาจารย์กําลังลุ้นคะแนนของนักศึกษา
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 3. ประกอบ) คํานามบางคําเป็นคํารวมทั้งสองเพศ เช่น ผู้ใหญ่บ้าน, นักเรียน อาจารย์, นักศึกษา ฯลฯ ซึ่งคําเหล่านี้เมื่อต้องการระบุเพศให้ชัดเจนก็ต้องใช้คําบ่งเพศเข้ามา ประกอบข้างหลัง เช่น ผู้ใหญ่บ้านหญิง, นักเรียนชาย, อาจารย์ชาย, นักศึกษาหญิง ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้อ 3 คําว่า “ภิกษุ” เป็นคําที่บอกเพศชายได้ชัดเจนในตัวเอง)

52. ข้อใดมีคํานามบอกพจน์ที่ต่างจากข้ออื่น
(1) ฝูงญาติแลฝูงชน ก็ชื่นชมแลสมปอง
(2) ภาษาสมัยใหม่ ของถูกใจพวกนักเรียน
(3) พิศดูหมู่มัจฉา ว่ายแหวกมาในสาคร
(4) ทั้งวังเขายังนัก แต่พี่รักเจ้าคนเดียว
ตอบ 4 หน้า 77, 110 (62204), 76, 98 (H) การแสดงพจน์ (จํานวน) จะมีอยู่หลายวิธี แต่ก็ต้องดูความหมายของประโยคด้วย ดังนี้
1. ใช้คําบอกจํานวนหนึ่ง (เอกพจน์) ได้แก่ โสด เดียว หนึ่ง โทน ฯลฯ
2. ใช้คําบอกจํานวนมากกว่าหนึ่ง (พหูพจน์) ได้แก่ คู่แฝด (จํานวนสองที่กําหนดไว้เป็นชุด), กลุ่ม/หมู่/ฝูง/พวก/ขบวนช่อ (มีจํานวนมากกว่าสองขึ้นไป) ฯลฯ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ คําขยาย ได้แก่ มาก หลาย ฯลฯ ใช้คําบอกจํานวนนับ ได้แก่ สอง สี่ โหล ฯลฯ ใช้คําซ้ำ ได้แก่ เด็ก ๆ หนุ่ม ๆ สาว ๆ น้อง ๆ หลาน ๆ ฯลฯ และใช้คําซ้อน ได้แก่ ลูกเด็กเล็กแดง (เด็กเล็ก ๆ หลายคน) ฯลฯ

53. ข้อใดมีคําสรรพนามเรียกชื่อเล่นแทนบุรุษที่ 1
(1) ใครเห็นโหน่งบ้าง
(2) ขอโหน่งนั่งตรงนี้ด้วยคนนะ
(3) โหน่งไปเที่ยวไหนมา
(4) เมื่อไหร่จะได้เจอโหน่งอีก
ตอบ 2 หน้า 112 (62204), 99 (H) สรรพนามบุรุษที่ 1 คือ คําที่ใช้แทนตัวผู้พูดเอง เช่น ฉัน ดิฉัน อิฉัน ผม กระผม ข้าพเจ้า เรา ฯลฯ นอกจากนี้ยังอาจใช้คํานามอื่น ๆ แทนตัวผู้พูดเพื่อแสดง ความสนิทสนมรักใคร่ ได้แก่ ใช้ตําแหน่งเครือญาติ เช่น พ่อ แม่ ฯลฯ, ใช้ตําแหน่งในการงาน เช่น ครู หัวหน้า ฯลฯ หรือใช้ชื่อของผู้พูดเอง เช่น ตั๋ว นุช โหน่ง ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้อ 1 คําว่า “โหน่ง” เป็นสรรพนามบุรุษที่ 3, ตัวเลือกข้อ 3 – 4 คําว่า “โหน่ง” เป็นสรรพนามบุรุษที่ 2)

54. ข้อใดไม่มีสรรพนามแสดงความไม่เจาะจง
(1) ใครจะไปกล้าลอกข้อสอบในห้องสอบล่ะเธอ
(2) ใคร ๆ ก็รู้ว่าพวกคุณไม่ทุจริตในการสอบหรอก
(3) คุณจะเลือกอะไรก็ได้ที่คุณเห็นว่ามันเป็นค่าตอบที่ถูกต้อง
(4) ว่าแต่คุณจะเลือกคําตอบอะไร
ตอบ 4 หน้า 111, 116 – 118 (62204), 99 (H) คําสรรพนามที่บอกความไม่เฉพาะเจาะจง ได้แก่ “ใคร/อะไร/ใดไหน” ซึ่งเป็นคํากลุ่มเดียวกันกับสรรพนามที่บอกคําถาม แต่สรรพนามที่บอก ความไม่เฉพาะเจาะจงจะกล่าวถึงบุคคล สิ่งของ หรือสถานที่แบบลอย ๆ ไม่ชี้เฉพาะเจาะจงว่า เป็นใคร อะไร ที่ไหน และไม่ได้เป็นการถาม เช่น ใครจะไปกล้าลอกข้อสอบในห้องสอบล่ะเธอ, ใคร ๆ ก็รู้ว่าพวกคุณไม่ทุจริตในการสอบหรอก, คุณจะเลือกอะไรก็ได้ที่คุณเห็นว่ามันเป็นคําตอบ ที่ถูกต้อง ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้อ 4 คําว่า “อะไร” เป็นสรรพนามที่บอกคําถาม)

55. ข้อใดใช้สรรพนามที่ใช้ขยายคํานามข้างหน้าเพื่อแสดงความเป็นกันเอง
(1) หลาน ๆ เขาออกไปเที่ยวเล่นกัน
(2) เพื่อน ๆ มันรุมแกล้งฉัน
(3) คุณทวดของฉันท่านมาจากเมืองจีน
(4) ลุงแกดูมีพิรุธนะ
ตอบ 2 หน้า 114 – 115 (62204), 99 (H) คําว่า “มัน” เป็นคําสรรพนามบุรุษที่ 3 ใช้แทนผู้ที่พูดถึง ซึ่งต่ำกว่าผู้พูด เช่น สุนัขข้างบ้านมันชอบกัดกัน ฯลฯ หรือผู้ที่ไม่ถูกใจกันนัก แต่บางคนก็ใช้กับ ผู้ที่เป็นลูกศิษย์ ลูกน้อง เพื่อนสนิท เพื่อแสดงความเป็นกันเอง เช่น เพื่อน ๆ มันรุมแกล้งฉัน ฯลฯ

56. ข้อใดมีคํากริยาช่วยที่แสดงกาลบอกปัจจุบัน
(1) เขาสอบวิชานี้ผ่านไปตั้งนานแล้ว
(2) เขาจะมาแก้บนเร็ว ๆ นี้
(3) เขากําลังเตรียมข้าวของไปไหว้พระ
(4) เขาได้ชวนฉันไปไหว้พระด้วยล่ะ
ตอบ 3 หน้า 2, 121 – 123 (62204), 7 – 8, 100 – 101 (H) การแสดงกาล คือ การแสดงให้รู้ว่า กริยานั้นกระทําเมื่อไร ซึ่งนอกจากจะต้องอาศัยกริยาช่วยเพื่อบอกกาลเวลาที่ต่างกันแล้ว เช่น คําว่า “จะกําลังจะ” (บอกอนาคต), “กําลัง/อยู่” (บอกปัจจุบัน), “ได้แล้ว” (บอกอดีต) ฯลฯ ก็ยังมีคํากริยาวิเศษณ์หรือกริยาบางคําที่ช่วยแสดงกาล โดยอาศัยเหตุการณ์และสภาพแวดล้อม เป็นเครื่องชี้ ดังนี้
1. บอกปัจจุบัน ได้แก่ เดี๋ยวนี้ ขณะนี้ ตอนนี้ วันนี้ ฯลฯ
2. บอกอนาคต ได้แก่ พรุ่งนี้ มะรืนนี้ ปีหน้า เดือนหน้า เร็ว ๆ นี้ ฯลฯ
3. บอกอดีต ได้แก่ เมื่อวานนี้ เมื่อก่อนนี้ เมื่อปีก่อน เพิ่งมา ฯลฯ

57. “แกควรจะไปผ่อนคลายเที่ยวเล่นบ้างนะเกลอเอ๋ย” ประโยคนี้มีคํากริยาช่วยที่แสดงเจตนาในเรื่องใด
(1) แสดงการคาดคะเน
(2) แสดงความมั่นใจของผู้พูด
(3) แสดงการบังคับ
(4) แสดงความเห็นในทางที่ถูกหรือเหมาะสม
ตอบ 4 หน้า 123 – 126 (62204), 101 (H) คําที่บอกมาลา (แสดงภาวะหรืออารมณ์) อาจจะใช้กริยาช่วย ได้แก่ คง จึง ควร จง ต้อง อาจ โปรด ย่อม เห็นจะ ฯลฯ หรือใช้คําอื่น ๆ ได้แก่ น่า นา เถอะ เถิด ซิ ซี ซินะ นะ นะ ละ ล่ะ เล่า หรอก ดอก ฯลฯ มาช่วยแสดง เช่น แกควรจะไปผ่อนคลายเที่ยวเล่นบ้างนะเกลอเอ๋ย (แสดงความเห็นในทางที่ถูกหรือเหมาะสม) ฯลฯ

58. ข้อใดมีคํากริยาช่วยแสดงกรรมวาจก
(1) ถูกใจไปหมดทุกสิ่ง
(3) ที่เธอพูดมานั้นถูกต้อง
(2) ของถูกต้องรีบไปซื้อ
(4) เธอถูกตรวจวัดอุณหภูมิ
ตอบ 4 หน้า 126 (62204) ในภาษาไทยไม่นิยมใช้คํากริยาช่วย “ถูก” แสดงกรรมวาจก นอกจากจะ ใช้ในเรื่องไม่ดีเท่านั้น เช่น เธอถูกตรวจวัดอุณหภูมิ, ผู้ตัดสินถูกคนดูโห่ไล่ ฯลฯ หากเป็นเรื่องดี ก็มักจะละคํากริยาช่วย “ถูก” หรือไม่ก็ใช้คําอื่นหรือเปลี่ยนรูปประโยคให้เป็นอย่างอื่นไป เช่น ทีมฟุตบอลถูกชื่นชม – ทีมฟุตบอลได้รับการชื่นชม ฯลฯ

59. กริยาในข้อใดที่มีความบริบูรณ์อยู่ในตัว
(1) เราเป็นคนไทย
(2) เขาวิ่งเล่น
(3) ฉันอยากผอมมาก
(4) เธอเปิดหน้าต่าง
ตอบ 2 หน้า 120 (62204), 100 – 101 (H) คํากริยาแบ่งออกได้ 3 ชนิด ดังนี้
1. คํากริยาที่ได้ความบริบูรณ์ในตัว ไม่ต้องมีกรรมมาช่วย ได้แก่ นกบิน, เขาวิ่งเล่น ฯลฯ
2. คํากริยาที่ยังไม่ได้ความบริบูรณ์ ต้องมีกรรมมาช่วย ได้แก่ ฉันอยากผอมมาก, เธอเปิดหน้าต่าง ฯลฯ หรือมีส่วนเสริมความถ้าเป็นกริยา “เป็นเหมือนคล้าย/เท่า”
3. คํากริยาช่วย คือ คําที่ช่วยบอกเนื้อความของกริยาให้แจ่มแจ้งชัดเจน ได้แก่ คง อาจ น่าจะ กําลัง ควร ต้อง ได้ จะ แล้ว อยู่ ฯลฯ

60. “พบไม้งามเมื่อขวานบิน” ประโยคนี้ใช้คําคุณศัพท์ชนิดใด
(1) บอกลักษณะหรือภาวะ
(2) บอกความชี้เฉพาะ
(3) บอกความแบ่งแยก
(4) บอกความไม่ชี้เฉพาะ
ตอบ 1 หน้า 130 (62204), 102 (H) คําคุณศัพท์ที่บอกลักษณะหรือบอกภาวะ (ลักษณคุณศัพท์) แบ่งออกได้ดังนี้
1. บอกลักษณะ ได้แก่ สูง ต่ำ ดํา ขาว ดี เลว งาม สวย น่ารัก แข็ง อ้วน ผอม ล่ำสัน กํายํา อดทน ฯลฯ
2. บอกภาวะ ได้แก่ เจ็บ ป่วย ตาย เป็น หัก พัง บิน แตก เซ เดาะ ทรุด เท เอียง บอบช้ำ ฟกช้ํำ เหี่ยวเฉา ร่วงโรย ฯลฯ ซึ่งบางคําอาจใช้เป็นคํากริยาได้

61. ข้อใดมีคําคุณศัพท์ที่เป็นคําถาม
(1) อะไรอยู่ตรงนั้น
(2) หนังสืออะไรก็ได้ที่จะอ่าน
(3) ลูกใครหนอเก่งจริง ๆ
(4) ใครทําข้อสอบนี้ได้บ้าง
ตอบ 3 หน้า 135 – 137 (62204), 102 (H) คุณศัพท์ที่เป็นคําถาม ได้แก่ ใด อะไร ไหน ไร ใคร ซึ่งเป็นคํากลุ่มเดียวกันกับคุณศัพท์ที่บอกความไม่ชี้เฉพาะเจาะจง แต่คุณศัพท์ที่เป็นคําถาม จะใช้ถามคําถาม และต้องมีนามมาข้างหน้า เช่น ลูกใครหนอเก่งจริง ๆ ฯลฯ

62. ข้อใดมีคํากริยาวิเศษณ์ที่บอกความแบ่งแยก
(1) พูดน้อยกินน้อย
(2) วิ่งพลางเดินพลาง
(3) มาเช้ากลับเย็น
(4) ซื้อง่ายขายง่าย
ตอบ 2 หน้า 139 (62204), 103 (H) คํากริยาวิเศษณ์บอกความแบ่งแยก ได้แก่ บ้าง ด้วย พลาง กัน ต่าง ต่าง ๆ ต่างหาก เช่น วิ่งพลางเดินพลาง (วิ่งและเดินไปพร้อม ๆ กัน) เป็นต้น

63. “เนื้อหมูหนักเกือบสิบกิโล” ประโยคนี้มีคํากริยาวิเศษณ์ชนิดใด
(1) บอกอาการ
(2) บอกภาวะ
(3) บอกประมาณ
(4) บอกความแบ่งแยก
ตอบ 3 หน้า 139 (62204), 103 (H) คํากริยาวิเศษณ์บอกประมาณ ได้แก่ มาก น้อย ทั้ง นิดหน่อย มากมาย เหลือเกิน พอ ครบ ขาด หมด สิ้น แทบ เกือบ จวน เสมอ บ่อย ฯลฯ ซึ่งคําเหล่านี้ ต้องวางอยู่หลังคํากริยา คุณศัพท์ หรือกริยาวิเศษณ์เอง เช่น เนื้อหมูหนักเกือบสิบกิโล ฯลฯ

64. ประโยคในข้อใดไม่ใช้คําบุรพบท
(1) เมื่อเช้าวันจันทร์ เขาเดินออกจากบ้าน
(2) เขากับลูกชายไปขึ้นรถที่สถานีรถไฟฟ้า
(3) เขาเตรียมปลูกต้นไม้ไว้มากเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว
(4) เขามาลงที่สถานีรถไฟฟ้าสวนจตุจักร เพราะจะมาเลือกซื้อต้นไม้
ตอบ 3 หน้า 142 – 152 (62204), 104 – 109 (H) คําบุรพบท หมายถึง คําที่นําหน้านามหรือคําที่ ทําหน้าที่ได้อย่างนาม เพื่อให้ข้อความต่อเนื่องกันและได้ความสมบูรณ์ แต่คําบางคําอาจเป็นได้ ทั้งบุรพบทและสันธาน ขึ้นอยู่กับข้อความที่มันไปเชื่อม เช่น คําว่า “เพื่อ” ถ้าหากเป็นบุรพบท จะนําหน้าคําที่เกี่ยวกับการให้การรับ เช่น เขาทํางานหนักเพื่อลูก ฯลฯ แต่ถ้าเป็นคําสันธานจะ ใช้เชื่อมความที่เป็นเหตุเป็นผลกัน เช่น เขาเตรียมปลูกต้นไม้ไว้มากเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นใช้คําบุรพบท ได้แก่ จาก ที่)

65.“เธอแวะซื้อขนมจากจากตลาดหนองมน เดินทางจากชลบุรีจนถึงบ้านที่บางจาก” ประโยคนี้มีคําว่า “จาก”
ที่เป็นคําบุรพบทที่คํา
(1) 1 คํา
(2) 2 pin
(3) 3 pin
(4) 4 คํา
ตอบ 2 หน้า 144, 147 (62204) คําว่า “จาก” เป็นบุรพบทที่นําหน้าคําที่เป็นแดนออก แดนพรากไป แยกไป ออกไป โดยใช้นําหน้านามของต้นทางที่มา เช่น เธอแวะซื้อขนมจากจากตลาดหนองมน เดินทางจากชลบุรีจนถึงบ้านที่บางจาก ฯลฯ (ส่วนคําว่า “ขนมจาก/บางจาก” เป็นคําประสม)

66. “รักก็คือรัก หลงก็คือหลง ถ้าถามชาวประมงก็คงไม่เข้าใจ” ประโยคที่ขีดเส้นใต้มีคําสันธานชนิดใด
(1) เชื่อมความขัดแย้งไปคนละทาง
(2) เชื่อมความเป็นเหตุเป็นผล
(3) เชื่อมความบอกความคาดคะเน
(4) เชื่อมความเปรียบเทียบกัน
ตอบ 3 หน้า 156 – 157 (62204), 107 (H) คําสันธานที่เชื่อมความคาดคะเนหรือแบ่งรับแบ่งสู้ ได้แก่ ถ้า, หาก, ถ้า…ก็, ถ้า…จึง, ถ้าหากว่า, แม้แต่, แม้ว่า, เว้นแต่, นอกจาก

67. ข้อใดใช้คําสันธานที่เชื่อมความที่คล้อยตามไปในทางเดียวกัน
(1) แต่ฉันเป็นทะเลไม่ใช่เขา
(2) ต่อให้ทํายังไงเธอคงจะไม่รักเรา เพราะเขานั้นคือทุกสิ่งที่ทําให้เธอไม่เหงา
(3) อยากมีรักเหมือนเขาสักที แต่ไม่เคยจะมีสักคนมาสนใจ
(4) พอแดดร้อนเธอก็มาหา พอตอนเย็นตกดึกเธอก็หายหน้า
ตอบ 4 หน้า 153 – 155 (62204), 106, 108 (H) คําสันธานที่เชื่อมความคล้อยตามกัน ทํานอง เดียวกัน ไม่ขัดแย้งกัน โดยทําหน้าที่เชื่อมความที่เกี่ยวกับเวลา ได้แก่ ก็, แล้วก็, แล้ว….จึง ครั้น…ก็, เมื่อ, เมื่อ….ก็, ครั้น…จึง, เมื่อ…จึง, พอ…ก็ ส่วนที่ทําหน้าที่เชื่อมความให้สอดคล้อง หรือรวมเข้าด้วยกัน ได้แก่ ทั้ง ทั้ง…ก็, ทั้ง และ, ก็ได้, ก็ดี, กับ, และ

68. ข้อใดคือลักษณนามของคําว่า “แถลงการณ์
(1) ฉบับ
(2) ใบ
(3) เล่ม
(4) ชุด
ตอบ 1 หน้า 160 – 165 (62204), 109 – 110 (H) คําลักษณนาม คือ คําที่ตามหลังคําบอกจํานวนนับ เพื่อบอกรูปลักษณะและชนิดคํานามที่อยู่ข้างหน้าคําบอกจํานวนนับ มักจะเป็นคําพยางค์เดียว แต่เป็นคําที่สร้างขึ้นมาใหม่โดยอาศัยการอุปมาเปรียบเทียบ การเลียนเสียงธรรมชาติ การเทียบ แนวเทียบ และการใช้คําซ้ํากับคํานามนั้นเอง (กรณีไม่มีลักษณนามโดยเฉพาะ) เช่น แถลงการณ์ (ฉบับ), เนกไท/ยางรถ (เส้น), ร่ม (คัน), ตะเกียง (ดวง) ฯลฯ

69. ข้อใดใช้ลักษณนามผิด
(1) ยางรถ 1 เส้น
(2) ร่ม 5 คัน
(3) เนกไท 1 สาย
(4) ตะเกียง 2 ดวง
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 68. ประกอบ

70. คําอุทานใดมาจากอารมณ์ความรู้สึกที่แตกต่างจากข้ออื่น
(1) เหม่เหม่ดูดู๊ไอ้ทรพี มาอ้างอวดฤทธิ์ว่ากล้าหาญ
(2) อนิจจาไม่รู้ว่ายังไรเลย พุทโธ่เอ๋ยเหมือนจะเป็นสะเป็นกัน
(3) ชี้หน้าแล้วร้องเยาะเย้ย เหวยเหวยไอ้ชาติเดียรัจฉาน
(4) ชิชะไมยราพขุนยักษ์ มาลอบลักสะกดกูได้
ตอบ 2 หน้า 158 – 160 (62204), 109 (H) คําอุทาน คือ คําที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ต่าง ๆ ซึ่งคําอุทานบางคําก็กําหนดไม่ได้ว่าคําไหนใช้แสดงอารมณ์อะไรแน่นอน แล้วแต่การออกเสียง และสถานการณ์ เช่น คําว่า “อุเหม่/เหม่เหม่/ดูด/เหวยเหวย/ชิชะ/ฮึ” แสดงอารมณ์โกรธหรือ ไม่ชอบใจ, “โธ่ถัง/พุทโธ่เอ๋ย/โถ/อนิจจา” แสดงอารมณ์เสียใจหรือสงสาร เป็นต้น

ข้อ 71 – 77. เลือกคําราชาศัพท์ที่ถูกต้องเติมในช่องว่างต่อไปนี้

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ___71___ดังนี้ วันนี้ เวลา 8 นาฬิกา 49 นาที สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ___72___ ไปยังหอประชุมพ่อขุนรามคําแหงมหาราช มหาวิทยาลัย รามคําแหง เขตบางกะปิ ในการนี้ ___73.___ โล่รางวัลต่าง ๆ อาทิ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น, นักวิทยาศาสตร์ รุ่นใหม่, ครูวิทยาศาสตร์ดีเด่น และนักเรียนชนะเลิศโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับประเทศ พร้อมกับ ___74.___ เปิดการประชุมวิชาการนานาชาติวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 46 ซึ่งมหาวิทยาลัยรามคําแหง ร่วมกับสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 5 ถึง 7 ตุลาคมนี้ ในหัวข้อ “พลังของวิทยาศาสตร์สู่เป้าหมายการพัฒนาแบบยั่งยืน”
…………………………….

จากนั้น เวลา 13 นาฬิกา 53 นาที พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ___75.___ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ___76.___ ไปยังมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จังหวัดนครปฐม ในการพระราชทานปริญญาบัตร และประกาศนียบัตรแก่ผู้สําเร็จ การศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันสบทบ ประจําปีการศึกษา 2562 เป็นวันแรก ซึ่งสภา มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ ___77.___ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชากายภาพบําบัด แด่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงให้การ ส่งเสริมและสนับสนุนโครงการต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือและดูแลแก่เด็กพิเศษ รวมถึงผู้พิการ และผู้มีปัญหา ด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย และผู้สูงอายุป่วยติดเตียงที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในโครงการต่าง ๆ (ที่มา : ปรับปรุงจากข่าวในพระราชสํานัก วันที่ 5 ตุลาคม 2563 https://ch3thailandnews.bectero.com/news/211545)

71.
(1) ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจ
(2) ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ
(3) ปฏิบัติพระกรณียกิจ
(4) ปฏิบัติพระราชกรณียกิจ
ตอบ 2 หน้า 173 (62204), 113 (H), (คําบรรยาย) ตามหลักเกณฑ์การเติมคําว่า “ทรง” หน้ากริยา ราชาศัพท์นั้น จะเติม “ทรง” หน้าคํานามหรือคํากริยาสามัญเพื่อทําให้คํานั้นเป็นราชาศัพท์ เช่น ทรงปฏิบัติ, ทรงวิ่ง, ทรงทะนุบํารุง ฯลฯ และเติม “ทรง” หน้านามราชาศัพท์เพื่อทําให้ กลายเป็นกริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้, ทรงพระอักษร ฯลฯ แต่ห้ามเติม “ทรง” ซ้อนกับคํากริยาที่เป็นราชาศัพท์อยู่แล้ว เช่น เสด็จพระราชดําเนิน พระราชทาน ทอดพระเนตร ฯลฯ ส่วนราชาศัพท์ที่มีคําว่า “ราช” จะใช้กับพระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระราชวงศ์ลําดับที่ 2 เท่านั้น (ในข้อนี้จึงใช้ว่า ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ – กระทําภารกิจ)

72.
(1) เสด็จพระราชดําเนิน
(2) ทรงเสด็จพระราชดําเนิน
(3) ทรงพระดําเนิน
(4) เสด็จ
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 71. ประกอบ) เสด็จพระราชดําเนิน (เสด็จฯ) = เดินทางไปโดยยานพาหนะ

73.
(1) ทรงพระราชทาน
(2) ทรงประทาน
(3) พระราชทาน
(4) ทรงมอบ
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 71. ประกอบ) พระราชทาน = ให้

74.
(1) มีพระราชดํารัส
(2) ทรงมีพระราชดํารัส
(3) มีพระดํารัส
(4) ทรงมีพระดํารัส
ตอบ 1 หน้า 117 (H) คํากริยา “มี/เป็น” เมื่อใช้เป็นราชาศัพท์มีข้อสังเกต ดังนี้
1. หากคําที่ตามหลัง “มี/เป็น” เป็นนามราชาศัพท์อยู่แล้ว ไม่ต้องเติม “ทรง” หน้าคํากริยา “มี/เป็น” อีก เช่น มีพระราชดํารัส (มีคําพูด), เป็นพระราชธิดา (เป็นลูกสาว) ฯลฯ
2. หากคําที่ตามหลัง “มี/เป็น” เป็นคําสามัญ ให้เติม “ทรง” หน้าคํากริยา “มี/เป็น เพื่อทําให้เป็นราชาศัพท์ เช่น ทรงมีลูกสุนัข, ทรงเป็นผู้แทนพระองค์ ฯลฯ

75.
(1) ทรงให้
(2) ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าให้
(3) ทรงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้
(4) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 71. ประกอบ) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ (ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้) = มีความกรุณาและพอพระราชหฤทัยให้ (ใช้กับพระมหากษัตริย์ ซึ่งในที่นี้คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)

76.
(1) เสด็จแทนพระองค์
(2) เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค์
(3) ทรงเสด็จแทนพระองค์
(4) ทรงเสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค์
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 71. ประกอบ) เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค์ (เสด็จฯ แทนพระองค์) = เดินทางไปโดยยานพาหนะแทนพระมหากษัตริย์ ซึ่งในที่นี้คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

77.
(1) ถวาย
(2) ทูลถวาย
(3) น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย
(4) ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย
ตอบ 4 หน้า 176 (62204), 116 (H) ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ทูลเกล้าฯ ถวาย) = ถวายสิ่งของขนาดเล็ก (ของที่ยกได้) หรือถวายสิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น ทูลเกล้าฯ ถวายเงิน, ทูลเกล้าฯ ถวาย ปริญญา ฯลฯ ส่วนน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย น้อมเกล้าฯ ถวาย) = ถวายสิ่งของขนาดใหญ่ (ของที่ยกขึ้นไม่ได้) หรือถวายสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดิน, น้อมเกล้าฯ ถวาย รถพยาบาล, น้อมเกล้าฯ ถวายพระพร ฯลฯ

ข้อ 77 – 80. เลือกคําที่ถูกต้องเติมในช่องว่างต่อไปนี้

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ___78.___ เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2454 ในเรือกลาง แม่น้ำเจ้าพระยา ณ ตําบลบ้านม้า อําเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ดํารงตําแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 13 ของประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2518 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ___79.___ ด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538 ณ โรงพยาบาลสมิติเวช รวม ___80.___ 84 ปี 172 วัน

78.
(1) ประสูติ
(2) สมภพ
(3) ทรงประสูติ
(4) เกิด
ตอบ 4 หน้า 111 – 112 (H) ราชาศัพท์เป็นถ้อยคําที่ใช้กับพระบรมวงศานุวงศ์ไทยในระดับหม่อมเจ้า และเหนือขึ้นไป ส่วนเจ้านายในระดับหม่อมราชวงศ์ (ม.ร.ว.) และหม่อมหลวง (ม.ล.) จะไม่ใช้ ราชาศัพท์ แต่ใช้เพียงคําสุภาพทั่วไปเท่านั้น

79.
(1) สิ้นพระชนม์
(2) สิ้นชีพิตักษัย
(3) ถึงแก่อสัญกรรม
(4) ถึงแก่กรรม
ตอบ 3 ถึงแก่อสัญกรรม = ตาย ใช้กับผู้ตายที่มีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยา หรือผู้ดํารงตําแหน่ง ประธานองคมนตรี องคมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานสภา ฯลฯ (ส่วนสิ้นพระชนม์ ตาย ใช้กับสมเด็จพระสังฆราชเจ้า พระสังฆราช สมเด็จเจ้าฟ้า เจ้าฟ้า และพระองค์เจ้า สิ้นชีพิตักษัย = ตาย ใช้กับหม่อมเจ้า, ถึงแก่กรรม = ตาย ใช้กับสุภาพชนทั่วไป)

80.
(1) พระชนมายุ
(2) อายุ
(3) พระชันษา
(4) ชันษา
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 78. ประกอบ

ข้อ 81 – 91. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคําถาม

วิทยาศาสตร์ พบว่า พรหมลิขิตอาจไม่ได้ลิขิตชีวิตมนุษย์เสียแล้ว หากแต่น่าจะเป็นดินฟ้า อากาศต่างหากที่ลิขิตให้มนุษย์แต่ละคนมีบุคลิกภาพต่าง ๆ กัน ตลอดจนสุขภาพเมื่อตอนเติบโตขึ้นด้วย

หนังสือพิมพ์ “เดอะซันเดย์ เทเลกราฟ” ชื่อดังของอังกฤษรายงานว่า คณะนักวิจัยมหาวิทยาลัย เฮิร์ทฟอร์ดเชียร์ของอังกฤษศึกษา พบว่า ฤดูเกิดมีอิทธิพลลิขิตนิสัยสันดานคนต่าง ๆ กัน

อย่างเช่น ผู้หญิงทางซีกโลกเหนือที่เกิดในเดือนพฤษภาคมมักจะเป็นคนใจร้อน ในขณะที่ผู้ที่เกิดในฤดูใบไม้ร่วง เดือนพฤศจิกายน จะเป็นคนช่างพินิจพิจารณา ขณะที่ถ้าเป็นชายเกิดในฤดูใบไม้ผลิ จะเป็นคนที่มีความอดกลั้นต่างกับผู้ที่เกิดในฤดูหนาว

ผู้ที่เกิดตรงกับฤดูใบไม้ร่วงจะเป็นคนแข็งแรงว่องไว เหมาะกับจะเป็นนักฟุตบอล ส่วนผู้ที่เกิดในฤดูใบไม้ผลิก็จะเป็นผู้มีสติปัญญาดี มีฝีไม้ลายมือดีในการเล่นหมากรุก

ในทํานองเดียวกัน ผู้ที่เกิดช่วงระหว่างเดือนกันยายนและธันวาคมมักจะเป็นคนที่อาจเกิดมีอาการหวาดกลัวหรือหวาดผวาสุดขีด พร้อมทั้งกําลังมีหลักฐานเพิ่มขึ้นว่า ผู้ที่เกิดปลายฤดูหนาวและ ต้นฤดูใบไม้ผลิมักจะเจ็บป่วยเป็นโรคจิตเภทกันสูง

ศาสตราจารย์ริชาร์ด ไวส์แมน หัวหน้าคณะ กล่าวว่า “ท่านอาจพอจะคาดได้ว่า ตัวการเป็นเพราะอุณหภูมินั่นเอง ดังนั้นผลหลายอย่างจะกลับกันอยู่ในซีกโลกทั้งสอง” พร้อมกันนั้นศาสตราจารย์จอห์น อีเกิล มหาวิทยาลัยอะเบอร์ดีน ยังให้ความเห็นว่า “ตัวการใหญ่มีอยู่ 2 ตัว คือ อาหารกับความแปรผันของโภชนาการ และโรคภัยไข้เจ็บที่ซุกอยู่ในฤดูหนาว นอกจากนั้นสาเหตุทางกรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อม อย่างอื่นก็มีส่วนด้วย ดังนั้นฤดูกาลในการเกิดเป็นเพียงปัจจัยเสริมเท่านั้น”

(หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับวันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2550 หน้า 7)

81. โวหารการเขียนเป็นแบบใด
(1) บรรยาย
(2) อภิปราย
(3) อธิบาย
(4) พรรณนา
ตอบ 3 หน้า 72 (54351), (คําบรรยาย) โวหารเชิงอธิบาย คือ โวหารที่ใช้ในการชี้แจงเพื่อให้ผู้อ่าน เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างชัดเจนแจ่มแจ้ง ซึ่งเป็นการให้ความรู้หรือข้อมูลแต่เพียงด้านเดียว อาจจะเป็นด้านบวกหรือด้านลบก็ได้ โดยมีการชี้แจงแสดงเหตุและผล การยกตัวอย่างประกอบ การเปรียบเทียบ และการจําแนกแจกแจง เช่น การอธิบายความหมายของคํา กฎเกณฑ์ ทฤษฎี และวิธีการต่าง ๆ

82. ข้อความที่อ่านจัดเป็นวรรณกรรมประเภทใด
(1) บทความ
(2) สรุปผลงานวิจัย
(3) สรุปผลการค้นคว้า
(4) บทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตอบ 1 (คําบรรยาย) บทความ คือ งานเขียนที่มีการนําเสนอข้อมูลที่ได้มาจากเอกสารทางวิชาการ หรือผลงานการวิจัย ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็นเพื่อให้ข้อมูลหรือความรู้ และมีการสรุป ให้เห็นความสําคัญของเรื่อง พร้อมทั้งเสนอข้อคิดให้ผู้อ่านนําไปพิจารณา

83. ท่วงทํานองเขียนเป็นแบบใด
(1) เรียบง่าย
(2) วกวน
(3) สละสลวย
(4) กระชับรัดกุม
ตอบ 1 หน้า 58 (54351) ผู้เขียนใช้ท่วงทํานองเขียนแบบเรียบง่าย คือ ท่วงทํานองเขียนที่ใช้คําง่าย ๆ ชัดเจน การผูกประโยคไม่ซับซ้อน ทําให้อ่านง่ายและเข้าใจได้ทันที โดยไม่ต้องเสียเวลาในการ ขบคิดมากนัก

84. ยังมีสิ่งใดอีกที่แสดงอิทธิพลของฤดูกาลนอกเหนือจากบุคลิกและสุขภาพ
(1) รสนิยม
(2) โรคภัยไข้เจ็บ
(3) อาหารการกิน
(4) การกีฬา
ตอบ 2 จากข้อความ… ในทํานองเดียวกัน ผู้ที่เกิดช่วงระหว่างเดือนกันยายนและธันวาคมมักจะเป็นคนที่อาจเกิดมีอาการหวาดกลัวหรือหวาดผวาสุดขีด พร้อมทั้งกําลังมีหลักฐานเพิ่มขึ้นว่า ผู้ที่เกิดปลายฤดูหนาวและต้นฤดูใบไม้ผลิมักจะเจ็บป่วยเป็นโรคจิตเภทกันสูง

85. น้ำเสียงของคณะผู้วิจัยเป็นอย่างไร
(1) มั่นใจ
(2) ภูมิใจ
(3) ลังเล
(4) คาดคะเน
ตอบ 4 น้ําเสียงของคณะผู้วิจัยจากข้อความที่อ่านเป็นแบบคาดคะเน หรือคาดหมายว่าน่าจะเป็น
เช่นนั้นโดยส่วนใหญ่

86. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคนที่เกิดในฤดูใบไม้ร่วง
(1) เป็นคนช่างพิจารณา
(2) มักมีอาการหวาดผวา
(3) เป็นผู้แข็งแรงว่องไว
(4) เหมาะที่จะเป็นนักกีฬาฟุตบอล
ตอบ 2 จากข้อความ… อย่างเช่น ผู้หญิงทางซีกโลกเหนือที่เกิดในเดือนพฤษภาคมมักจะเป็นคนใจร้อน ในขณะที่ผู้ที่เกิดในฤดูใบไม้ร่วง เดือนพฤศจิกายน จะเป็นคนช่างพินิจพิจารณา ขณะที่ถ้าเป็นชายเกิดในฤดูใบไม้ผลิจะเป็นคนที่มีความอดกลั้นต่างกับผู้ที่เกิดในฤดูหนาว ผู้ที่เกิดตรงกับฤดูใบไม้ร่วงจะเป็นคนแข็งแรงว่องไว เหมาะกับจะเป็นนักฟุตบอล ส่วนผู้ที่เกิดในฤดูใบไม้ผลิก็จะเป็นผู้มีสติปัญญาดี มีฝีไม้ลายมือดีในการเล่นหมากรุก

87. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยหลักในการกําหนดบุคลิกและสุขภาพ
(1) ฤดูกาลในการเกิด
(2) โรคภัยในบางฤดู
(3) กรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อม
(4) ความเปลี่ยนแปลงทางโภชนาการ
ตอบ 1 จากข้อความ… ศาสตราจารย์จอห์น อีเกิล มหาวิทยาลัยอะเบอร์ดีน ยังให้ความเห็นว่า ตัวการ ใหญ่มีอยู่ 2 ตัว คือ อาหารกับความแปรผันของโภชนาการ และโรคภัยไข้เจ็บที่ซุกอยู่ในฤดูหนาว นอกจากนั้นสาเหตุทางกรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อมอย่างอื่นก็มีส่วนด้วย ดังนั้นฤดูกาลในการเกิดเป็นเพียงปัจจัยเสริมเท่านั้น

88. เหตุใดจึงจําแนกบุคลิกและสุขภาพของแต่ละคนตามฤดูใบไม้ร่วง ใบไม้ผลิ ฯลฯ
(1) เพราะธรรมชาติมีอิทธิพลต่อชีวิต
(2) เพราะคณะวิจัยเป็นชาวอังกฤษ
(3) เพราะเป็นที่คุ้นเคยต่อชีวิตประจําวัน
(4) เพราะธรรมชาติส่งผลต่อความเป็นอยู่
ตอบ 1 จากข้อความ… วิทยาศาสตร์ พบว่า พรหมลิขิตอาจไม่ได้ลิขิตชีวิตมนุษย์เสียแล้ว หากแต่น่าจะเป็นดินฟ้าอากาศต่างหากที่ลิขิตให้มนุษย์แต่ละคนมีบุคลิกภาพต่าง ๆ กัน ตลอดจนสุขภาพ เมื่อตอนเติบโตขึ้นด้วย หนังสือพิมพ์ “เดอะซันเดย์ เทเลกราฟ” ชื่อดังของอังกฤษรายงานว่า คณะนักวิจัยมหาวิทยาลัยเฮิร์ทฟอร์ดเชียร์ของอังกฤษศึกษา พบว่า ฤดูเกิดมีอิทธิพลลิขิตนิสัยสันดานคนต่าง ๆ กัน

89. ข้อใดกล่าวถึงผู้ที่เกิดในต้นฤดูใบไม้ผลิได้ถูกต้อง
(1) เป็นผู้มีสติปัญญาดี
(2) เป็นผู้มีความอดกลั้น
(3) มีโอกาสเป็นโรคจิตเภทสูง
(4) เป็นผู้เล่นหมากรุกได้ดี
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 84. ประกอบ

90. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
(1) ผู้ที่เกิดในฤดูหนาว จะเป็นคนที่ไม่มีความอดกลั้น
(2) ผู้ที่เกิดในฤดูใบไม้ผลิ จะเป็นคนที่ไม่มีความอดกลั้น
(3) ผู้ที่เกิดในฤดูใบไม้ร่วง จะเป็นคนที่ไม่มีความอดกลั้น
(4) ผู้ที่เกิดในปลายฤดูหนาว ต้นฤดูใบไม้ผลิ จะเป็นคนที่ไม่มีความอดกลั้น
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 86. ประกอบ

91.ศาสตราจารย์จอห์น อีเกิล มหาวิทยาลัยอะเบอร์ดีน กล่าวว่า ตัวการใดที่ส่งผลกระทบต่อมนุษย์น้อยที่สุด
(1) กรรมพันธุ์
(2) อาหาร
(3) ฤดูกาล
(4) โรคภัยไข้เจ็บ
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 87. ประกอบ

92. ข้อใดมีคําที่สะกดผิดปรากฏอยู่ด้วย
(1) เบรก โลกาภิวัตน์ ล็อกล้อ
(2) ผาสุก เบญจเพศ โน้ตดนตรี
(3) คลินิก อานิสงส์ ผุดลุกผุดนั่ง
(4) เภทภัย ผลัดเปลี่ยน เจตนารมณ์
ตอบ 2 คําที่สะกดผิด ได้แก่ เบญจเพศ ซึ่งที่ถูกต้องคือ เบญจเพส

93. ข้อใดมีคําที่สะกดถูกขนาบคําที่สะกดผิด
(1) สีสัน บุคลิก บิดพลิ้ว
(3) ไอศกรีม ผลัดผ้า รื่นรมย์
(2) ผัดผ่อน คํานวณ กระทะ
(4) อิสรภาพ อนุญาติ ทะเลสาบ
ตอบ 4 คําที่สะกดผิด ได้แก่ อนุญาติ ซึ่งที่ถูกต้องคือ อนุญาต

94. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา
(1) ถั่วพู บิณฑบาต ข้าวกบหม้อ
(2) กงศุล กะเพาะ กระตือรือร้น
(3) กะเพรา บังสุกุล กระทัดรัด
(4) เครื่องราง กระทันหัน เกร็ดพงศาวดาร
ตอบ 1 คําที่สะกดผิด ได้แก่ กงศุล กระทัดรัด กระทันหัน
ซึ่งที่ถูกต้องคือ กงสุล กะทัดรัด กะทันหัน

95. ข้อใดสะกดผิดทุกคํา
(1) หงส์ ต้มโคล้ง ตระเวน
(2) กากบาท ขนมเค้ก เกษียณอายุ
(3) กร้าวร้าว ขนมคุ้กกี้ ถนนราดยาง
(4) เสื้อเชิ้ต ราดยางถนน บิณฑบาต
ตอบ 3 คําที่สะกดผิด ได้แก่ กร้าวร้าว ขนมคุ้กกี้ ถนนราดยาง
ซึ่งที่ถูกต้องคือ ก้าวร้าว ขนมคุกกี้ ถนนลาดยาง

96. ข้อใดมีคําที่สะกดถูกสลับกับคําที่สะกดผิด
(1) กะโหลก กระจิริด ลําไย กําเนิด
(2) เกล็ดปลา รถแท็กซี รสชาติ พรางตา
(3) บรรทุก บ้านจัดสรร เผ่าพันธุ์ พังทลาย
(4) ปิกนิก สี่เหลี่ยมจตุรัส พึมพํา ผลัดวันประกันพรุ่ง
ตอบ 4 คําที่สะกดผิด ได้แก่ สี่เหลี่ยมจตุรัส ผลัดวันประกันพรุ่ง
ซึ่งที่ถูกต้องคือ สี่เหลี่ยมจัตุรัส ผัดวันประกันพรุ่ง

ข้อ 97 – 100. ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคําถาม

(1) ปล่อยเสือเข้าป่า ปากหวานก้นเปรี้ยว ชิงสุกก่อนห่าม
(2) ปากหวาน กระดี่ได้น้ำ ฆ้องปากแตก
(3) คลื่นใต้น้ำ ฆ่าควายอย่าเสียดายพริก รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา
(4) น้ำขึ้นให้รีบตัก ช้าๆ ได้พร้าสองเล่มงาม น้ำขุ่นไว้ใน น้ำใสไว้นอก

97. ข้อใดมีแต่สํานวน
ตอบ 2 หน้า 119 – 121 (H) ข้อแตกต่างของสํานวน คําพังเพย และสุภาษิต มีดังนี้

1. สํานวน หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นอย่างกะทัดรัด ใช้คําน้อยแต่กินความหมายมาก และเป็นความหมายโดยนัยหรือโดยเปรียบเทียบ เช่น ปากหวาน (พูดจาไพเราะ มักใช้ในทางที่ ล่อใจหรือไม่จริงใจ), กระดี่ได้น้ำ (ใช้เปรียบเทียบคนที่แสดงอาการดีอกดีใจตื่นเต้นจนตัวสั่น), ฆ้องปากแตก (ปากโป้ง เก็บความลับไม่ค่อยจะอยู่), คลื่นใต้น้ำ (เหตุการณ์ที่คุกรุ่นอยู่ภายใน แต่ภายนอกดูเหมือนสงบเรียบร้อย), นกสองหัว (คนที่ทําตัวฝักใฝ่เข้าด้วยทั้ง 2 ฝ่ายที่ไม่เป็น มิตรกัน โดยหวังเพื่อประโยชน์ตน) เป็นต้น

2. คําพังเพย หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อตีความ สรุปเหตุการณ์ สภาวการณ์ บุคลิก และอารมณ์ให้เข้ากับเรื่อง มีความหมายกลาง ๆ ไม่เน้นการสั่งสอน แต่แฝงคติเตือนใจให้ นําไปปฏิบัติหรือไม่ให้นําไปปฏิบัติ เช่น ปล่อยเสือเข้าป่า (ปล่อยศัตรูไปอาจกลับมาทําร้าย ภายหลังอีก), ปากหวานก้นเปรี้ยว (พูดจาอ่อนหวานแต่ไม่จริงใจ), ชิงสุกก่อนห่าม (ทําสิ่งที่ ยังไม่สมควรแก่วัยหรือยังไม่ถึงเวลา หมายถึง การลักลอบได้เสียกันก่อนแต่งงาน), ฆ่าควายอย่าเสียดายพริก (ทําการใหญ่ไม่ควรตระหนี่) เป็นต้น

3. สุภาษิต หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อสั่งสอนโดยตรง ซึ่งอาจเป็นคติ ข้อติติง คําจูงใจ หรือคําห้าม และเนื้อความที่สั่งสอนก็เป็นความจริง เป็นความดีที่ยอมรับกันโดยทั่วไป เช่น น้ำขึ้นให้รีบตัก (มีโอกาสดีก็ควรรีบทํา), ช้า ๆ ได้พร้าสองเล่มงาม (ค่อย ๆ คิด ค่อย ๆ ทํา แล้วจะสําเร็จผล), น้ำอุ่นไว้ใน น้ำใสไว้นอก (แม้จะไม่พอใจก็ควรแสดงสีหน้ายิ้มแย้ม), รักดี หามจั่ว รักชั่วหามเสา (ใฝ่ดีมีความสุขความเจริญ ใฝ่ชั่วก็จะได้รับความลําบาก) เป็นต้น

98.ข้อใดมีแต่คําพังเพย
ตอบ 1. ดูคําอธิบายข้อ 97. ประกอบ

99. ข้อใดเป็นสุภาษิตทั้งหมด
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 97. ประกอบ

100. ข้อใดเรียงลําดับถูกต้องตั้งแต่สํานวน คําพังเพย และสุภาษิต
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 97. ประกอบ

101. “นกสองหัว” เป็นถ้อยคําประเภทใด
(1) คําซ้อน
(2) สุภาษิต
(3) คําพังเพย
(4) สํานวน
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 97. ประกอบ

102. “ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่” ตรงกับความหมายใด
(1) ยกตัวเองให้พ้นจากความผิดที่ก่อขึ้น
(2) ต่างฝ่ายต่างรู้ความลับของกันและกัน
(3) ให้รู้จักพิจารณาคนที่เลือกมาเป็นคู่ครอง
(4) คนเราย่อมเห็นข้อบกพร่องของผู้อื่นชัดเจนกว่าของตนเอง
ตอบ 2 ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ = ต่างฝ่ายต่างรู้ความลับของกันและกัน

103. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับความหมายที่ว่า “บ้าๆ บอ ๆ มีสติไม่สมบูรณ์”
(1) ไม่เต็มเต็ง
(2) ไม่เข้ายา
(3) ไม่เต็มบาท
(4) สองสลึงเฟื้อง
ตอบ 2 ไม่เข้ายา = ไม่ได้เรื่อง ไม่ได้ความ (ส่วนไม่เต็มเต็ง/ไม่เต็มบาท = บ้า ๆ บอ ๆ มีสติไม่สมบูรณ์ มีจิตใจใกล้ไปทางบ้า ๆ บอ ๆ, สองสลึงเฟือง หรือสามสลึงเฟื้องก็ว่า)

104. ข้อใดมีความหมายว่า “คนที่ชอบพูดเอะอะแสดงว่าเก่ง แต่ไม่กล้าจริง”
(1) หมาในรางหญ้า
(2) หมาเห่าใบตองแห้ง
(3) เอามือซุกหีบ
(4) ละเลงขนมเบื้องด้วยปาก
ตอบ 2 หมาเห่าใบตองแห้ง = คนที่ชอบพูดเอะอะแสดงว่าเก่ง แต่ไม่กล้าจริง (ส่วนหมาในรางหญ้า = คนที่หวงแหนสิ่งที่ตนเองกินหรือใช้ไม่ได้ แต่ไม่ยอมให้คนอื่นกินหรือใช้, เอามือซุกหีบ = หาเรื่อง เดือดร้อนใส่ตัวโดยใช่ที่, ละเลงขนมเบื้องด้วยปาก = ดีแต่พูดแต่ทําไม่ได้)

105. ข้อใดมีความหมายตรงกับ “ซื้อของไม่คํานึงถึงกาลเวลา ย่อมได้ของแพง”
(1) ขี่ช้างจับตั๊กแตน
(2) ตําน้ำพริกละลายแม่น้ำ
(3) ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเห็น
(4) ซื้อควายหน้านา ซื้อผ้าหน้าตรุษ
ตอบ 4 ซื้อควายหน้านา ซื้อผ้าหน้าตรุษ = ซื้อของไม่คํานึงถึงกาลเวลา ย่อมได้ของแพง, ทําอะไรที่ ไม่เหมาะกับกาลเวลา ย่อมได้รับความเดือดร้อน (ส่วนขี่ช้างจับตั๊กแตน = ลงทุนเอาไว้มาก แต่ได้ผลนิดหน่อย, ตําน้ําพริกละลายแม่น้ำ = ลงทุนไปโดยได้ผลประโยชน์ไม่คุ้มทุน, ลอด ตาช้าง ห่างลอดตาเล็น = ดูเหมือนรอบคอบถี่ถ้วน แต่ไม่รอบคอบถี่ถ้วนจริง)

106. “ละเลงขนมเบื้องด้วยปาก” ตรงกับข้อใด
(1) ง่าย สะดวก ไม่ยุ่งยาก
(2) ดีแต่พูดแต่ทําไม่ได้
(3) พูดอย่างหนึ่งแต่ทําอีกอย่างหนึ่ง
(4) พูดดีแต่ใจคิดร้าย
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 104. ประกอบ

107. คนงานเตรียม………………………ผลไม้
(1) ร่อง
(2) ล่อง
(3) รอง
(4) ลอง
ตอบ 1 คําว่า “ร่อง” = รอยลึกเป็นช่องทางไปตามยาว, สันดินระหว่างท้องร่องสําหรับเพาะปลูก เช่น ร่องผัก ร่องมัน (ส่วนคําว่า “ล่อง” = ช่องตามพื้นที่ทําไว้สําหรับให้สิ่งของลอดลงได้, “รอง” = รับรวมของเหลวหรือสิ่งอื่นที่ไหลตกลงมา เช่น รองน้ำไว้ดื่ม, “ลอง” = กระทําอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้รู้ว่าเป็นอย่างไร)

108. คนป่วยมีอาการ……..เต็มที่แล้ว
(1) ร่อแล่
(2) ร่อแร่
(3) ล่อแร่
(4) ล่อแล่
ตอบ 2 คําว่า “ร่อแร่” – อาการหนักจวนตาย เช่น อยู่ในอาการร่อแร่ (ส่วนคําว่า “พ่อแม่” = พูดไม่ชัด พูดไม่ได้ความ, “ร่อแล่/ล่อแร่” เป็นคําที่เขียนผิด)

109. พอเห็นเธอแต่งชุดงาม……..ก็ตกตะลึง……..
(1) พิ้ง พรึงเพริด
(2) ทิ้ง พึงเพริด
(3) พริ้ง พรึงเพริด
(4) พริ้ง พึงเพริด
ตอบ 3 คําว่า “พริ้ง” = งามงอน สะสวยมาก ชอบแต่งตัวให้งดงามและทันสมัยอยู่เสมอ, “พรึงเพริด” (ในคําว่า ตะลึงพรึงเพริด) = ตะลึงจนลืมตัว (ส่วนคําว่า “พิ้ง/จึงเพริด” เป็นคําที่เขียนผิด)

110 ผู้ใหญ่บ้าน…….เงิน สร้างศาลา…..…
(1) เรี่ยไร การเปรียน
(2) เรี่ยราย การเปรียน
(3) เรี่ยไร การเปรียญ
(4) เรี่ยราย การเปรียญ
ตอบ 3 คําว่า “เรี่ยไร” = ขอร้องให้ช่วยออกเงินทําบุญตามสมัครใจ, “ศาลาการเปรียญ” = ศาลาวัด สําหรับพระสงฆ์แสดงธรรม (ส่วนคําว่า “เรี่ยราย” = กระจายเกลื่อนไป, “การเปรียน” เป็นคําที่เขียนผิด)

111. เขามีรูปร่างสูง………มีฐานะดี คุณสมบัติ…….ทุกอย่าง
(1) เพียว เพียบพร้อม
(2) เพียว เพรียบพร้อม
(3) เพรียว เพียบพร้อม
(4) เพรียว เพรียบพร้อม
ตอบ 3 คําว่า “เพรียว” = เปรียว ฉลวย เรียว เช่น รูปร่างสูงเพรียว, “เพียบพร้อม” = เต็มเปี่ยมครบทุกอย่าง (ส่วนคําว่า “เพียว/เพรียบพร้อม” เป็นคําที่เขียนผิด)

112. วันนี้ฝนตก…………………………ขึ้นมาได้
(1) ปอย ๆ นาปลัง
(2) ปอย ๆ นาปรัง
(3) ปรอย ๆ นาปลัง
(4) ปรอย ๆ นาปรัง
ตอบ 4 คําว่า “ปรอย ๆ” = ที่ตกเป็นระยะ ๆ ไม่หนาเม็ด (ใช้กับฝน) เช่น ฝนตกปรอย ๆ, “นาปรัง” = นาที่ทําในฤดูแล้งนอกฤดูทํานา (ส่วนคําว่า “ปอย ๆ /นาปลัง” เป็นคําที่เขียนผิด)

113. “วิทยากรบรรยายให้นักศึกษาฟังเรื่องโรคระบาด” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ใช้คําฟุ่มเฟือย
(2) วางส่วนขยายผิดที่
(3) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(4) ใช้คําต่างศักดิ์กัน
ตอบ 2 หน้า 37 (54351) การเรียงลําดับประโยคให้ถูกที่ หมายถึง การวางประธาน กริยา กรรม และส่วนขยายให้ตรงตามตําแหน่ง เพราะถ้าหากวางไม่ถูกที่จะทําให้ข้อความนั้นไม่ชัดเจน หรือมีความหมายไม่ตรงตามต้องการ เช่น วิทยากรบรรยายให้นักศึกษาฟังเรื่องโรคระบาด (วางส่วนขยายผิดที่ หรือใช้คําขยายไม่ถูกต้อง) จึงควรแก้ไขโดยวางส่วนขยายให้ถูกต้องเป็น วิทยากรบรรยายเรื่องโรคระบาดให้นักศึกษาฟัง

114. ข้อใดใช้ภาษาเขียน
(1) เมื่อไหร่เขาจะเลิกงาน
(2) เขาเข้าสอบเวลา 9.30 น.
(3) เขาเป็นเพื่อนที่ดีมาก ๆ
(4) ยังไงฉันก็จะรอเขาอยู่ที่นี่
ตอบ 2 หน้า 6 – 7 (54351), (คําบรรยาย) ระดับของคําในภาษาไทยมีศักดิ์ต่างกัน เวลานําไปใช้ก็ใช้ ในที่ต่างกัน ดังนั้นจึงต้องพิจารณาใช้คําให้เหมาะสม กล่าวคือ
1. คําที่ใช้ในโอกาสที่เป็นทางการ ได้แก่ คําที่ใช้ในภาษาแบบแผน หรือภาษาเขียนของ ทางราชการ เช่น เมื่อใด เหตุใด อย่างไร เท่าไร ฯลฯ
2. คําที่ใช้ในโอกาสที่ไม่เป็นทางการ ได้แก่ คําที่ใช้ในภาษาพูด หรือการเขียนจดหมายส่วนตัว ถึงบุคคลที่สนิทสนมกัน เช่น เมื่อไหร่ ยังไง เท่าไหร่ ฯลฯ ซึ่งในบางครั้งก็มักจะใช้คําซ้ำ เช่น เขาเป็นเพื่อนที่ดีมาก ๆ ฯลฯ หรือตัดคําให้สั้นลง เช่น มหาลัย คณะวิศวะ คณะมนุษย์ นายก โรงบาล มอไซค์ ฯลฯ

115. “บนถนนที่เต็มไปด้วยผู้ชุมนุมจํานวนมาก” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ใช้คําฟุ่มเฟือย
(2) ใช้คํากํากวม
(3) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(4) วางส่วนขยายผิดที่
ตอบ 3 หน้า 38 (54351) การใช้คําตามแบบภาษาไทย คือ การทําให้ข้อความที่ผูกขึ้นมีลักษณะเป็นภาษาไทย ไม่เลียนแบบภาษาต่างประเทศ ซึ่งจะทําให้ข้อความกะทัดรัด เข้าใจง่าย และ ไม่เคอะเขิน เช่น บนถนนที่เต็มไปด้วยผู้ชุมนุมจํานวนมาก (ใช้สํานวนต่างประเทศ) จึงควรแก้ไขเป็นผู้ชุมนุมจํานวนมากอยู่บนถนน

116. “เขาเป็นคนเรียนเก่งเพราะพ่อเขาเป็นทูต” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ใช้คํากํากวม
(2) ใช้คําต่างประเทศ
(3) วางส่วนขยายผิดที่
(4) ประโยคไม่มีเอกภาพ
ตอบ 4 หน้า 40 (54351), (คําบรรยาย) การจํากัดความให้ประโยคมีเอกภาพ คือ การใช้ประโยคหรือ ข้อความซ้อนกันต้องให้ใจความเกี่ยวข้องหรือเป็นเหตุเป็นผลกัน ไม่ควรให้กระจัดกระจายไป
เป็นคนละเรื่อง ถ้าหากใจความใดไม่สัมพันธ์กันก็ควรแยกออกเป็นคนละข้อความเสียเลย เช่น เขาเป็นคนเรียนเก่งเพราะพ่อเขาเป็นทูต (ประโยคไม่มีเอกภาพ) จึงควรแก้ไขเป็น เขาเป็นคน เรียนเก่งเพราะขยันอ่านหนังสือ

117. “ข้าพเจ้ามีจุดมุ่งหมายจะเรียนต่อที่คณะนิติศาสตร์” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
(1) ใช้คําต่างศักดิ์กัน
(2) วางส่วนขยายผิดที่
(3) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(4) ใช้คําขยายไม่ถูกต้อง
ตอบ 1 หน้า 6 (54351) คําในภาษาไทยมีระดับไม่เท่ากัน หรือเรียกว่ามีศักดิ์ต่างกัน หมายถึง มีการ แบ่งคําออกไปใช้ในที่สูงต่ําต่างกันตามความเหมาะสม เช่น ข้าพเจ้ามีจุดมุ่งหมายจะเรียนต่อที่ คณะนิติศาสตร์ (ใช้คําต่างศักดิ์กัน) จึงควรแก้ไขให้ถูกต้องเป็น ข้าพเจ้ามีจุดมุ่งหมายจะศึกษา ต่อที่คณะนิติศาสตร์

118. ประโยคใดวางส่วนขยายผิดที่
(1) ข้อสอบวิชานี้ไม่ง่ายเหมือนที่ฉันคิดไว้เลย
(2) มหาวิทยาลัยรามคําแหงจัดการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา
(3) อาทิตย์หน้าฉันกับเพื่อน ๆ จะไปทัศนศึกษาที่จังหวัดเชียงใหม่ ๆ
(4) กรรมการคุมสอบแจ้งให้นักศึกษาทราบเรื่องกฎระเบียบในห้องสอบ
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 113. ประกอบ) ประโยคที่ว่า “กรรมการคุมสอบแจ้งให้นักศึกษาทราบเรื่อง กฎระเบียบในห้องสอบ” (วางส่วนขยายผิดที่ หรือใช้คําขยายไม่ถูกต้อง) จึงควรแก้ไขโดยการวางส่วนขยายให้ถูกที่เป็น กรรมการคุมสอบแจ้งเรื่องกฎระเบียบในห้องสอบให้นักศึกษาทราบ

119. “พอพระเทศน์จบกัณฑ์หนึ่ง ก็มีคนนํามันเทศมาแจกกินกัน” คําที่ขีดเส้นใต้เป็นคําประเภทใด
(1) คําเหมือน
(2) คําพ้องเสียง
(3) คําพ้องรูป
(4) คําไวพจน์
ตอบ 2 หน้า 14 (54351) คําพ้องเสียง คือ คําที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่ความหมายและการเขียน (รูป) ไม่เหมือนกัน ดังนั้นเวลาเขียนจึงต้องเขียนให้ถูกต้อง เพราะถ้าหากเขียนผิด ความหมาย ก็จะผิดไปด้วย เช่น คําว่า
“เทศน์” = การแสดงธรรมสั่งสอนในทางศาสนา,
“เทศ” (ในคําว่ามันเทศ) = ชื่อมันชนิดหนึ่ง
“กัณฑ์” = ข้อความที่แต่งเป็นคําเทศน์เรื่องหนึ่ง ๆ ที่ได้จบลงในคราวหนึ่ง
“กัน”= คําประกอบท้ายกริยาของผู้กระทําตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แสดงการกระทําร่วมกัน
อย่างเดียวกัน หรือต่อกัน เป็นต้น

120. คําว่า “หวงแหน จอกแหน” คําที่ขีดเส้นใต้เป็นคําประเภทใด
(1) คําเหมือน
(2) คําพ้องเสียง
(3) คําพ้องรูป
(4) คําไวพจน์
ตอบ 3 หน้า 14 (54351) คําพ้องรูป คือ คําที่เขียนเหมือนกัน แต่ความหมายและการออกเสียง จะต่างกัน ดังนั้นจึงต้องออกเสียงให้ถูกต้อง เพราะถ้าหากออกเสียงผิด ความหมายก็จะผิดไปด้วย เช่น คําว่า
“แหน” อ่านว่า “แหนฺ” (ใช้เข้าคู่กับคําอื่นในคําว่า “หวงแหน แห่แหน เฝ้าแหน”) หรืออาจอ่านว่า “แหฺน” (ชื่อไม้น้ำหลายชนิดในวงศ์ Lemnaceae ใบกลมเล็ก ๆ ลอยอยู่ตาม น้ำนิ่ง เช่น แหนเล็ก แหนใหญ่ จอกแหน) เป็นต้น

 

THA1001 ลักษณะและการใช้ภาษาไทย 1/2562

การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2562
ข้อสอบกระบวนวิชา THA 1001 ลักษณะและการใช้ภาษาไทย
คําสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1.ข้อใดไม่มีคําบอกกาล
(1) เขาซื้อขนมอยู่
(2) เขากําลังนอนอยู่
(3) เขานอนกลางวันอยู่
(4) เขาร้องเพลงได้อยู่
ตอบ 4หน้า 2, 121 123 (56256), 7 – 8, 100 – 101 (H) การแสดงกาล คือ การบอกให้รู้ว่ากริยา กระทําเมื่อไร ซึ่งนอกจากจะต้องอาศัยกริยาช่วยเพื่อแสดงกาลเวลาที่แตกต่างกันแล้ว เช่น คําว่า “จะกําลังจะ” (บอกอนาคต), “กําลัง/อยู่” (บอกปัจจุบัน), “ได้แล้ว” (บอกอดีต) ฯลฯ ก็ยังมี คํากริยาวิเศษณ์หรือกริยาบางคําที่ช่วยแสดงกาล โดยอาศัยเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมเป็น เครื่องชี้ ดังนี้
1. บอกปัจจุบัน ได้แก่ เดี๋ยวนี้ ขณะนี้ ตอนนี้ วันนี้ ฯลฯ
2. บอกอนาคต ได้แก่ พรุ่งนี้ มะรืนนี้ ปีหน้า เดือนหน้า ฯลฯ
3. บอกอดีต ได้แก่ เมื่อวานนี้ เมื่อก่อนนี้ เมื่อปีก่อน เพิ่งมา ฯลฯ
(ประโยค “เขาร้องเพลงได้อยู่” ไม่ได้บอกกาล แต่หมายถึง เขาสามารถร้องเพลงได้)

2.ข้อใดมีคําบอกเพศมากที่สุด
(1) หลานสาวยายไปอยู่กับพ่อเลี้ยงแล้ว
(2) ป้าหอมเดินตามลุงมิ่งไปตลาด
(3) ตาเนยกําลังตัดอ้อยกลางทุ่ง
(4) ยายใจอยู่บ้านน้าอ้อยมานานแล้ว
ตอบ 1 หน้า 2, 109 – 110, 112 (56256), 6 – 7, 97 – 98 (H) คํานามในภาษาไทยบางคําก็แสดง เพศได้ชัดเจนในตัวของมันเอง เช่น คําที่บอกเพศชาย ได้แก่ พ่อ พระ เณร ทิด เขย ชาย หนุ่ม บ่าว ปู่ ตา ผม นาย ถึง ลูกเสือ พลาย (ช้างตัวผู้) ฯลฯ และคําที่บอกเพศหญิง ได้แก่ แม่ สะใภ้ หญิง สาว นาง ชี ป้า ย่า ยาย ดิฉัน พัง (ช้างตัวเมีย) ฯลฯ แต่คําบางคําที่เป็นคํารวมทั้งสองเพศ เช่น พี่ น้อง เด็ก น้า อา ลูก หลาน เพื่อน ฯลฯ เมื่อต้องการแสดงเพศให้ชัดเจนตามแบบภาษา คําโดดก็จะต้องใช้คําบ่งเพศมาประกอบเข้าข้างหน้าบ้าง ข้างหลังบ้าง หรืออาจนํามาประสมกัน ตามแบบคําประสมบ้าง เช่น พี่ชาย น้องสาว เด็กผู้หญิง น้าชาย อาหญิง หลานสาว ฯลฯ

3.“ถ้าก้างปลาหมอติดคอ ยายต้องรีบไปหาหมอทันทีนะ” จากข้อความไม่ปรากฏภาพสะท้อนลักษณะของภาษาไทยประเภทใด
(1) คําคําเดียวมีหลายความหมาย
(2) บอกเพศ
(3) มีระบบเสียงสูงต่ํา
(4) บอกมาลา
ตอบ 3 หน้า 2, 123 – 125 (56256), 2 – 10 (H) ข้อความข้างต้นปรากฏลักษณะของภาษาไทย ดังนี้
1. คําคําเดียวมีหลายความหมาย เช่น หมอ (ในคําว่า “ปลาหมอ”) = ชื่อปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ส่วน “หมอ” คําที่ 2 = ผู้ตรวจรักษาโรค
2 บอกเพศ เช่น ยาย (ดูคําอธิบายข้อ 2. ประกอบ)
3. บอกมาล” (ภาวะหรืออารมณ์) เช่น ต้องรีบไปหาหมอทันทีนะ (ใช้เป็นคําสั่ง)

4.ข้อใดเป็นสระเดี่ยวเสียงยาว
(1) ศิลป์
(2) เลิศ
(3) ซึม
(4) ล้ำ
ตอบ 2 หน้า 8, 13 – 14 (56256), 17, 24 – 30 (H) เสียงสระในภาษาไทยมี 28 เสียง ดังนี้
1. สระเดี่ยว 18 เสียง แบ่งเป็นเสียงสั้น 9 เสียง ได้แก่ อะ อิ อี อุ เอะ แอะ เออะ โอะ เอาะ และเสียงยาว 9 เสียง ได้แก่ อา อี คือ อู เอ แอ เออ โอ ออ
2. สระผสม 10 เสียง แบ่งเป็นเสียงสั้น 5 เสียง ได้แก่ เอียะ เอีอะ อัวะ เอา ไอ
และเสียงยาว 5 เสียง ได้แก่ เอ๊ย เอื้อ อัว อาว อาย
(ยกเว้นคําใดที่ลงท้ายด้วย ยาว ซึ่งเป็นพยัญชนะกึ่งสระ อาจเป็นได้ทั้งตัวสะกด ยาว หรือเป็น สระผสม 2 เสียง หรือ 3 เสียงก็ได้)

5. ข้อใดเป็นสระหน้า
(1) แหน
(2) คลั่ง
(3) โจทย์
(4) ทาส
ตอบ 1 หน้า 9 – 10 (56256), 18 – 19 (H) สระเดี่ยวที่จําแนกตามส่วนต่าง ๆ ของลิ้นที่ทําหน้าที่ ซึ่งต้องมีสภาพของริมฝีปากประกอบด้วย ได้แก่
1. สระกลาง ได้แก่ อา คือ เออ อะ อี เออะ
2. สระหน้า ได้แก่ อี เอ แอ อิ เอะ แอะ
3. สระหลัง ได้แก่ อู โอ ออ อ โอะ เอาะ

6. ข้อใดเป็นสระเดี่ยว
(1) อ่าว
(2) เสือ
(3) เปลี่ยว
(4) รัก
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 4. ประกอบ

7.“คิดถึงเธอแทบขาดใจ” จากข้อความไม่มีสระเดี่ยวเสียงใด (ไม่นับเสียงซ้ำ)
(1) อา
(2) เออ
(3) อี
(4) แอ
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 4. ประกอบ) ข้อความข้างต้นปรากฏสระเดี่ยว ดังนี้
1. สระอิ = คิด
2. สระอึ = ถึง
3. สระเออ – เธอ
4. สระแอ = แทบ
5. สระอา = ขาด

8.ข้อใดเป็นสระผสม
(1) เธอ
(2) เฝ้า
(3) ฟ้า
(4) เช็ค
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 4. ประกอบ

9. ข้อใดไม่มีเสียงสระอู
(1) ลวก
(2) ทัวร์
(3) ไทย
(4) ลูบ
ตอบ 3 หน้า 13 – 14 (56256), 23, 27 (H) คําว่า “ไทย” ประกอบด้วย อะ + ย (อะ + อิ) = ไอ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นปรากฏเสียงสระอู ได้แก่ คําว่า “ลวก/ทัวร์” ประกอบด้วย อู + อา = อัว, “ลูบ” = สระอู)

10. รูปพยัญชนะในภาษาไทยลําดับที่ 20 ตรงกับข้อใด
(1) ด
(2) ฑ
(3) ท
(4) ถ
ตอบ 1 (คําบรรยาย) ด = รูปพยัญชนะในภาษาไทยลําดับที่ 20 นับเป็นพวกอักษรกลาง และใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด

11. ข้อใดประกอบด้วยเสียงสระอือ + อา + อี
(1) เขี้ยว
(2) เลื่อน
(3) เปลี่ยน
(4) เลื่อย
ตอบ 4 หน้า 14 (56256), 28 (H) คําว่า “เลื้อย” ประกอบด้วย เอือ + ย หรือเป็นสระผสม 3 เสียง คือ อือ + อา + อี = เอือย

12. ข้อใดเป็นสระผสมสองเสียง
(1) ห้อย
(2) จริง
(3) กรวย
(4) เชิด
ตอบ 1 หน้า 14 (56256), 29 – 30 (H) คําว่า “ห้อย” ประกอบด้วย ออ + ย หรือเป็นสระผสม 2 เสียง คือ ออ + อี = ออย (ส่วนคําว่า “จริง/เชิด” เป็นสระเดี่ยว (ดูคําอธิบายข้อ 4. ประกอบ), “กรวย” ประกอบด้วย ตัว + ย หรือเป็นสระผสม 3 เสียง คือ อู + อา + อี = อวย)

13. พยัญชนะต้นในข้อใดเป็นประเภทนาฬิก
(1) สอน
(2) ทุก
(3) วัน
(4) นะ
ตอบ 4 หน้า 19 – 21 (56256), 39 – 43 (H), (คําบรรยาย) พยัญชนะต้นที่จําแนกตามรูปลักษณะ ของเสียง แบ่งออกได้ดังนี้
1. พยัญชนะระเบิด หรือพยัญชนะกัก ได้แก่ ก ค (ข ฆ) จ ด (ฎ) ต (ฏ) ท (ถ ฐ ฑ ฒ ธ) บ ป พ (ผ ภ) อ
2. พยัญชนะนาสิก ได้แก่ ง น (ณ) ม
3. พยัญชนะเสียดแทรก ได้แก่ ส (ซ.ศ ๒) ฟ (ฝ)
4. พยัญชนะกึ่งเสียดแทรก ได้แก่ ช (ฉ ฌ )
5. พยัญชนะกึ่งสระ ได้แก่ ย ว
6. พยัญชนะเหลว ได้แก่ ร ล
7. พยัญชนะเสียงหนัก ได้แก่ ห (ฮ) รวมทั้ง
พยัญชนะที่มีเสียง ห ผสมอยู่ด้วย ได้แก่ ค (ข) ช (ฉ) ท (ถ) พ (ผ)

14. พยัญชนะต้นในข้อใดเกิดที่ฐานริมฝีปาก
(1) คิด
(2) มาก
(3) นะ
(4) เธอ
ตอบ 2 หน้า 17 – 18 (56256), 37 – 38 (H) พยัญชนะต้นที่จําแนกตามฐานกรณ์ (ที่เกิดหรือที่ตั้ง ของเสียง) สามารถแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
1. ฐานคอ (คอหอย) มี 2 เสียง คือ ห (ฮ) อ
2. ฐานเพดานอ่อน มี 3 เสียง คือ ก ค (ข ฆ) ง
3. ฐานเพดานแข็ง มี 5 เสียง คือ จ ช (ฉ ฌ ) ส (ซ. ศ ษ) ย (ญ) ร
4. ฐานฟัน มี 5 เสียง คือ ด (ฏ) ต (ฏ) ท (ถ ฐ ฑ ฒ ธ) น (ณ) ล (ฬ)
5. ฐานริมฝีปาก ได้แก่ ริมฝีปากบนกับล่างประกบกัน มี 5 เสียง คือ บ ป พ (ผ ภ) ม ว และริมฝีปากล่างประกบกับฟันบน มี 1 เสียง คือ ฟ (ฝ)

15. ข้อใดเป็นพยัญชนะเคียงกันมา
(1) กระทิง
(2) บาตรพระ
(3) ยุพราช
(4) ไถล
ตอบ 3 หน้า 22 (56256), 44 (H), (คําบรรยาย) การออกเสียงแบบตามกันมา หรือเคียงกันมา (การออกเสียงแบบเรียงพยางค์) คือ พยัญชนะคู่ที่ออกเสียงแต่ละเสียงเต็มเสียง และเสียง ทั้งสองไม่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน นอกจากนี้ถ้าหากคําใดที่มีเสียงสระอะ อา อิ อี อุ อู อยู่ตรงกลางคํา และพยางค์หน้าออกเสียงเต็มเสียงทุกคําก็ให้ถือว่า เป็นพยัญชนะคู่แบบ เคียงกันมา เช่น ยุพราช (ยุบพะราด), พัฒนา (พัดทะนา), ศิลปิน (สีนละปืน) ฯลฯ

16. ข้อใดเป็นพยัญชนะนํากันมา
(1) กว้าง
(2) จิตร
(3) แสดง
(4) หมี
ตอบ 4 หน้า 22 (56256), 44 (H) การออกเสียงแบบนํากันมา (อักษรนํา) คือ พยัญชนะคู่ที่พยัญชนะ ตัวหน้ามีอํานาจเหนือพยัญชนะตัวหลัง โดยที่พยัญชนะตัวหน้าจะออกเสียงเพียงครึ่งเสียง และพยัญชนะตัวหลังก็เปลี่ยนเสียงตาม ซึ่งจะออกเสียงเหมือนกับเสียงที่มี “ห” นํา เช่น หมี, หรือ ไถล (ถะไหล), หล่อน, แสวง (สะแหวง), แสลง (สะแหลง) ฯลฯ

17. ข้อใดเป็นพยัญชนะควบกันมา
(1) หล่อน
(2) สร้อย
(3) บุตร
(4) แสวง
ตอบ 2 หน้า 22 – 26 (56256), 44 – 49 (H) การออกเสียงแบบควบกันมา หรืออักษรควบ คือ พยัญชนะคู่ที่ออกเสียง 2 เสียงควบกล้ำไปพร้อมกัน แบ่งออกเป็น
1. อักษรควบกล้ำแท้ หรือเสียงกล้ํากันสนิท โดยเสียงทั้งสองจะร่วมเสียงสระและวรรณยุกต์ เดียวกัน เช่น กว้าง, ความ ฯลฯ
2. อักษรควบกล้ำไม่แท้ หรือเสียงกล้ำกันไม่สนิท เช่น สร้อย (ส้อย), จริง (จิง), สร้าง (ส้าง) ฯลฯ

18. ข้อใดมีพยัญชนะคู่ประเภทเคียงกันมา ควบกันมา และนํากันมา เรียงตามลําดับ
(1) เธอยังไม่พัฒนาความรู้อีกหรือ
(2) สัจจะความจริงมีเพียงสิ่งเดียว
(3) ศิลปินช่างสร้างภาพอันวิจิตรยิ่งนัก
(4) คําสแลง คือ ของแสลงทางภาษาสําหรับนักศึกษา
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 15, 16. และ 17. ประกอบ

19. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดครบทุกคํา
(1) หมาใน
(2) กระทะ
(3) ล้ำเลิศ
(4) รถเมล์
ตอบ 3 หน้า 27 – 29 (56256), 50 – 53 (H) พยัญชนะสะกดของไทยจะมีเพียง 8 เสียงเท่านั้น คือ
1. แม่กก ได้แก่ ก ข ค ฆ
2. แม่กด ได้แก่ จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส
3. แม่กบ ได้แก่ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ
4. แม่กน ได้แก่ น ณ ร ล ห ญ ณ ร ล ญ
5. แม่กง ได้แก่ ง
6. แม่กม ได้แก่ ม
7. แม่เกย ได้แก่ ย
8. แม่เกอว ได้แก่ ว
นอกจากนี้สระอํา (อัม) = แม่กม, สระไอ/ไอ (อัย) = แม่เกย และสระเอา (อาว) = แม่เกอว (คําว่า “ล้ำเลิศ” = แม่กม แม่กด ส่วนตัวเลือกข้ออื่นมีคําที่ไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด ได้แก่ หมา, กระทะ, เมล์)

20. ข้อใดมีคําที่ไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด
(1) ทองคํา
(2) เบาหวาน
(3) ปั้นเหน่ง
(4) บัวไหล
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 19. ประกอบ) คําที่ไม่มีเสียงพยัญชนะสะกด ได้แก่ บัว

21. “โจทย์ทุกไลฟ์สไตล์ คือ ตัวคุณเท่านั้น”
จากข้อความข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเสียงพยัญชนะสะกด (ไม่นับเสียงซ้ำ)
(1) มีเสียงทั้งหมดจํานวน 5 เสียง
(2) มีคําเป็นน้อยกว่าคําตาย
(3) ไม่มีพยัญชนะสะกดเสียง ว
(4) มีคําเป็นจํานวน 2 เสียง
ตอบ 1 หน้า 28 (56256), 51 (H), (ดูคําอธิบายข้อ 4. และ 19. ประกอบ) การพิจารณาลักษณะของ คําเป็นกับคําตาย มีหลักเกณฑ์ดังนี้
1. คําเป็น คือ คําที่สะกดด้วยแม่กง กน กม เกย เกอว และคําที่ไม่มีตัวสะกด ใช้สระเสียงยาว รวมทั้งสระอํา ใอ ไอ เอา (เพราะออกเสียงเหมือนมีตัวสะกดเป็นแม่กม เกย เกอว)
2. คําตาย คือ คําที่สะกดด้วยแม่กก กด กบ และคําที่ไม่มีตัวสะกด ใช้สระเสียงสั้น (จากข้อความมีเสียงพยัญชนะสะกดทั้งหมด 5 เสียง ได้แก่ แม่กด (โจทย์), แม่กก (ทุก), แม่เกย (ไลฟ์/ไตล์), แม่กน (คุณ/นั้น) และแม่เกอว (เท่า) โดยแบ่งออกเป็นคําเป็น 3 เสียง ได้แก่ แม่เกย
แม่กน และแม่เกอว ส่วนคําตายมี 2 เสียง ได้แก่ แม่กด และแม่กก)

22. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดที่เป็นคําเป็นเท่ากับคําตาย (ไม่นับเสียงซ้ํา)
(1) คนรักผมชอบของลดราคา
(2) กระทงทองเป็นอาหารสัญชาติไทย
(3) น้ำส้มคั้นสดอยู่ในตู้แช่หน้าร้านครับ
(4) นักเรียนกําลังเดินข้ามทางม้าลายหน้าโรงเรียน
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 21. ประกอบ) จากข้อความในตัวเลือกข้อ 1 มีเสียงพยัญชนะสะกดที่เป็น คําเป็น 3 เสียง ได้แก่ แม่กน (คน), แม่กม (ผม) และแม่กง (ของ) ส่วนคําตายมี 3 เสียงเท่ากัน ได้แก่ แม่กก (รัก), แม่กบ (ชอบ) และแม่กด (ลด)

23. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์เอก
(1) ร่อน
(2) ก่อน
(3) ท่อน
(4) ซ่อน
ตอน 2 หน้า 33 – 37 (56256), 55 – 60 (H) เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยจะมี 5 เสียง 4 รูป ได้แก่ เสียงสามัญ (ไม่มีรูปวรรณยุกต์กํากับ), เสียงเอก ( ่ ), เสียงโท ( ้ ), เสียงตรี ( ๊ ) และเสียง จัตวา ( ๋ ) ซึ่งในคําบางคํา รูปและเสียงวรรณยุกต์อาจไม่ตรงกัน จึงควรเขียนรูปวรรณยุกต์ ให้ถูกต้อง เช่น คําว่า “ก่อน” มีรูปและเสียงวรรณยุกต์เอกตรงกัน (ส่วนคําว่า “ร่อน/ท่อน/ ซ่อน” มีเสียงวรรณยุกต์โท แต่ใช้ไม้เอก)

24. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ต่างจากข้ออื่น
(1) ลม
(2) ไป
(3) หมด
(4) นาน
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 23. ประกอบ) คําว่า “หมด” มีเสียงวรรณยุกต์เอก แต่ไม่มีรูปวรรณยุกต์กํากับ (ส่วนคําว่า “ลม/ไป/นาน” มีเสียงวรรณยุกต์สามัญ)

25. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์โท
(1) ไม่
(2) โกรธ
(3) ย้าย
(4) ดิม
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 23. ประกอบ) คําว่า “ไม่” มีเสียงวรรณยุกต์โท แต่ใช้ไม้เอก (ส่วนคําว่า
“โกรธ/ย้าย/ดื่ม” = เอก/ตรี/เอก)

26. “ลูกเกดเอาใจใส่ต่อลูกค้าเป็นอย่างดี จนได้รับรางวัลใหญ่แห่งปีของบริษัท” จากข้อความมีพยัญชนะสะกดกี่เสียง (ไม่นับเสียงซ้ำ)
(1) 5 เสียง
(2) 6 เสียง
(3) 7 เสียง
(4) 8 เสียง
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 19. ประกอบ) จากข้อความมีเสียงพยัญชนะสะกดทั้งหมด 7 เสียง ดังนี้
1. แม่กก = ลูก
2. แม่กด = เกด, ษัท
3. แม่เกอว = เอา
4. แม่เกย = ใจ, ใส่, ได้, ใหญ่
5. แม่กน – เป็น, จน, วัล
6. แม่กง = อย่าง, ราง, แห่ง, ของ
7. แม่กบ = รับ

27. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์เหมือนกัน
(1) พูด ดี
(2) ซด เหล้า
(3) เมา รถ
(4) เป็น ใจ
ตอบ 4 (ดูคําอธิบายข้อ 23. ประกอบ) คําว่า “เป็นใจ” มีเสียงวรรณยุกต์สามัญ (ส่วนคําว่า “พูด/ดี”
= โท/สามัญ, “ซด/เหล้า” = ตรี/โท, “เมา/รถ” = สามัญ/ตรี)

28. “เขาเดินจับมือกันกลางสนามบิน” จากข้อความไม่ปรากฏวรรณยุกต์เสียงใด
(1) โท
(2) สามัญ
(3) จัตวา
(4) เอก
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 23. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีเสียงวรรณยุกต์ ดังนี้
1. เสียงสามัญ = เดิน/มือ/กัน/กลาง/บิน
2. เสียงเอก = จับ/สะ
3. เสียงจัตวา = เขา/หนาม

29. “นักศึกษาตั้งใจทําข้อสอบเป็นอย่างยิ่ง เพื่ออนาคตอันสดใสในภายหน้า” จากข้อความมีวรรณยุกต์ที่เสียง
(ไม่นับเสียงซ้ำ)
(1) 4 เสียง
(2) 5 เสียง
(3) 10 เสียง
(4) 24 เสียง
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 23. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีเสียงวรรณยุกต์ ดังนี้
1. เสียงสามัญ = ใจ/ทําเป็น/นา/อัน/ใน/ภาย
2. เสียงเอก = ศึก/สอบ/อย่าง/อะ/สด
3. เสียงโท = ตั้ง/ข้อ/ยิ่ง/ เพื่อ/หน้า
4. เสียงตรี = นัก/คต
5. เสียงจัตวา = ษา/ใส

30. “ใครทําข้อสอบไม่ได้บ้างนะ” จากข้อความมีเสียงวรรณยุกต์โทกเสียง (ไม่นับเสียงซ้ํา)
(1) 2 เสียง
(2) 3 เสียง
(3) 4 เสียง
(4) 5 เสียง
ตอบ 3 (ดูคําอธิบายข้อ 23. ประกอบ) ข้อความข้างต้นมีเสียงวรรณยุกต์ ดังนี้
1. เสียงสามัญ = ใคร/ทํา
2. เสียงเอก = สอบ
3. เสียงโท = ข้อ/ไม่ได้บ้าง
4. เสียงตรี = นะ

31. คําที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดเป็นความหมายแฝง
(1) ป้ากระซิบบอกลุง
(2) ตาร้องเพลงเพื่อชีวิต
(3) น้าชอบตุ๊กตามาก
(4) ยายนั่งบนโขดหิน
ตอบ 1 หน้า 44, 47 – 48 (56256), 62 – 63 (H) ความหมายแฝงบอกคุณสมบัติบางอย่างของคํากริยาที่ใช้กับเสียง ได้แก่ คําว่า “แผด” = ออกเสียงดัง, “ตะโกน” = เรียกด้วยเสียงดัง, “กระซิบ” = พูดเบา ๆ, “บ่น” = พูดพร่ำอย่างไม่พอใจ ฯลฯ

32. คําที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดเป็นความหมายอุปมา
(1) น้องไข่มุกชอบมากค่ะ
(2) ไข่มุกแห่งเอเชียเดินมานั้น
(3) ไข่มุกเม็ดนี้แพงจัง
(4) ไข่มุกทําขนมไข่ตั้งแต่เช้า
ตอบ 2 หน้า 48 – 49 (56256), 64 (H) คําอุปมา คือ คําที่ใช้เปรียบเทียบเพื่อพรรณนาบอกลักษณะ ให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อให้มีความหมายใหม่เกิดขึ้นอีกความหมายหนึ่ง มีอยู่ 2 ประเภท คือ
1. คําอุปมาที่ได้มาจากคําที่มีใช้อยู่แล้ว เช่น ไข่มุก (สตรีที่งดงาม บริสุทธิ์ และสูงค่า), เทวดา/ นางฟ้า (ดี สวย), หิน (ยากมาก) ฯลฯ
2. คําอุปมาที่สร้างขึ้นใหม่ ส่วนมากเป็นคําประสม เช่น แมวนอนหวด (ซื่อจนเซ่อ), เพชรในตม (สิ่งมีค่าที่ซ่อนอยู่ แต่คนยังไม่เห็นความสําคัญ) ฯลฯ

33. ข้อใดปรากฏการแยกเสียงแยกความหมายแบบเสียงสั้นยาวต่างกัน
(1) เดียว – เดี่ยว
(2) บาด – ปาด
(3) วับ – วาบ
(4) เบะปาก – แบะปาก
ตอบ 3 หน้า 51 – 52 (56256), 65 (H) การแยกเสียงแยกความหมาย คือ การเปลี่ยนแปลงเสียง ในคําบางคําที่มีความหมายหลายอย่างให้แตกต่างกันบ้าง เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนว่าคํานั้น มีความหมายว่าอย่างไรในที่นั้น ๆ โดยความหมายย่อยและที่ใช้อาจจะแตกต่างกันบ้าง ได้แก่ “วับ – วาบ” (เสียงสระสั้นยาวต่างกัน) ต่างก็เป็นอาการที่หายไปทันทีเช่นกัน มักใช้กับแสง แต่ “วับ” จะหายไปรวดเร็วกว่า ส่วน “วาบ” อาจมีแสงสว่างอยู่ครู่หนึ่ง จึงค่อยดับหายไป

34. ข้อใดเป็นคําซ้ําไม่ได้
(1) รถติดยาวเป็นกิโล ๆ เลย
(2) จะคบใครต้องดูดี ๆ นะ
(3) ที่พูด ๆ มาก็มีส่วนถูกอยู่
(4) ไป ๆ มา ๆ ก็เดาทางเธอออก
ตอบ 3 หน้า 76 – 80 (56256), 76 – 78 (H) คําซ้ํา คือ คําคําเดียวกันที่นํามากล่าว 2 ครั้ง เพื่อให้ มีความหมายเน้นหนักขึ้น หรือเพื่อให้มีความหมายแตกต่างจากคําเดี่ยว ซึ่งวิธีการสร้างคําซ้ำก็เหมือนกับการสร้างคําซ้อนแต่ใช้คําคําเดียวมาซ้อนกันโดยมีเครื่องหมายไม้ยมก (ๆ) กํากับ เช่น รถติดยาวเป็นกิโล ๆ เลย (คําซ้ำคำบอกจํานวนนับที่แยกความหมายออกเป็นส่วน ๆ เมื่อมี คําว่า “เป็น” มาข้างหน้า), จะคบใครต้องดูดี ๆ นะ (คําซ้ําคําขยาย ใช้ขยายกริยาบอกความเน้น เมื่อเป็นคําสั่ง), ไป ๆ มา ๆ (คําซ้ำคำซ้อน 2 คู่ หมายถึง ในที่สุด) เป็นต้น (ส่วนตัวเลือกข้อ 3 ไม่ใช่คำซ้ำ เป็นเพียงพูดให้รู้ว่าคํากริยานั้นทําอาการติดต่อกันไป จึงไม่ควรใช้ไม้ยมก

35. ข้อใดเป็นคําซ้อน
(1) กัดฟัน
(2) ได้เสีย
(3) นัดพบ
(4) มองผ่าน
ตอบ 2 หน้า 62 – 76 (56256), 67 – 76 (H) คําซ้อน คือ คําเดี่ยว 2, 4 หรือ 6 คํา ที่มีความหมาย หรือมีเสียงใกล้เคียงกัน หรือเป็นไปในทํานองเดียวกัน ซ้อนเข้าด้วยกันเพื่อทําให้เกิดคําใหม่ ที่มีความหมายใหม่ขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
1. คําซ้อนเพื่อความหมาย (มุ่งที่ความหมายเป็นสําคัญ) ซึ่งอาจเป็นคําไทยซ้อนเข้าด้วยกัน เช่น ได้เสีย, ร้องเรียก, ลูกหลาน, ถูกผิด, เสื้อผ้า, แข็งแรง, บอกกล่าว, ใคร่ครวญ, อดทน ฯลฯ หรืออาจเป็นคําไทยซ้อนกับคําภาษาอื่น เช่น สาปแช่ง (บาลีสันสกฤต + ไทย), เขียวขจี (ไทย + เขมร) ฯลฯ
2. คําซ้อนเพื่อเสียง (มุ่งที่เสียงเป็นสําคัญ) เช่น ลวนลาม, ทัดทาน, ปัดป้อง ฯลฯ

36. ข้อใดมีคําประสม 1 คํา
(1) ร้องเรียก ลูกหลาน
(2) สาปแช่ง ลวนลาม
(3) เกาะเต่า ถูกผิด
(4) การเรียน พี่ชาย
ตอบ 3 หน้า 80 – 89 (56256), 78 – 82 (H) คําประสม คือ คําตั้งแต่ 2 คําขึ้นไปมาประสมเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้คําใหม่ที่มีความหมายใหม่มาใช้ในภาษา ซึ่งความหมายสําคัญจะอยู่ที่คําต้น (คําตัวตั้ง ส่วนที่ตามมาเป็นคําขยาย ซึ่งไม่ใช่คําที่ขยายคําต้นจริง ๆ แต่จะช่วยให้คําทั้งคํามีความหมาย ที่จํากัดเป็นนัยเดียว เช่น กัดฟัน, นัดพบ, มองผ่าน, เกาะเต่า, การเรียน, พี่ชาย, น้ําชา, เข้าใจ, แกงหอย, หลอดไฟ, วันพระ, หวยใต้ดิน, ข้าวแกง, ขนมถ้วย ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นมีคําซ้อน) (ดูคําอธิบายข้อ 35. ประกอบ)

37. ข้อใดไม่เป็นคําซ้อน
(1) น้ำชา
(2) เสื้อผ้า
(3) แข็งแรง
(4) ทัดทาน
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 35. และ 36. ประกอบ

38. ข้อใดเป็นคําประสม
(1) บอกกล่าว
(2) เขียวขจี
(3) ปัดป้อง
(4) เข้าใจ
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 35. และ 36. ประกอบ

39. ข้อใดไม่เป็นคําประสม
(1) แกงหอย
(2) ใคร่ครวญ
(3) หลอดไฟ
(4) วันพระ
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 35. และ 36. ประกอบ

40. ข้อใดเป็นคําซ้อน
(1) หวยใต้ดิน
(2) ข้าวแกง
(3) อดทน
(4) ขนมถ้วย
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 35. และ 36. ประกอบ

ข้อ 41 – 45. ให้นักศึกษาเลือกคําราชาศัพท์ที่ถูกต้องเติมในช่องว่างต่อไปนี้
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ___41___ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว___42.___ที่ตําหนักในพระบรมมหาราชวัง เมื่อคืนวันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2506 เวลา เที่ยงคืนล่วงแล้วกับ 30 นาที หม่อมเจ้าหญิงพรรณราย พระธิดาของกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์___43.___เมื่อ___44.___ครบเดือน ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพระราชพิธีสมโภชตามพระราชประเพณี และมีพระราชหัตถเลขา___45.___พระนามว่า พระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าจิตรเจริญ

41.
(1) ทรงเป็นพระโอรส
(2) ทรงเป็นพระราชโอรส
(3) เป็นพระโอรส
(4) เป็นพระราชโอรส
ตอน 4 หน้า 117 (H) เป็นพระราชโอรส = เป็นลูกชายของพระมหากษัตริย์ (ถ้าหากคําที่ตามหลัง “มีเป็น” เป็นนามราชาศัพท์อยู่แล้ว ไม่ต้องเติม “ทรง” หน้าคํากริยา “มีเป็น” อีก)

42.
(1) ทรงประสูติ
(2) ทรงเสด็จพระราชสมภพ
(3) เสด็จพระราชสมภพ
(4) ประสูติ
ตอบ 4 หน้า 113 (H) ประสูติ = เกิด ใช้กับพระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้าและพระองค์เจ้า (ส่วนคําว่า “เสด็จพระราชสมภพ” = เกิด ใช้กับพระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระราชวงศ์ลําดับที่ 2 นอกจากนี้ห้ามเติม “ทรง” ซ้อนคํากริยาที่เป็นราชาศัพท์อยู่แล้ว)

43.
(1) ทรงเป็นพระมารดา
(2) เป็นพระมารดา
(3) เป็นพระราชชนนี
(4) เป็นพระราชมารดา
ตอบ 2 หน้า 113 (H) เป็นพระมารดา = เป็นแม่ ใช้กับพระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้าและพระองค์เจ้า (ส่วนราชาศัพท์ที่มีคําว่า “ราช” จะใช้กับพระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระราชวงศ์ลําดับ ที่ 2 เท่านั้น)

44.
(1) พระชนมพรรษา
(2) พระชันษา
(3) ‘พระชนมายุ
(4) พระชนม์
ตอบ 2 พระชันษา = อายุ ใช้กับสมเด็จเจ้าฟ้าและพระองค์เจ้า (ส่วนคําว่า “พระชนมพรรษา” = อายุ ใช้กับพระมหากษัตริย์และพระราชินี, “พระชนมายุ” = อายุ ใช้กับพระราชวงศ์ลําดับที่ 2)

45.
(1) พระราชทาน
(2) ทรงพระราชทาน
(3) ประทาน
(4) ทรงประทาน
ตอบ 1 พระราชทาน = ให้ใช้กับพระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระราชวงศ์ลําดับที่ 2 (ซึ่งในที่นี้ พระมหากษัตริย์เป็นผู้ตั้งชื่อให้ จึงควรใช้ราชาศัพท์ให้ตรงตามพระยศ ส่วนคําว่า “ประทาน” = ให้ใช้กับพระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้าและพระองค์เจ้า)

46. สรรพนามบุรุษที่ 2 ที่ใช้ในการกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คือข้อใด
(1) ฝ่าพระบาท
(2) ใต้ฝ่าพระบาท
(3) ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท
(4) ใต้ฝ่าละอองพระบาท
ตอบ 3 หน้า 174 (56256) ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท = คําสรรพนามบุรุษที่ 2 ใช้ในการกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ (ส่วนคําว่า “ฝ่าพระบาท” จะใช้ เรียกแทนหม่อมเจ้า “ใต้ฝ่าพระบาท” จะใช้เรียกแทนเจ้านายในชั้นพระองค์เจ้าและเจ้าฟ้า “ใต้ฝ่าละอองพระบาท” จะใช้เรียกแทนพระอัครมเหสีที่ไม่ได้ดํารงตําแหน่งสมเด็จพระราชินีลงมา จนถึงสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชและสมเด็จพระบรมราชกุมารี)

47. คําลงท้ายที่ใช้ในการกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตรงกับข้อใด
(1) ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
(2) ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม
(3) ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
(4) แล้วแต่จะโปรด
ตอบ 1 หน้า 176 (56256) การกราบบังคมทูลพระเจ้าแผ่นดิน ควรใช้คําขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละออง ธุลีพระบาท ปกเกล้าปกกระหม่อม” และลงท้ายว่า “ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ

48.“…พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ… เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า…” จากข้อความดังกล่าวควรใช้คําใดเติมในช่องว่าง
(1) ถึงแก่พิราลัย
(2) ถึงแก่อสัญกรรม
(3) ถึงแก่อนิจกรรม
(4) ถึงแก่กรรม
ตอบ 2 (คําบรรยาย) คําว่า “ตาย” ใช้กับบุคคลฐานะต่าง ๆ ดังนี้
1. ถึงแก่พิราลัย ใช้กับสมเด็จเจ้าพระยาและเจ้าประเทศราช
2. ถึงแก่อสัญกรรม ใช้กับเจ้าพระยา นายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดี ประธานองคมนตรี องคมนตรี ประธานรัฐสภา ฯลฯ
3. ถึงแก่อนิจกรรม ใช้กับพระยา
4. ถึงแก่กรรม ใช้กับสุภาพชนทั่วไป ฯลฯ

49. ข้อใดใช้คําราชาศัพท์ผิด
(1) โรงงานยาสูบน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายที่ดินสร้างสวนป่าเบญจกิติ
(2) สภากาชาดไทยทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเงินโดยเสด็จพระราชกุศล
(3) บริษัทรถยนต์น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายรถยนต์ตู้จํานวน 1 คัน
(4)อธิบดีกรมศิลปากรน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายสูจิบัตรและของที่ระลึก
ตอบ 4 หน้า 176 (56256), 116 (H) ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ทูลเกล้าฯ ถวาย) = ถวายสิ่งของขนาดเล็ก (ของที่ยกได้) หรือถวายสิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น ทูลเกล้าฯ ถวายเงิน, ทูลเกล้าฯ ถวาย สูจิบัตรและของที่ระลึก ฯลฯ ส่วนคําว่า “น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย” (น้อมเกล้าฯ ถวาย) = ถวายสิ่งของขนาดใหญ่ (ของที่ยกขึ้นไม่ได้) หรือถวายสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น น้อมเกล้าฯ ถวาย ที่ดิน, น้อมเกล้าฯ ถวายรถยนต์, น้อมเกล้าฯ ถวายพระพร ฯลฯ

50. ข้อใดใช้คําราชาศัพท์ถูก
(1) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จไปวางพวงมาลา
(2) ประธานาธิบดีเป็นอาคันตุกะของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(3) โขนของกรมศิลปากรแสดงหน้าที่นั่งเพื่อถวายทอดพระเนตร
(4) หม่อมเจ้าทรงพระประชวรด้วยโรคหทัย
ตอบ 3 หน้า 114 – 115 (H) ข้อความในตัวเลือกข้อ 3 ใช้คําราชาศัพท์ถูก หรืออาจจะใช้ว่าโขนของกรมศิลปากรแสดงเฉพาะพระพักตร์เพื่อถวายทอดพระเนตร ก็ได้เช่นเดียวกัน (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นควรแก้ไขให้ถูกต้อง โดยใช้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯไปทรงวางพวงมาลา, ประธานาธิบดีเป็นราชอาคันตุกะของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว,หม่อมเจ้าประชวรด้วยโรคหทัย)

51. ข้อใดเป็นคําอุปสรรคเทียมที่เกิดจากการกร่อนเสียงทุกคํา
(1) กระเดือก กระจิบ คะนึง
(2) ตะม่อ มะขาม กระสา
(3) ฉะฉาด มะยม ตะราง
(4) กระตั้ว กระสุน ตะโก
ตอบ 3 หน้า 93 – 95 (56256), 83 – 84 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการกร่อนเสียง มักเป็นคําที่ กร่อนเสียงพยางค์ต้นให้เป็นเสียง “อะ” ได้แก่
1. “มะ” ที่นําหน้าชื่อไม้ผล ไม่ใช่ไม้ผล และหน้าคําบอกกําหนดวัน เช่น หมากม่วง – มะม่วง, หมากขาม – มะขาม, หมากยม – มะยม, เมื่อรื่น – มะรืน
2. “ตะ” นําหน้าชื่อสัตว์ ต้นไม้ และคําที่มีลักษณะคล้ายตา เช่น ตัวขาบ – ตะขาบ, ตอม่อ – ตะม่อ ตาราง – ตะราง, ต้นโก – ตะโก, ต้นเคียน – ตะเคียน
3. “สะ” เช่น สายดือ – สะดือ, สาวใภ้ → สะใภ้, สายดึง – สะดึง
4. “ฉะ” เช่น ฉันนั้น – ฉะนั้น ฉันนี้ – ฉะนี้ เฉื่อย ๆ – ฉะเฉื่อย, ฉาด ๆ – ฉะฉาด
5. “ยะ/ระ/ละ” เช่น ยิบ ๆ ยับ ๆ – ยะยิบยะยับ, รัว ๆ – ระรัว, ลิบ ๆ – ละลิบ
6. “อะ” เช่น อันไร/อันใด – อะไร, อันหนึ่ง – อนึ่ง
7. “จะ” เช่น เจื้อยเจื้อย – จะเจื้อย, แจ้วแจ้ว – จะแจ้ว, จ้อจ้อ – จะจ้อ
สําหรับคําอื่น ๆ ที่ไม่ได้เป็นไปตามนี้ ได้แก่ ผู้ญาณ – พยาน, ชาตา – ชะตา, ช้าพลู – ชะพลู, เฌอเอม – ชะเอม, ชีผ้าขาว – ชีปะขาว, คํานึง – คะนึง เป็นต้น

52. “กระเสือกกระสน” เป็นคําอุปสรรคเทียมชนิดใด
(1) แบ่งคําผิด
(2) กร่อนเสียง
(3) เทียบแนวเทียบผิด
(4) เพิ่มเสียงไม่ให้คอนกัน
ตอบ 4 หน้า 95 (56256), 85 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการเพิ่มเสียงเพื่อไม่ให้เสียงคอนกัน คือ การเพิ่มเสียง “กะ” (ปัจจุบันใช้ว่า “กระ”) เข้าไป 2 เสียงในคําซ้อนเพื่อเสียงที่หน้าพยางค์ต้น และหน้าพยางค์ท้าย ซึ่งมีเสียงเสมอกันและเป็นคําที่สะกดด้วย “ก” เหมือนกัน ได้แก่
1. ดุกดิก – กระดุกกระดิก
2. ยึกยัก – กระยึกกระยัก
3. เสือกสน – กระเสือกกระสน
4. โตกตาก – กระโตกกระตาก
5. โชกชาก – กระโชกกระชาก
6. อักอ่วน – กระอักกระอ่วน
7.ชึกชัก – กระชักกระชัก
8. หลุกหลิก – กะหลุกกะหลิก
9. ปลูกเปลี้ย – กะปลกกะเปลี้ย
10. โดกเดก – กระโดกกระเดก ฯลฯ

53. ข้อใดมีคําอุปสรรคเทียมที่ได้จากการแบ่งคําผิด
(1) เปล้าจับเปล้าแยกหมู่ กระสาสู่กระสัง รังเรียงรังรังนาน
(2) แล้วปู่เป่าตะเคียนใหญ่ เก้าอ้อมใช่สามานย์
(3) สองคะนึงนัยใคร่รู้ ลูกหลานปู่ฤาผู้อื่นโอ้ไปงาม
(4) ตกใจสั่นระรัว กลัวฤทธิ์พระปู่ ผู้มีเดชเกรียงไกร
ตอบ 1 หน้า 94 (56256), 84 – 85 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการแบ่งคําผิด เกิดจากการพูด เพื่อให้เสียงต่อเนื่องกัน โดยการเพิ่มเสียง “กะ” (ปัจจุบันใช้ว่า “กระ”) เข้าไป 1 เสียงใน คําที่พยางค์แรกสะกดด้วยเสียง “ก” เช่น นกจอก – นกกระจอก, นกตัว – นกกระตั้ว นกจิบ – นกกระจิบ, นกสา – นกกระสา, ลูกสุน – ลูกกระสุน, ลูกดุม – ลูกกระดุม ลูกเดือก – ลูกกระเดือก, ผักสัง – ผักกระสัง, ผักเฉด – ผักกระเฉด ฯลฯ

54. ข้อใดเป็นคําอุปสรรคเทียมที่เรียงตามลําดับต่อไปนี้
“…กร่อนเสียง เทียบแนวเทียบผิด เพิ่มเสียงไม่ให้เสียงคอนกัน แบ่งคําผิด…”
(1) มะม่วง กระดุกกระดิก กระอักกระอ่วน กระดุม
(2) คะนึง กระแอมกระไอ กระโดกกระเดก กระเฉด
(3) ตะราง กระเจิดกระเจิง กระโตกกระตาก ฉะฉาน
(4) พยาน ขโมยขโจร กะปลกกะเปลี้ย กระมิดกระเมี้ยน
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 51., 52. และ 53. ประกอบ) กลุ่มคําในตัวเลือกข้อ 2 เป็นคําอุปสรรคเทียม ที่เรียงลําดับตามโจทย์ได้อย่างถูกต้อง ดังนี้
1. ชนิดกร่อนเสียง ได้แก่ คํานึง – คะนึง
2. ชนิดเทียบแนวเทียบผิด ได้แก่ แอมไอ – กระแอมกระไอ
3. ชนิดเพิ่มเสียงไม่ให้เสียงคอนกัน ได้แก่ โดกเดก – กระโดกกระเดก
4. ชนิดแบ่งคําผิด ได้แก่ ผักเฉด – ผักกระเฉด

55. ข้อใดคือคุณลักษณะของคําอุปสรรคเทียมที่ได้จากการ “เทียบแนวเทียบผิด
(1) เติมเสียงยาว ต่อมากร่อนเสียงให้สั้นลง
(2) เกิดจากคําที่สะกดด้วย ก แล้วเพิ่มเสียง กะ 1 เสียง
(3) เกิดจากคําที่สะกดด้วย ก แล้วเพิ่มเสียง กะ 2 เสียง
(4) เกิดจากคําที่ไม่ได้สะกดด้วย ก แล้วเพิ่มเสียง กะ 2 เสียง
ตอบ 4 หน้า 94 – 96 (56256), 85 – 86 (H) อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการเทียบแนวเทียบผิด คือ การเพิ่มเสียง “กะ” (ปัจจุบันใช้ว่า “กระ”) เข้าไป 2 เสียง ในคําซ้อนเพื่อเสียงที่หน้าพยางค์ต้น และหน้าพยางค์ท้ายไม่ได้สะกดด้วย “ก” ซึ่งยึดการใช้อุปสรรคเทียมที่เกิดจากการเพิ่มเสียงไม่ให้ เสียงคอนกันมาเป็นแนวเทียบ แต่เป็นการเทียบแนวเทียบผิด เช่น แอมไอ – กระแอมกระไอ เจิดเจิง – กระเจิดกระเจิง, มิดเพี้ยน – กระมิดกระเมี้ยน ฯลฯ สําหรับคําอื่น ๆ ที่ไม่ได้เป็นไป ตามนี้ ได้แก่ จมูกปาก – จมูกจปาก, ขโมยโจร – ขโมยขโจร ฯลฯ

ข้อ 56. – 60. ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้แล้วตอบคําถาม
(1) ประโยคบอกเล่า
(2) ประโยคคําถาม
(3) ประโยคคําสั่ง
(4) ประโยคขอร้อง

56. “หลังสอบเสร็จเธอไปดูหนังกับฉันหน่อยนะ” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 4 หน้า 102 (56256), 92 – 93 (H) ประโยคขอร้องหรือชักชวน คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องการ ขอร้องหรือชักชวนให้ผู้ฟังทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ตามที่ตนต้องการ ซึ่งการใช้คําพูดนั้นจะคล้ายกับ ประโยคคําสั่งแต่นุ่มนวลกว่า โดยในภาษาเขียนมักจะมีคําว่า “โปรดกรุณา” อยู่หน้าประโยค ส่วนในภาษาพูดนั้นอาจมีคําลงท้ายประโยค ได้แก่ เถอะ เถิด น่ะ นะ หน่อย ซิ ซี ฯลฯ

57. “ห้ามคุยกันในห้องสอบ” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 3 หน้า 102 (56256), 91 – 92 (H) ประโยคคําสั่ง คือ ประโยคที่ต้องการให้ผู้ฟังทําตามคําสั่ง มักละประธานและขึ้นต้นด้วยคํากริยา เช่น ไปได้แล้ว แต่ถ้าหากจะมีประธานก็จะระบุชื่อหรือ เน้นตัวบุคคลเพื่อให้คนที่ถูกสั่งรู้ตัว เช่น แดงออกไป นอกจากนี้ประโยคคําสั่งอาจมีกริยาช่วย “อย่า/ห้าม/จง/ต้อง” เพื่อสั่งให้ทําหรือไม่ให้ทําก็ได้

58. “วันนี้ใครมาสอบวิชาลักษณะภาษาไทยที่รามคําแหงทันเวลาบ้าง” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 2 หน้า 102 – 103 (56256), 93 – 94 (H) ประโยคคําถาม คือ ประโยคที่ต้องการคําตอบ อาจมี คําแสดงคําถาม ได้แก่ ใคร อะไร ที่ไหน ทําไม เมื่อไร อย่างไร หรือเปล่า หรือไม่ ไหม บ้าง ฯลฯ

59. “วันนี้ใครจะไปสอบทันล่ะ รถติดจะตาย” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 1 หน้า 103 – 104 (56256), 90 – 91, 93 – 94 (H) ประโยคบอกเล่า คือ ประโยคที่บอกเล่า เรื่องราวตามธรรมดา ซึ่งอาจใช้ในทางตอบรับหรือตอบปฏิเสธก็ได้ เช่น ไปแล้วจ้า, ไม่ได้ไปค่ะ ฯลฯ แต่บางครั้งประโยคที่มีคําแสดงคําถามว่า “ใคร/อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร” อาจใช้ ในประโยคบอกเล่าก็ได้ หากไม่ได้แสดงความสงสัยหรือไม่ได้ต้องการคําตอบ แต่จะเป็นการ กล่าวถึงสิ่งต่าง ๆ โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง

60. “กรุณาตรวจทานกระดาษคําตอบทุกครั้งก่อนส่งกรรมการในห้องสอบ” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 56. ประกอบ

61. ข้อใดเป็นคํากริยาที่ทําหน้าที่อย่างคํานาม
(1) ดําเป็นตอตะโก
(2) ช้าเป็นเต่าคลาน
(3) แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร
(4) ดีเป็นศรีแก่ตัว ชั่วพาตัวมัวหมอง
ตอบ 3 หน้า 108 – 109 (56256), 98 (H) คํากริยาที่ทําหน้าที่เป็นคํานาม เช่น นอนหลับทับสิทธิ์ หาบดีกว่าคอน, นอนดีกว่านั่ง, แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร, ความรักสีดํา, กินอยู่กับปาก ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นคําวิเศษณ์ที่ทําหน้าที่อย่างนาม)

62. คํานามในข้อใดแสดงเพศไม่ชัดเจนทุกคํา
(1) ลุงกับหลานไปหาหลวงตาที่วัด
(2) พ่อกับอาไปกินข้าวบ้านคุณลุง
(3) น้องไปบอกน้าให้พาพี่ไปหาหมอ
(4) อาพาลูกสะใภ้คนสวยไปกราบคุณยาย
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 2. ประกอบ

63.“เธอ” ในข้อใดเป็นสรรพนามบุรุษที่ 3
(1) เธอไปแล้ว
(2) เธอเข้าใจนะ
(3) เธอฟังให้ดีนะ
(4) เธอมาใกล้ ๆ หน่อย
ตอบ 1หน้า 112 – 113 (56256), 99 (H) สรรพนามบุรุษที่ 3 ใช้แทนผู้ที่พูดถึง ได้แก่ เขา มัน ท่าน แก นอกจากนั้นมักใช้เอ่ยชื่อเสียส่วนมาก ถ้าอยู่ในที่ที่จําเป็นต้องกล่าวคําดีงามหรือต่อหน้าผู้ใหญ่ มักมีคําว่า “คุณ/นาย/นาง/นางสาว” นําหน้าชื่อให้เหมาะสมแก่โอกาสด้วย เช่น คุณแม่ออกไป ทํางานแล้ว เป็นต้น (คําว่า “ท่าน/เธอ/คุณ” อาจเป็นได้ทั้งสรรพนามบุรุษที่ 2 (ผู้ที่พูดด้วย) และสรรพนามบุรุษที่ 3 โดยเฉพาะเมื่อพูดถึงด้วยความยกย่อง เช่น เธอไปแล้ว, ท่านมาไม่ได้ ติดธุระด่วน ฯลฯ) (ส่วนคําว่า “เธอ” ในตัวเลือกข้ออื่นเป็นสรรพนามบุรุษที่ 2

64. ข้อใดใช้คําสรรพนามแสดงความไม่เฉพาะเจาะจง
(1) วันนี้เธอเป็นอะไร
(2) อะไรบ้างที่อยากได้
(3) อะไรที่ไม่ใช่ของตัวเอง
(4) อะไรกันเอาแต่ใจตัวเอง
ตอบ 4 หน้า 111, 116 – 118 (56256), 99 (H) คําสรรพนามที่บอกความไม่เฉพาะเจาะจง ได้แก่ “ใคร/อะไร/ใด/ไหน” ซึ่งเป็นคํากลุ่มเดียวกันกับสรรพนามที่บอกคําถาม แต่สรรพนามที่บอก ความไม่เฉพาะเจาะจงจะกล่าวถึงบุคคล สิ่งของ หรือสถานที่แบบลอย ๆ ไม่ชี้เฉพาะเจาะจงว่า เป็นใคร อะไรหรือที่ไหน และไม่ได้เป็นการถาม เช่น อะไรกันเอาแต่ใจตัวเอง ฯลฯ (ส่วนตัวเลือก ข้ออื่นเป็นสรรพนามที่บอกคําถาม)

65.“13 หมูป่าต่างติดอยู่ในถ้ำหลวง” ประโยคนี้ใช้คําสรรพนามชนิดใด
(1) เฉพาะเจาะจง
(2) ไม่เฉพาะเจาะจง
(3) บอกความแบ่งแยกเป็นส่วน ๆ
(4) ใช้แทนนามและเชื่อมประโยค
ตอบ 3 หน้า 111, 118 – 119 (56256), 99 – 100 (H) สรรพนามที่บอกความแบ่งแยกเป็นส่วน ๆ ได้แก่ คําว่า “ต่าง” (ใช้แทนผู้ทําหลายคนทํากริยาเดียวกัน แต่ไม่ได้ทําพร้อมกัน เช่น ต่างติด อยู่ในถ้ำหลวง), “บ้าง” (ใช้แทนผู้ทําหลายคนแยกกันทํากริยาคนละอย่าง เช่น บ้างยืนบ้างนั่ง) “กัน” (ใช้แทนนามที่ต่างก็ทํากริยาเดียวกัน เกี่ยวข้องกัน เช่น มาด้วยกันไปด้วยกัน)

66. การใช้คําสรรพนามในข้อใดที่แสดงออกชัดเจนที่สุดว่า ผู้พูดอยู่ในฐานะอาวุโสกว่าผู้ที่พูดถึง
(1) ยายส้มแกเป็นเด็กดีมาก
(2) ไอ้น้อยมันเป็นเพื่อนรักของฉัน
(3) ย่าช้อยมีฝีมือในการทํากับข้าวมาก
(4) คุณบุญปลูกเป็นที่เคารพรักของคนในหมู่บ้าน
ตอบ 1 หน้า 115 (56256), 99 (H) คําว่า “แก” เป็นสรรพนามบุรุษที่ 3 ซึ่งแสดงว่าไม่เคารพนับถือ มากนัก มักหมายถึงบุคคลน่าเวทนา น่าสมเพชมากกว่าน่านับถือ เช่น ยายแก่แก่ตาบอด ฯลฯ แต่ถ้าผู้ที่อาวุโสกว่าใช้พูดกับเด็กเล็ก ๆ กลับเป็นการแสดงความเอ็นดูรักใคร่ เช่น ยายส้มแก เป็นเด็กดีมาก ฯลฯ

67. ข้อใดใช้คํากริยาที่ไม่ต้องการกรรมทั้ง 2 ประโยค
(1) ฝนตกพรํา ๆ ทั้งคืน นกบินสูง
(2) ขาวชอบขับรถเร็ว แดงวิ่งเร็วมาก
(3) อาจารย์ตรวจข้อสอบ นักศึกษาตั้งใจเรียนดี
(4) พยาบาลดูแลคนไข้ คนไข้กําลังหายใจรวยริน
ตอบ 1 หน้า 105 (56256), 95 (H) ภาคแสดงหรือกริยา เป็นส่วนที่แสดงกิริยาอาการหรือการกระทํา ของภาคประธาน ซึ่งตามธรรมดากริยาจะมีตําแหน่งอยู่หลังประธาน และอยู่หน้ากรรม (กริยา ที่มีกรรมมารับ) เช่น ขาวชอบขับรถเร็ว, อาจารย์ตรวจข้อสอบ, พยาบาลดูแลคนไข้ ฯลฯ แต่ว่า คํากริยานั้นจะไม่มีกรรมก็ได้ (ประธาน + กริยา + ส่วนขยายกริยา) เช่น ฝนตกพรำๆทั้งคืน, นกบินสูง, แดงวิ่งเร็วมาก, นักศึกษาตั้งใจเรียนดี, คนไข้กําลังหายใจรวยริน ฯลฯ

68. ประโยคในข้อใดมีคํากริยาช่วย
(1) น้องโบว์เต้นเก่ง
(2) น้องขวัญร้องเพลงเพราะ
(3) น้องฝ้ายไปออกกําลังกาย
(4) น้องมายด์กําลังซ้อมเต้นรํา
ตอบ 4 หน้า 120 – 124 (56256), 100 – 101 (H) คํากริยาช่วย คือ คําที่ช่วยบอกเนื้อความของกริยา
ต่าง ๆ ให้แจ่มแจ้งชัดเจน ได้แก่ คง อาจ น่าจะ กําลัง ควร ต้อง ได้ จะ แล้ว อยู่ ชอบ มา ฯลฯ ซึ่งแต่ละคํามีความหมายต่างกันไปและบอกให้รู้ถึงกาล (เวลา) เช่น น้องมายด์กําลังซ้อมเต้นรํา (บอกปัจจุบัน) เป็นต้น และบอกมาลา (ภาวะหรืออารมณ์) เช่น เขียวชอบร้องเพลงเร็ว เป็นต้น

69. ข้อใดใช้คํากริยาการีต
(1) ฉันจะไปห้องสมุด
(2) ฉันจะไปซื้อของ
(3) ฉันจะไปว่ายน้ำ
(4) ฉันจะไปทําฟัน
ตอบ 4 หน้า 128 (56256), (คําบรรยาย) คํากริยาธรรมดาที่มีความหมายเป็นการีต (ทําให้) เป็นคําที่กําหนดขึ้นเป็นพิเศษ และมีความหมายเฉพาะเป็นที่รู้กัน ซึ่งดูเหมือนว่าประธานเป็นผู้กระทํา กริยานั้นเอง แต่ที่จริงแล้วประธานเป็นผู้ถูกกระทํา เช่น ไปดูหมอ (ที่จริงคือ ให้หมอดูโชคชะตา ให้ตน), ไปตรวจโรค (ที่จริงคือ ให้หมอยาตรวจโรคให้ตน), ไปตัดเสื้อทําผม (ที่จริงคือ ให้ช่าง ตัดเสื้อและทําผมให้ตน), ไปทําฟัน (ที่จริงคือ ให้หมอฟันทําฟันให้ตน) ฯลฯ

70. “เลิกคุยทั้งอําเภอเพื่อเธอคนเดียว” ทั้งอําเภอ เป็นคํากริยาวิเศษณ์ชนิดใด
(1) บอกประมาณ
(2) บอกภาวะ
(3) บอกความไม่เฉพาะเจาะจง
(4) บอกความแบ่งแยกเป็นส่วน ๆ
ตอบ 1 หน้า 139 (56256), 103 (H) คํากริยาวิเศษณ์บอกประมาณ ได้แก่ มาก น้อย ทั้ง นิดหน่อย มากมาย เหลือเกิน พอ ครบ ขาด หมด สิ้น แทบ เกือบ จวน เสมอ บ่อย ฯลฯ ซึ่งคําเหล่านี้ ต้องวางอยู่หลังคํากริยา เช่น เลิกคุยทั้งอําเภอ ฯลฯ

71. “น้ําน้อยย่อมแพ้ไฟ” ประโยคนี้ใช้คําคุณศัพท์ชนิดใด
(1) บอกความแบ่งแยก
(2) บอกจํานวนนับไม่ได้
(3) บอกลักษณะหรือภาวะ
(4) บอกความไม่เฉพาะเจาะจง
ตอบ 2 หน้า 132 – 133 (56256), 102 (H) คําคุณศัพท์บอกจํานวนนับไม่ได้ (ประมาณคุณศัพท์) หรือคําคุณศัพท์บอกจํานวนประมาณ ได้แก่ มาก น้อย นิด หน่อย ครบ พอ เกิน เหลือ ขาด ถ้วน ครบถ้วน หมด หลาย ทั้งหลาย ทั้งหมด ทั้งสิ้น ทั้งนั้น ทั้ง ฯลฯ ซึ่งตามปกติมักจะอยู่หลัง คํานามที่ตนเองไปขยาย เช่น น้ำน้อยย่อมแพ้ไฟ เป็นต้น

72. ข้อใดเป็นคําคุณศัพท์ชนิดที่เป็นคําถาม
(1) เพื่อนฉันไปไหน
(2) คนไหนเพื่อนฉัน
(3) ทําอะไรกับเพื่อนฉัน
(4) ไหน ๆ เราก็เป็นเพื่อนกันนะ
ตอบ 2 หน้า 135 – 137 (56256), 102 (H) คุณศัพท์ที่เป็นคําถาม ได้แก่ ใด อะไร ไหน ไร ซึ่งเป็น คํากลุ่มเดียวกันกับคุณศัพท์ที่บอกความไม่ชี้เฉพาะเจาะจง แต่คุณศัพท์ที่เป็นคําถามจะใช้ถาม คําถาม และต้องมีนามมาข้างหน้า เช่น คนไหนเพื่อนฉัน ฯลฯ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นไม่มีคํานาม นําหน้า)

73. “ผู้พูดควรให้เกียรติแก่ผู้ฟัง” ข้อความนี้ใช้คําบุรพบทชนิดใด
(1) คําบอกทิศทางที่มุ่งไป
(2) คําแสดงความเป็นเจ้าของ
(3) คําเกี่ยวกับการให้หรือการรับ
(4) คําที่เป็นเครื่องประกอบหรือเกี่ยวเนื่องกัน
ตอบ 3 หน้า 145 – 147 (56256), 105 (H) คําบุรพบทที่นําหน้าคําที่เกี่ยวกับการให้หรือการรับ ได้แก่ แก่, แก่, ต่อ, เพื่อ, สําหรับ, เฉพาะ เช่น ผู้พูดควรให้เกียรติแก่ผู้ฟัง ฯลฯ

74. “เสียงและน้ําเสียงเป็นปัจจัยสําคัญของการพูด เพราะการเปล่งเสียงพูดเป็นการแสดงออกของมนุษย์ เพื่อสื่อความคิดของตนให้ผู้อื่นทราบ” ข้อความที่ยกมานี้มีคําบุรพบทที่คํา
(1) 3 คำ
(2) 4 คํา
(3) 5 คํา
(4) 6 คำ
ตอบ 2 หน้า 142 – 152 (56256), 104 – 106 (H) ข้อความข้างต้นมีคําบุรพบททั้งหมด 4 คํา ได้แก่ เสียงและน้ําเสียงเป็นปัจจัยสําคัญของการพูด เพราะการเปล่งเสียงพูดเป็นการแสดงออกของ มนุษย์เพื่อสื่อความคิดของตนให้ผู้อื่นทราบ

75. “การวิจารณ์มิได้มีประโยชน์แก่ผู้พูดเท่านั้น แต่ยังมีประโยชน์แก่ผู้ติชมอีกด้วย” ข้อความที่ยกมานี้ใช้คําสันธานชนิดใด
(1) ขัดแย้งกัน
(2) เปรียบเทียบกัน
(3) เป็นเหตุเป็นผลกัน
(4) รวมเข้าด้วยกัน
ตอบ 1 หน้า 155 – 156 (56256), 106 (H) คําสันธานที่เชื่อมความที่ขัดแย้งกันไปคนละทาง ได้แก่ แต่, แต่ว่า แต่ทว่า, จริงอยู่….แต่ ถึง…ก็, กว่า….ก็, ทั้งที่ ทั้ง ๆ ที่

76. “ชายหนุ่มคิดเพียงแต่ว่าหากไม่เลือกงาน เขาคงหางานได้ไม่ยาก” ข้อความนี้ใช้คําสันธานชนิดใด
(1) เปรียบเทียบกัน
(2) เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง
(3) คาดคะเนหรือแบ่งรับแบ่งสู้
(4) ให้ได้ความไพเราะสละสลวย
ตอบ 3 หน้า 156 – 157 (56256), 107 (H) คําสันธานที่เชื่อมความคาดคะเนหรือแบ่งรับแบ่งสู้ ได้แก่ ถ้า, หาก, ถ้า…ก็, ถ้า…จึง, ถ้าหากว่า แม้แต่ แม้ว่า, เว้นแต่, นอกจาก

77. “นั่นแน่อยู่ตรงนี้นี่เอง” ข้อความนี้เป็นคําอุทานที่มาจากคําสรรพนามชนิดใด
(1) บอกความเฉพาะเจาะจง
(2) บอกความไม่เฉพาะเจาะจง
(3) ใช้แทนนามและเชื่อมประโยค
(4) บอกความแบ่งแยกเป็นส่วน ๆ
ตอบ 1 หน้า 111, 115 – 116 (56256), 99 (H) สรรพนามที่แสดงความเฉพาะเจาะจง ได้แก่ “นี้ นั้น โน้น นี่ นั่น โน่น” ซึ่งคําทั้งหมดนี้ใช้แทนสิ่งที่พูดถึง อะไรก็ได้เพราะไม่ได้ระบุชื่อ ในขณะนั้น และคําว่า “นั่นนี่” ยังใช้สร้างคําขึ้นใหม่ โดยมากจะเป็นคําอุทานที่แต่ละคํา ก็มีความหมายเฉพาะอย่างหนึ่ง ๆ ต่างกันไป ได้แก่ “นั่นแน่ นั่นแน่ะ นั่นซี นั่นแหละ นี่ซิ นี่แหละ นั่นไง นั่นเป็นไง”

78. คําใดคือลักษณนามของ “กริช”
(1) เล่ม
(2) ด้าม
(3) อัน
(4) กริช
ตอบ 1 หน้า 160 – 165 (56256), 109 – 110 (H) คําลักษณนาม คือ คําที่ตามหลังคําบอกจํานวนนับ เพื่อบอกรูปลักษณะและชนิดคํานามที่อยู่ข้างหน้าคําบอกจํานวนนับ มักจะเป็นคําพยางค์เดียว แต่เป็นคําที่สร้างขึ้นใหม่โดยอาศัยการอุปมาเปรียบเทียบ การเลียนเสียงธรรมชาติ การเทียบ แนวเทียบ และการใช้คําซ้ำกับคํานามนั้นเอง (กรณีที่ไม่มีลักษณนามโดยเฉพาะ) เช่น กริซ (เล่ม), ไหล่ถนน หรือไหล่ทาง (ข้าง), หูโทรศัพท์ (อัน) ฯลฯ

79. คําใดคือลักษณนามของ “ไหล่ถนน หรือไหล่ทาง”
(1) ไหล่
(2) ข้าง
(3) เส้น
(4) ทาง
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 78. ประกอบ

80. คําใดคือลักษณนามของ “หูโทรศัพท์”
(1) ชุด
(2) ข้าง
(3) อัน
(4) หู
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 78. ประกอบ

ข้อ 81 – 90. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคําถาม โดยให้สัมพันธ์กับข้อความที่ให้อ่าน

จากความใกล้ชิดกับบรรดาพ่อแม่ที่มีลูกโต (7 ปีขึ้นไปถึงวัยรุ่น) นิตยสาร Life & family บ่อยครั้งก็ได้รับเสียงสะท้อนจากพ่อแม่ว่า ลูกยิ่งโตยิ่งได้รับอิทธิพลจากสื่อทั้งทีวี เพลง มิวสิกวิดีโอ นิตยสาร และอื่น ๆ ทําให้ค่านิยมเปลี่ยนไปในทางที่น่าเป็นห่วงโดยเฉพาะลูกสาววัยรุ่น

เราจึงได้นําเสนอประเด็นนี้ในคอลัมน์รู้จักใจลูกวัย 13 ปีขึ้นไปถึงวัยรุ่น เพื่อสะกิดเตือนพ่อแม่ และผู้ใหญ่ให้เห็นอิทธิพลของสื่อและทางป้องกัน และนํามาส่งสัญญาณเตือนกันอีกครั้ง ณ ที่นี้ค่ะ

สังคมทุกวันนี้ผสมผสานคลุกเคล้าทั้งวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมต่างชาติ จนทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ ก็สับสนกันพอสมควร โดยเฉพาะค่านิยมทางเพศ ผู้หญิงกล้าแสดงออกมากขึ้น เปิดเผยมากขึ้น และก็มีเซ็กซ์กันง่ายขึ้นด้วย

มีงานวิจัยออกมามากว่า….วัยรุ่นมากกว่าครึ่งยอมรับว่า การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนเป็น เรื่องธรรมดา หรือค่านิยมใหม่นักศึกษาสาวชอบหลอกฟันหนุ่มบําเรอกาม

ค่านิยมเหล่านี้เข้ามาในสังคมบ้านเราในยุคที่เปิดกว้างรับทุกอย่าง โดยไหลผ่านสื่อเข้ามา และความสามารถในการกรองสื่อของเด็กก็เป็นไปแบบครึ่ง ๆ กลาง ๆ

เรื่องนี้คุณหมอสุกมล วิภาวิพลกุล ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเพศศึกษาได้กล่าวว่า ที่น่าห่วงคือ สื่อต่าง ๆ มีอิทธิพลต่อเด็กและวัยรุ่นในเรื่องของทัศนคติทางเพศ โดยเฉพาะในรูปแบบของโฆษณา ซึ่งสมัยก่อนหญิงชายจะแตะเนื้อต้องตัวกันไม่ได้ แต่เดี๋ยวนี้ในโฆษณามีภาพการเล้าโลมสัมผัสหรือ ฝ่ายหญิงเป็นฝ่ายเริ่มต้นจีบผู้ชาย ซึ่งตรงนี้เองจะทําให้ทัศนคติของวัยรุ่นค่อย ๆ เปลี่ยนไป ค่อย ๆ ซึมซับ มองเรื่องแบบนี้เป็นเรื่องธรรมดา

แล้วในขณะที่สื่อพวกนี้มาแรง สื่อทางวัฒนธรรมไทยก็อ่อนกําลังลง คําพูดที่กล่าวว่า อย่าชิงสุก ก่อนห่าม ให้อดเปรี้ยวไว้กินหวาน หมดความหมายไปแล้ว

ที่น่าห่วงคือ เด็กยังคิดไปไม่ได้ไกล คิดแค่…โป๊อีกนิดสิอินเทรนด์หรือแค่จีบเล่น ๆ ไม่เห็นเป็นไร แต่ยังไม่ทันคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้นต่อไป

คุณหมอแนะว่า ต้องสอนลูกวัยรุ่นให้มีความเป็นตัวของตัวเอง รู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง และ มีวุฒิภาวะ ซึ่งเป็นความสามารถของสมองส่วนคิดที่มีเหนือกว่าสมองส่วนหยาบ เด็กต้องได้รับการพัฒนา ความสามารถของสมองส่วนคิด ซึ่งเกิดจากการเลี้ยงดูของพ่อแม่ การศึกษาที่โรงเรียน วัฒนธรรม และ สื่อมวลชน เพราะสิ่งเร้าอารมณ์ทั้งหลายมันกระตุ้นสมองส่วนหยาบ

ดังนั้นพ่อแม่ต้องเลี้ยงดูลูกให้รู้จักควบคุมสมองส่วนหยาบ ถ้าเด็กอยากได้อะไรแล้วได้ทันที รอไม่เป็น จะสอนให้เขาควบคุมในเรื่องเพศได้อย่างไร ฝึกลูกให้มีวิจารณญาณต่อเรื่องต่าง ๆ รอบตัว โดยเฉพาะที่มากับสื่อ

และต้องเลี้ยงลูกให้ตระหนักในคุณค่าของตัวเอง ไม่ให้ลูกรู้สึกต่ำต้อยด้อยค่าเพราะเพื่อน ๆ มีแฟนกันหมดแล้วตัวเองไม่มี หรือต้องให้มีผู้ชายมารับ เพื่อจะได้รู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่าหรือเกิดผู้ชายทิ้ง ไปแล้วรู้สึกคุณค่าในตัวเองลดลงจนต้องฆ่าตัวตาย

ความรักความอบอุ่นของพ่อแม่จะทําให้ลูกรู้สึกตัวเองมีคุณค่า และยิ่งพ่อแม่ทําตัวเป็นเพื่อน กับลูก ลูกก็จะกล้าคุยปรึกษาหารือปัญหาต่าง ๆ กับพ่อแม่ โดยเฉพาะเรื่องเพศ พ่อแม่อาจบอกลูกสาวว่า “ลูก คือ เด็กผู้หญิงที่พ่อแม่รักที่สุดในโลก พ่อแม่จึงอยากให้ลูกรักษาเนื้อรักษาตัว โดยการไม่พาตัวเอง เข้าไปอยู่ในสถานการณ์เสี่ยง เพราะถ้าลูกเป็นอะไรไปคุณพ่อคุณแม่หัวใจแตกสลาย”

และกับลูกชายอาจบอกว่า “ลูก คือ เด็กหนุ่มที่พ่อแม่ภาคภูมิใจ เพราะฉะนั้นจึงอยากให้ลูก ตั้งใจเรียนเพื่อรับผิดชอบตัวเอง และสามารถรับผิดชอบคนที่จะมาใช้ชีวิตคู่ร่วมกันกับเราได้ รักพี่สาว รักคุณแม่อย่างไร เราต้องให้เกียรติสุภาพสตรีคนอื่นเช่นเดียวกัน”

เราสามารถใช้สื่อต่าง ๆ เป็นตัวจุดชนวนเปิดประเด็นที่จะคุยกับลูก แล้วฟังเขา หรืออาจ ฉวยโอกาสสอน เช่น เมื่อมีฉากกอดจูบ เราอาจบอกลูกสาวว่า การกอดจูบเป็นวัฒนธรรมต่างประเทศ เราไม่กอดกันเพราะว่าเราเป็นเมืองร้อน แล้วเราก็ไม่จูบกันเพราะว่าคนไทยกินอาหารรสจัด แล้วก็แลกเปลี่ยนความคิดกัน

หากลูกมองเห็นคุณค่าในตัวเอง และมีวิจารณญาณกับเรื่องต่าง ๆ รอบตัวแล้ว….แม้สิ่งเร้า ภายนอกจะแรงแค่ไหนก็ไหวได้แค่กิ่งใบ ไม่สามารถหักกลางลําได้แน่ค่ะ

81. สังคมที่คลุกเคล้าวัฒนธรรมมีผลเชิงลบต่อกลุ่มใด
(1) เด็ก
(2) เยาวชน
(3) ผู้ใหญ่
(4) ทุกกลุ่ม
ตอบ 4 จากข้อความ… สังคมทุกวันนี้ผสมผสานคลุกเคล้าทั้งวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมต่างชาติ จนทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ ก็สับสนกันพอสมควร โดยเฉพาะค่านิยมทางเพศ ผู้หญิงกล้าแสดงออก มากขึ้น เปิดเผยมากขึ้น และก็มีเซ็กซ์กันง่ายขึ้นด้วย

82. สิ่งใดมีผลต่อค่านิยมที่เปลี่ยนไปของวัยรุ่น
(1) การศึกษาขั้นพื้นฐาน
(2) สังคมวัตถุนิยม
(3) การศึกษาในระดับอุดมศึกษา
(4) ความสามารถในการกรองสื่อ
ตอบ 4 จากข้อความ… ลูกยิ่งโตยิ่งได้รับอิทธิพลจากสื่อทั้งทีวี เพลง มิวสิกวิดีโอ นิตยสาร และอื่น ๆ ทําให้ค่านิยมเปลี่ยนไปในทางที่น่าเป็นห่วงโดยเฉพาะลูกสาววัยรุ่น…ค่านิยมเหล่านี้เข้ามาใน สังคมบ้านเราในยุคที่เปิดกว้างรับทุกอย่าง โดยไหลผ่านสื่อเข้ามา และความสามารถในการ กรองสื่อของเด็กก็เป็นไปแบบครึ่ง ๆ กลาง ๆ

83. ความสามารถในการกรองสื่อ หมายถึงลักษณะใด
(1) การวิจารณ์
(2) การวิเคราะห์
(3) การประเมิน
(4) การประมาณ
ตอบ 2 (ดูคําอธิบายข้อ 82. ประกอบ) ความสามารถในการกรองสื่อ หมายถึง การรู้จักวิเคราะห์ ใคร่ครวญ กลั่นกรองเนื้อหาของสื่อต่าง ๆ เพื่อแยกแยะค่านิยมที่ดี ไม่ดีให้ถ่องแท้

84. สิ่งใดมีผลต่อพฤติกรรมที่สมควรของวัยรุ่น
(1) ความรู้
(2) สติ
(3) การคิดเป็น
(4) ความสามารถในการรับรู้
ตอบ 3 จากข้อความ… เด็กต้องได้รับการพัฒนาความสามารถของสมองส่วนคิด ซึ่งเกิดจากการเลี้ยงดู
ของพ่อแม่ การศึกษาที่โรงเรียน วัฒนธรรม และสื่อมวลชน เพราะสิ่งเร้าอารมณ์ทั้งหลายมัน กระตุ้นสมองส่วนหยาบ (สมองส่วนคิดในที่นี้ก็คือ การคิดเป็น ซึ่งเป็นสิ่งที่มีผลต่อพฤติกรรมที่ สมควรของวัยรุ่น)

85. ผู้ที่ทําร้ายจนถึงขั้นทําลายตนเองได้เกิดจากอะไร
(1) สังคมกดดัน
(2) พ่อแม่บีบคั้น
(3) การไม่รักตนเอง
(4) ความรู้สึกว่าตนด้อยค่า
ตอบ 4 จากข้อความ…. และต้องเลี้ยงลูกให้ตระหนักในคุณค่าของตัวเอง ไม่ให้ลูกรู้สึกต่ำต้อยด้อยค่า เพราะเพื่อน ๆ มีแฟนกันหมดแล้วตัวเองไม่มี หรือต้องให้มีผู้ชายมารับ เพื่อจะได้รู้สึกว่าตัวเอง มีคุณค่าหรือเกิดผู้ชายทิ้งไปแล้วรู้สึกคุณค่าในตัวเองลดลงจนต้องฆ่าตัวตาย

86. เราควรทําอย่างไรกับสมองส่วนหยาบ
(1) กําจัด
(2) จํากัด
(3) พัฒนา
(4) ฝึกทักษะ
ตอบ 2 จากข้อความ…. ดังนั้นพ่อแม่ต้องเลี้ยงดูลูกให้รู้จักควบคุมสมองส่วนหยาบ ถ้าเด็กอยากได้อะไร แล้วได้ทันที รอไม่เป็น จะสอนให้เขาควบคุมในเรื่องเพศได้อย่างไร ฝึกลูกให้มีวิจารณญาณต่อ เรื่องต่าง ๆ รอบตัว โดยเฉพาะที่มากับสื่อ (การควบคุมสมองส่วนหยาบในที่นี้ก็คือ การกํากับ ดูแลหรือจํากัดความสามารถของสมองส่วนหยาบไม่ให้เหนือกว่าสมองส่วนคิด)

87. ข้อใดตรงกับข้อสรุปของข้อความที่ให้อ่าน
(1) เลี้ยงลูกให้ถูกวิธีจะปิดกั้นอิทธิพลลบจากสื่อได้เด็ดขาด
(2) การแก้ไขพฤติกรรมวัยรุ่นเป็นเรื่องสายเกินแก้เสียแล้ว
(3) วัยรุ่นอาจหวั่นไหวด้วยอิทธิพลจากสื่อได้บ้าง แต่การเลี้ยงดูที่ถูกต้องจะป้องกันได้
(4) สื่อในทางผิด ๆ และวัฒนธรรมไทยที่อ่อนแอลงมีผลต่อพฤติกรรมวัยรุ่นอย่างไม่มีทางป้องกัน
ตอบ 3 จากข้อความ… หากลูกมองเห็นคุณค่าในตัวเอง และมีวิจารณญาณกับเรื่องต่าง ๆ รอบตัวแล้ว …แม้สิ่งเร้าภายนอกจะแรงแค่ไหนก็ไหวได้แค่กิ่งใบ ไม่สามารถหักกลางลําได้แน่ค่ะ

88. โวหารการเขียนเป็นแบบใด
(1) อธิบาย
(2) พรรณนา
(3) บรรยาย
(4) อภิปราย
ตอบ 1 หน้า 72 (54351), (คําบรรยาย) โวหารเชิงอธิบาย คือ โวหารที่ใช้ในการชี้แจงเพื่อให้ผู้อ่าน เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างชัดเจนแจ่มแจ้ง ซึ่งเป็นการให้ความรู้หรือข้อมูลแต่เพียงด้านเดียว อาจจะเป็นด้านบวกหรือด้านลบก็ได้ โดยมีการชี้แจงแสดงเหตุและผล การยกตัวอย่างประกอบ การเปรียบเทียบ และการจําแนกแจกแจง เช่น การอธิบายความหมายของคํา กฎเกณฑ์ ทฤษฎี และวิธีการต่าง ๆ

89. แนวเรื่องเป็นไปในลักษณะใด
(1) ให้ข้อมูล
(2) แสดงทัศนะ
(3) วิพากษ์วิจารณ์
(4) ให้ข้อมูลและแสดงทัศนะ
ตอบ 4 (คําบรรยาย) แนวเรื่อง คือ จุดประสงค์ของผู้เขียนในเรื่องนี้จะเป็นไปในลักษณะของ การให้ข้อมูลและแสดงทัศนะหรือความคิดเห็นไปพร้อม ๆ กัน

90. ท่วงทํานองเขียนเป็นแบบใด
(1) กระชับรัดกุม
(2) เรียบง่าย ใช้ภาษาพูดปะปน
(3) สละสลวย สื่อภาพพจน์
(4) มีภาษาต่างประเทศปนอยู่
ตอบ 2 หน้า 58 (54351) ผู้เขียนใช้ท่วงทํานองเขียนแบบเรียบง่าย คือ ท่วงทํานองเขียนที่ใช้คําง่าย ชัดเจน การผูกประโยคไม่ซับซ้อน ทําให้อ่านง่ายและเข้าใจได้ทันที โดยไม่ต้องเสียเวลาในการ ขบคิดมากนัก แต่จะมีการใช้ภาษาพูดปะปนบ้างในบางย่อหน้า

ข้อ 91 – 94. ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคําถาม
(1) จมไม่ลง ทอดสะพาน ชื่อเหมือนแมวนอนหวด
(2) สาวไส้ให้กากิน ดีดลูกคิดรางแก้ว ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น
(3) ทองไม่รู้ร้อน สีซอให้ควายฟัง น้ำอุ่นไว้ใน น้ำใสไว้นอก
(4) เรียนผูกต้องเรียนแก้ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่

91. ข้อใดเป็นสํานวนทั้งหมด
ตอบ 1 หน้า 119 – 121 (H) ข้อแตกต่างของสํานวน คําพังเพย และสุภาษิต มีดังนี้
1. สํานวน หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นอย่างกะทัดรัด ใช้คําน้อยแต่กินความหมายมาก และ เป็นความหมายโดยนัยหรือโดยเปรียบเทียบ เช่น จมไม่ลง (เคยทําตัวยิ่งใหญ่มาแล้วทําให้ เล็กลงไม่ได้), ทอดสะพาน (แสดงกิริยาท่าทางเป็นทํานองว่าอยากจะติดต่อด้วย), ชื่อเหมือน แมวนอนหวด (ทําเป็นชื่อ), ทองไม่รู้ร้อน (เฉยเมย ไม่กระตือรือร้น) เป็นต้น

2. คําพังเพย หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อตีความ สรุปเหตุการณ์ สภาวการณ์ บุคลิก และอารมณ์ให้เข้ากับเรื่อง มีความหมายกลาง ๆ ไม่เน้นการสั่งสอน แต่แฝงคติเตือนใจให้ นําไปปฏิบัติหรือไม่ให้นําไปปฏิบัติ เช่น สาวไส้ให้กากิน (นําความลับของฝ่ายตนไปเปิดเผย ให้คนอื่นรู้), ดีดลูกคิดรางแก้ว (คิดถึงผลที่จะได้อยู่ทางเดียว), ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น (ลูกย่อม ไม่ต่างจากพ่อแม่มากนัก), สีซอให้ควายฟัง (สั่งสอนคนโง่มักไม่ได้ผล เสียเวลาเปล่า) เป็นต้น

3. สุภาษิต หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อสั่งสอนโดยตรง ซึ่งอาจเป็นคติ ข้อติติง คําจูงใจ หรือคําห้าม และเนื้อความที่สั่งสอนก็เป็นความจริง เป็นความดีที่ยอมรับกันโดยทั่วไป เช่น น้ําอุ่นไว้ใน น้ําใสไว้นอก (แม้จะไม่พอใจก็ควรแสดงสีหน้าที่ยิ้มแย้ม), เรียนผูกต้องเรียนแก้ (เมื่อรู้วิธีทํา ก็ต้องรู้วิธีแก้ไข), น้ําเชี่ยวอย่าขวางเรือ (อย่าขัดขวางผู้ที่มีอํานาจหรือผู้ที่กําลัง โกรธจัด), ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ (ให้รู้จักพิจารณาลักษณะบุคคลหรือผู้หญิงที่จะเลือก เป็นคู่ครอง) เป็นต้น

92. ข้อใดเป็นคําพังเพยทั้งหมด
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 91. ประกอบ

93. ข้อใดเป็นสุภาษิตทั้งหมด
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 91. ประกอบ

94. ข้อใดเรียงลําดับถูกต้องตั้งแต่สํานวน คําพังเพย และสุภาษิต
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 91. ประกอบ

95. ข้อใดมีความหมายว่า “ดีแต่พูดแต่ทําไม่ได้”
(1) เนื้อเต่ายําเต่า
(2) ลางเนื้อชอบลางยา
(3) ละเลงขนมเบื้องด้วยปาก
(4) บนข้าวผี ที่ข้าวพระ
ตอบ 3 ละเลงขนมเบื้องด้วยปาก = ดีแต่พูดแต่ทําไม่ได้ (ส่วนเนื้อเต่ายําเต่า – นําเอาทรัพย์สินในส่วน ที่เป็นกำไรหรือดอกเบี้ยกลับไปลงทุนต่อไปอีก โดยที่ไม่ต้องใช้ทุนเดิม, ลางเนื้อชอบลางยา = ของสิ่งเดียวกัน ถูกกับคนหนึ่ง แต่ไม่ถูกกับอีกคนหนึ่ง, บนข้าวผี ที่ข้าวพระ = ขอร้องให้ผีสาง เทวดาช่วยเหลือโดยจะแก้บนเมื่อประสบผลสําเร็จแล้ว)

96. “ชั่วช่างชี ดีช่างสงฆ์” มีความหมายตรงกับข้อใด
(1) ยกเรื่องต่าง ๆ มาอ้างเพื่อป้องกันตัวเอง
(2) ปล่อยไปตามเรื่องตามราว ไม่เอาเป็นธุระ
(3) คนที่กันท่าคนอื่นในสิ่งที่ตนใช้ประโยชน์ไม่ได้
(4) ค่อย ๆ คิด ค่อย ๆ ทํา จึงจะประสบความสําเร็จ
ตอบ 2 ชั่วช่างซี ดีช่างสงฆ์ – ปล่อยไปตามเรื่องตามราว ไม่เอาเป็นธุระ

97. เสียงพูดข้อใดเขียนวรรณยุกต์ไม่ถูกต้อง
(1) ฉันช๊อบชอบ เด็กคนนี้ซ้นชน
(2) กินจนอิ่มอิ่ม ช้างตัวโต๊โต
(3) ไปเที่ยวบ๊อยบ่อย เขามีชีวิตดี๊ดี
(4) เสื้อผ้าเก๊าเก่า ชาวบ้านจ๊นจน
ตอบ 1 (ดูคําอธิบายข้อ 23. ประกอบ) คําที่เขียนรูปวรรณยุกต์ผิด ได้แก่ ฉันช๊อบชอบ เด็กคนนี้ซ๊นชน ซึ่งที่ถูกต้องคือ ฉันช้อบชอบ เด็กคนนี้ซ้นชน

98. ข้อใดมีคําผิดอยู่ในประโยค
(1) น้องชอบกินอินทผลัม
(2) ฉันไปซื้อของที่อนุเสารีย์ชัย
(3) ช่างแกะสลักทํางานประณีตมาก
(4) หมู่บ้านนี้มีคนเป็นโรคไหลตาย
ตอบ 2 คําที่สะกดผิด ได้แก่ ฉันไปซื้อของที่อนุเสารีย์ชัย
ซึ่งที่ถูกต้องคือ ฉันไปซื้อของที่อนุสาวรีย์ชัย

99. ข้อใดสะกดถูกทุกค่า
(1) จตุรัส รื่นรมณ์ เบญจเพศ
(2) บังสุกุล บิณฑบาต โลกาภิวัตน์
(3) เหลวไหล กระทันหัน แมลงสาป
(4) กะทัดรัด กระเพรา ไอศกรีม
ตอบ 2 คําที่สะกดผิด ได้แก่ จตุรัส รื่นรมณ์ เบญจเพศ กระทันหัน แมลงสาป กระเพรา
ซึ่งที่ถูกต้องคือ จัตุรัส รื่นรมย์ เบญจเพส กะทันหัน แมลงสาบ กะเพรา

100. ข้อใดมีค่าที่สะกดถูกขนาบคําที่สะกดผิด
(1) รสชาติ สัมมนา กระทะ
(2) กงสุล ลําไย สีสัน
(3) กระเพาะ จัดสรร เซ็นชื่อ
(4) มาตรฐาน ผาสุข อนุญาต
ตอบ 4 คําที่สะกดผิด ได้แก่ ผาสุข ซึ่งที่ถูกต้องคือ ผาสุก

101. ข้อใดสะกดผิดทุกคํา
(1) ขนมเค้ก สัมมนา อิ่มแปล้
(2) ร่ำลือ ลายเซ็น สําอาง
(3) คุ้กกี้ นะค่ะ โน๊ตเพลง
(4) พังทลาย อาเพศ ผุดลุกผุดนั่ง
ตอบ 3 คําที่สะกดผิด ได้แก่ คุ้กกี้ ซึ่งที่ถูกต้องคือ

102. การเรียนใน…..นี้ ต้องค้นคว้าคำที่…..ไว้ในหนังสือให้หมดทุกคํา
(1) ขั้น คั่น
(2) คั่น ขั้น
(3) ขั้น ขั้น
(4) คั่น คั่น
ตอบ 1 คําว่า “ขั้น” = ลําดับ ตอน เช่น ในขั้นนี้ “คน” = แทรกหรือกั้นอยู่ในระหว่าง

103. ข้อใดมีคําที่สะกดผิดสลับกับคําที่สะกดถูก
(1) ผลัดวันประกันพรุ่ง ใบไม้ผลัดใบ ผลัดแป้งแต่งหน้า ผัดผ่อน
(2) ผัดวันประกันพรุ่ง ใบไม้ผลัดใบ ผลัดแป้งแต่งหน้า ผัดผ่อน
(3) ผลัดวันประกันพรุ่ง ใบไม้ ผัดใบ ผัดแป้งแต่งหน้า ผลัดผ่อน
(4) ผัดวันประกันพรุ่ง ใบไม้ผัดใบ ผัดแป้งแต่งหน้า ผลัดผ่อน
ตอบ 1 คําที่สะกดผิด ได้แก่ ผลัดวันประกันพรุ่ง ใบไม้ผัดใบ ผลัดแป้งแต่งหน้า ผลัดผ่อน ซึ่งที่ถูกต้องคือ ผัดวันประกันพรุ่ง ใบไม้ผลัดใบ ผัดแป้งแต่งหน้า ผัดผ่อน

104. นักเรียนช่วย…………………..กิ่งไม้นี้ให้เป็นรอยโดยรอบ ทําเสร็จแล้วจะให้กินอ้อย………..
(1) ขวั่น ควั่น
(2) ควัน ขวั่น
(3) ฃวั่น ขวั่น
(4) ควั่น ควั่น
ตอบ 4 คําว่า “ควัน” – ทําให้เป็นรอยด้วยคมมีดโดยรอบ, เรียกอ้อยที่ควั่นให้ขาดออกเป็นข้อ ๆ ว่า อ้อยควั่น (ส่วนคําว่า “ขวั่น” เป็นคําที่เขียนผิด)

105. อย่าไปห่วง……นักเลย เขาไม่ ……ดีต่อเธอเลยสักนิด
(1) ไย ใย
(2) ใย ไย
(3) ไย ไย
(4) ใย ใย
ตอบ 2 คําว่า “ห่วงใย” = มีใจพะวงอยู่, “ไยดี” – พอใจ ยินดี เอื้อ มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ไม่ไยดี

106. ผู้หญิงคนที่ร่างสูง………เธอมีคุณสมบัติ…….
(1) เพียว เพียบพร้อม
(2) เพียว เพรียบพร้อม
(3) เพรียว เพรียบพร้อม
(4) เพรียว เพียบพร้อม
ตอบ 4 คําว่า “เพรียว” = เปรียว ฉลวย เรียว เช่น รูปร่างสูงเพรียว, “เพียบพร้อม” = เต็มเปี่ยม ครบทุกอย่าง (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นเป็นคําที่เขียนผิด)

107. เจ้าหน้าที่กําลังทําถนน……………………………
(1) ลาด ลาด
(2) ราด ราด
(3) ลาด ราด
(4) ราด สาด
ตอบ 1 คําว่า “ถนนลาดยาง” = ใช้เรียกถนนที่ปูผิวจราจรด้วยยางมะตอยผสมกับหินหรือทราย, “ทางลาดชัน” = ทางที่เป็นเนินขึ้นเขาหรือลงเขา (ส่วนคําว่า “ราด” = เทของเหลว ๆ เช่น น้ำให้กระจายหรือแผ่ไป)

108. ข้อใดใช้ภาษาพูด
(1) เมื่อไรเขาจะมา
(2) เขามาตั้งแต่เมื่อใด
(3) ขนมชิ้นนี้ราคาเท่าไหร่
(4) เธอเดินทางไปอย่างไร
ตอบ 3 หน้า 6 – 7 (54351) ระดับของคําในภาษาไทยมีศักดิ์ต่างกัน เวลานําไปใช้ก็ใช้ในที่ต่างกัน ดังนั้นจึงต้องพิจารณาใช้คําให้เหมาะสม กล่าวคือ
1. คําที่ใช้ในโอกาสที่เป็นทางการ ได้แก่ คําที่ใช้ในภาษาแบบแผน หรือภาษาเขียนของทาง ราชการ เช่น เมื่อใด เหตุใด อย่างไร เท่าไร เมื่อไร ฯลฯ
2. คําที่ใช้ในโอกาสที่ไม่เป็นทางการ ได้แก่ คําที่ใช้ในภาษาพูด หรือการเขียนจดหมายส่วนตัว ถึงบุคคลที่สนิทสนมกัน ซึ่งในบางครั้งก็มักจะตัดคําให้สั้นลง เช่น เมื่อไหร่ เท่าไหร่ มหาลัยคณะวิศวะ นายก ฯลฯ

109……………………ถูกต่อย ………………..เมื่อวานนี้
(1) กรบเกลื่อน กบ
(2) กลบเกลื่อน กบ
(3) กรบเกลื่อน กลบ
(4) กลบเกลื่อน กลบ
ตอบ 2 คําว่า “กลบเกลื่อน” = ทําให้เรื่องเลือนหายไป, “กบ” = เต็มมาก เต็มแน่น เช่น ข้าวกับหม้อ เลือดกบปาก (ส่วนคําว่า “กรบเกลื่อน” เป็นคําที่เขียนผิด, “กลบ” – กิริยาที่เอาสิ่งซึ่งเป็นผง โรยทับไว้ข้างบนเพื่อปิดบัง)

110. เรียนผู้มี…….ทุกท่าน ห้างสรรพสินค้าขอ………….เงินจากทุกท่าน เพื่อนําไปช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วม
(1) อุปการคุณ เรี่ยไร
(2) อุปการะคุณ เรี่ยไร
(3) อุปการคุณ เรี่ยราย
(4) อุปการะคุณ เรี่ยราย
ตอบ 1 คําว่า “อุปการคุณ” = ความช่วยเหลือเกื้อกูล ให้การอุดหนุน, “เรี่ยไร” = ขอร้องให้ช่วย ออกเงินทําบุญตามสมัครใจ (ส่วนคําว่า “อุปการะคุณ” เป็นคําที่เขียนผิด, “เรี่ยราย” = กระจายเกลื่อนไป)

111. ใต้ถุนเรือนมีแต่น้ำ…….ที่……ไปด้วยยุง
(1) คร่ำ คราคร่ำ
(2) คล่ำ คลาคล่ำ
(3) คร่ำ คลาคล่ำ
(4) คล่ำ คราคร่ำ
ตอบ 3 คําว่า “ครำ” = ใช้เรียกน้ําเสียที่ขังอยู่ในพื้นดินที่เป็นแอ่ง เช่น ใต้ถุนเรือน หรือในท่อระบาย น้ำเสียว่า น้ำครำ, “คลาคล่ำ” = ไปหรือมาเป็นจํานวนมาก (ส่วนคําว่า “คราคร่ำ” เป็นคําที่เขียนผิด, “คลำ” = กิริยาที่ใช้อวัยวะ เช่น มือทําการแตะ ลูบ หรือควานอย่างช้า ๆ เพื่อให้ รู้ว่าอะไรอยู่ที่ไหน)

ข้อ 112 – 114. ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้แล้วตอบคําถาม
(1) ใช้คําฟุ่มเฟือย
(2) ใช้คําไม่มีเอกภาพ
(3) ใช้คํากํากวม
(4) ใช้คําผิดความหมาย

112. “เขาเดินสะดุดรองเท้าขาด” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 3 หน้า 11 (54351) การใช้คําที่มีความหมายหลายอย่างจะต้องคํานึงถึงถ้อยคําแวดล้อมด้วย ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความแจ่มชัด ไม่กํากวม เพราะคําชนิดนี้จะต้องอาศัยถ้อยคําที่แวดล้อมอยู่เป็น เครื่องช่วยในการกําหนดความหมาย เช่น เขาเดินสะดุดรองเท้าขาด (ใช้คํากํากวม) จึงควรแก้ไข ให้มีความหมายที่แน่ชัดลงไปเป็น เขาเดินสะดุดจนรองเท้าที่เขาใส่มาขาด

113. “มีกระบวนการค้ายาเสพติดอยู่ในชุมชนนี้” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 4 หน้า 10 – 11 (54351) การใช้คําในการพูดและเขียนต้องรู้จักเลือกคํามาใช้ให้ถูกต้องและเหมาะสม คือ จะต้องมีความรู้ว่าคําที่จะนํามาใช้นั้นมีความหมายว่าอย่างไร ใช้แล้วเหมาะสม ไม่ผิดความหมาย และจะเป็นที่เข้าใจชัดเจนแจ่มแจ้งเพียงไร เช่น มีกระบวนการค้ายาเสพติด อยู่ในชุมชนนี้ (ใช้คําไม่ถูกต้อง หรือใช้คําผิดความหมาย) ดังนั้นจึงควรแก้ไขเป็น มีขบวนการ ค้ายาเสพติดอยู่ในชุมชนนี้ (คําว่า “ขบวนการ” = กลุ่มบุคคลที่รวมกันเพื่อดําเนินการอย่างใด อย่างหนึ่ง ส่วนคําว่า “กระบวนการ” = ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงอย่าง มีระเบียบไปสู่ผลอย่างหนึ่ง)

114. “ขอแจ้งให้ทราบว่าสินค้าหมดแล้วไม่มีเหลือเลย” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 1 หน้า 18 – 19, 39 (54351) การใช้คําฟุ่มเฟือยหรือการใช้คําที่ไม่จําเป็นจะทําให้คําโดยรวม ไม่มีน้ําหนักและข้อความขาดความหนักแน่น ไม่กระชับรัดกุม เพราะเป็นคําที่ไม่มีความหมาย อะไร แม้จะตัดออกไปก็ไม่ได้ทําให้ความหมายของข้อความนั้นเปลี่ยนแปลงไป แต่กลับทําให้ ดูรุงรังยิ่งขึ้น เช่น ขอแจ้งให้ทราบว่าสินค้าหมดแล้วไม่มีเหลือเลย (ใช้คําฟุ่มเฟือย) ดังนั้นจึงควรแก้ไขเป็น ขอแจ้งให้ทราบว่าสินค้าหมดแล้ว

ข้อ 115 – 117. ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้แล้วตอบคําถาม
(1) ใช้คําไม่ชัดเจน
(2) ใช้คําขัดแย้งกัน
(3) ใช้สํานวนต่างประเทศ
(4) วางส่วนขยายผิดที่

115. “ฝนค่อย ๆ ตกลงมาอย่างหนัก” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 2 หน้า 41 (54351) การใช้คําขัดแย้งกัน หมายถึง การใช้คําที่ทําให้เนื้อความขัดกัน หรือใช้คํา ที่มีความหมายตรงกันข้าม เช่น ฝนค่อย ๆ ตกลงมาอย่างหนัก (ใช้คําขัดแย้งกัน) ดังนั้นจึงควร แก้ไขเป็น ฝนค่อย ๆ ตกลงมาอย่างช้า ๆ (คําว่า “ค่อย ๆ” = ไม่รีบร้อน ไม่ไว ช้า ๆ ส่วนคําว่า “หนัก” – แรง เช่น ฝนตกหนัก)

116. “เพลงเต่างอยถูกขอมามากในรายการ” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 3 หน้า 126 (56256), 38 (54351) การใช้คําตามแบบภาษาไทย หมายถึง การทําให้ข้อความ ที่ผูกขึ้นมีลักษณะเป็นภาษาไทย ไม่เลียนแบบภาษาต่างประเทศ ซึ่งจะทําให้ข้อความกะทัดรัด เข้าใจง่าย และไม่เคอะเขิน เช่น เพลงเต่างอยถูกขอมามากในรายการ (ใช้สํานวนต่างประเทศ) ดังนั้นจึงควรแก้ไขเป็น เพลงเต่างอยมีผู้ขอมามากในรายการ (คําว่า “ถูก” ในภาษาไทยมักใช้ ในความหมายที่ไม่น่ายินดี เช่น เขาถูกลูกน้องทําร้าย น้องถูกหมากัด เธอถูกไล่ออก ฯลฯ)

117. “นักศึกษาขอกู้เงินเพื่อการศึกษาจํานวนมาก” ประโยคนี้ตรงกับข้อใด
ตอบ 4 หน้า 37 (54351) การเรียงลําดับประโยคให้ถูกที่ หมายถึง การวางประธาน กริยา กรรม และส่วนขยายให้ตรงตามตําแหน่ง เพราะถ้าหากวางไม่ถูกที่จะทําให้ข้อความนั้นไม่ชัดเจน หรืออาจมีความหมายไม่ตรงตามต้องการ เช่น นักศึกษาขอกู้เงินเพื่อการศึกษาจํานวนมาก (วางส่วนขยายผิดที่ หรือใช้คําขยายไม่ถูกต้อง) ดังนั้นจึงควรแก้ไขให้ถูกต้องเป็น นักศึกษา ขอกู้เงินจํานวนมากเพื่อการศึกษา

118. ประโยคใดไม่ใช่สํานวนต่างประเทศ
(1) ห้องน้ำเต็มไปด้วยฝุ่น
(2) เขาถูกลูกน้องทําร้าย
(3) เขาเข้ามาพร้อมกับกระเป๋าใบใหญ่
(4) ลูกน้องภายใต้การนําของเขา
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 116. ประกอบ (ส่วนตัวเลือกข้ออื่นใช้สํานวนต่างประเทศ จึงควรแก้ไขเป็น ห้องน้ำมีฝุ่นมาก, เขาถือกระเป๋าใบใหญ่เข้ามา, ลูกน้องที่มีเขาเป็นผู้นํา)

119. คําว่า “ล็อกเกต สปาเกตตี” เป็นคําประเภทใด
(1) คําทับศัพท์
(2) คําศัพท์แปลกใหม่
(3) คําศัพท์บัญญัติ
(4) คําที่เขียนรูปวรรณยุกต์ผิด
ตอบ 1 หน้า 123 หน้า 123 – 125 (H), (คําบรรยาย) คําทับศัพท์ คือ คําภาษาต่างประเทศที่นํามาใช้ใน ภาษาไทย โดยมีการถ่ายเสียงให้ใกล้เคียงภาษาเดิมมากที่สุด และถอดอักษรในภาษาเดิมพอควรแก่การแสดงที่มาของรูปศัพท์ แล้วเขียนให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ประกาศใช้ของ ราชบัณฑิตยสถาน เช่น คลินิก (Clinic), ล็อกเกต (Locket), สปาเกตตี (Spaghetti) ฯลฯ

120. คําว่า “หวงแหน จอกแหน” เป็นคําประเภทใด
(1) คําพ้องรูป
(2) คําพ้องเสียง
(3) คําพ้องความหมาย
(4) คําพ้องรูปและคําพ้องเสียง
ตอบ 1 หน้า 14 (54351) คําพ้องรูป คือ คําที่เขียนเหมือนกัน แต่ความหมายและการออกเสียง จะต่างกัน ดังนั้นจึงต้องออกเสียงให้ถูกต้อง เพราะถ้าหากออกเสียงผิด ความหมายก็จะผิด ไปด้วย เช่น คําว่า “แทน” อ่านว่า “แหน” (ใช้เข้าคู่กับคําอื่นในคําว่า “หวงแหน แห่แหน เฝ้าแหน”) หรืออาจอ่านว่า “แหน” (ชื่อไม้น้ำหลายชนิดในวงศ์ Lemnaceae ใบกลมเล็ก ๆ ลอยอยู่ตามน้ำนิ่ง เช่น แหนเล็ก แหนใหญ่ จอกแหน) เป็นต้น

POL3301 นโยบายสาธารณะ 1/2566

การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2566
ข้อสอบกระบวนวิชา POL 3301 นโยบายสาธารณะ
คําสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว

ตั้งแต่ข้อ 1. – 5. จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคําถาม
(1) Thomas R. Dye
(2) Ira Sharkansky
(3) David Easton
(4) James Anderson
(5) Theodore Lowi

1.ใครกล่าวว่า นโยบายสาธารณะ คือ สิ่งที่รัฐเลือกที่จะทําหรือไม่ทํา
ตอบ 1 หน้า 3 โทมัส อาร์ ดาย (Thomas R. Dye) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง สิ่งใด
ก็ตามที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทําหรือไม่กระทํา

2. ใครกล่าวว่า นโยบายสาธารณะเกี่ยวข้องกับการจัดสรรและแจกแจงคุณค่าของสังคมโดยชอบด้วยกฎหมาย
ตอบ 3 หน้า 3 เดวิด อีสตัน (David Easton) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง การจัดสรรและ แจกแจงคุณค่า (Values) ต่าง ๆ ของสังคมโดยชอบด้วยกฎหมายและเป็นไปเพื่อประโยชน์ของ สังคมส่วนรวม

3. ใครกล่าวว่า นโยบายสาธารณะเกี่ยวข้องกับการจัดการบริการสาธารณะ
ตอบ 2 หน้า 3 ไอรา ซาร์แคนสกี้ (Ira Sharkansky) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง กิจกรรม ต่าง ๆ ที่รัฐบาลกระทํา เช่น การบริการสาธารณะ การควบคุมกิจกรรมของบุคคลหรือธุรกิจ ของเอกชน เป็นต้น

4.ใครกล่าวว่า นโยบายสาธารณะเกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม
ตอบ 4 หน้า 3 เจมส์ แอนเดอร์สัน (Jarnes Anderson) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมที่รัฐบาลกระทําเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเจตนาเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม เช่น ความยากจน การผูกขาด เป็นต้น

5. ใครเกี่ยวข้องกับการจําแนกประเภทของนโยบายสาธารณะ
ตอบ 5 หน้า 5 – 6, (คําบรรยาย) ธีโอดอร์ โลวาย (Theodore Lowi) ได้เสนอให้จําแนกประเภท ของนโยบายตามเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์ของนโยบายนั้น ๆ ออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. นโยบายที่เป็นกฎเกณฑ์หรือข้อบังคับ (Regulative Policy)
2. นโยบายการกระจายบริการของรัฐ (Distributive Policy)
3. นโยบายเพื่อการจัดสรรทรัพยากรให้เหมาะสมหรือการจัดสรรทรัพยากรเสียใหม่(Re-Distributive Policy)

6. ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) Harold Lasswell กล่าวว่า นโยบายเกี่ยวข้องกับแผนหรือโครงการที่กําหนดขึ้น
(2) Thomas R. Dye นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจว่าจะทําหรือไม่ทํา
(3) Theodore Lowi เป็นบิดาแห่งนโยบายศาสตร์
(4) David Easton เกี่ยวข้องกับการจัดสรรและแจกแจงคุณค่าต่าง ๆ
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3 หน้า 3, 58 – 59 ฮาโรลด์ ลาสเวลล์ (Harold Lasswell) ซึ่งเป็นผู้ที่อยู่ในกลุ่มที่เน้นการสร้างภาพรวมและได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งนโยบายศาสตร์” ได้ให้ความหมาย นโยบายสาธารณะร่วมกับอับราแฮม แคปแพลน (Abraham Kaplan) ว่า “นโยบายสาธารณะ หมายถึง แผนหรือโครงการที่กําหนดขึ้น อันประกอบด้วยเป้าหมาย คุณค่า และแนวการ ปฏิบัติงานต่าง ๆ” (ดูคําอธิบายข้อ 1. และ 2. ประกอบ)

7. ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) Dunn ศึกษาการวิเคราะห์นโยบาย
(2) Nagel ศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติ
(3) Anderson ศึกษากระบวนการนโยบาย
(4) Dinnock อธิบายความคิดสร้างสรรค์
(5) Quade เสนอจุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์นโยบาย
ตอบ 2 หน้า 61 – 68, 72, 154 – 171 นักวิชาการที่ศึกษาเรื่องการวิเคราะห์นโยบาย (Policy Analysis)
ได้แก่
1. เควด (E..S. Quade)
2. วิลเลียม เอ็น. ดันน์ (William N. Dunn)
3. สจ๊วตท์ เอส. นาเกล (Stuart S. Naget)
4. โทมัส อาร์. ดาย (Thomas R. Dye) ฯลฯ
– ส่วนนักวิชาการที่ศึกษาเรื่องการนํานโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) ได้แก่
1. กรอส (Gross)
2. ไจแอคควินทา (Giacquinta)
3. เบิร์นสไตล์ (Bernstein)
4. กรีนวูด (Greenwood)
5. แมน (Mann)
6. แมคลัฟลิน (McLaughlin)
7. เบอร์แมน (Berman)
8. เดล อี. ริชาร์ด (Dale E. Richards)
9. เพรสแมน (Pressman)
10. วิลดัฟสกี (Wildavsky)
11 มองจอย (Montjoy)
12. โอทูเล (O’Toole)
13. โทมัส บี. สมิท (Thomas B. Smith)
14. พอล เอ. ซาบาเตียร์ (Paul A. Sabatier)
15. ดาเนียล เอ. แมซมาเนียน (Daniel A. Mazmanian)
16. อีมิลี ไซมี โลวี ไบรเซนไดน์ (Emily Chi-Mei Lowe Brizencine) ฯลฯ

8.ข้อใดไม่ใช่กระบวนการที่ Stuart S. Nagel เสนอ
(1) การกําหนดเป้าหมายเพื่อบรรลุผล
(2) การกําหนดแผนงาน
(3) การกําหนดคน สถานที่ อุปกรณ์
(4) การวิเคราะห์ผลตอบแทนสูงสุด
(5) การกําหนดความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายกับนโยบาย
ตอบ 2 หน้า 239 – 240 สจ๊วตท์ เอส. นาเกล (Stuart S. Nagel) ได้เสนอแนวคิดในการวิเคราะห์ ข้อมูลแบบง่ายสําหรับการวิเคราะห์หรือการประเมินนโยบาย ซึ่งมีหลักการหรือกระบวนการ ที่สําคัญ 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. กําหนดเป้าหมายเพื่อการบรรลุผล หรือการให้ผลประโยชน์ ตอบแทนสูงสุด
2. กําหนดเป้าหมายสัมพันธ์
3. กําหนดคน สถานที่ หรือวัสดุอุปกรณ์ ให้สอดคล้องกับนโยบายนั้น ๆ
4. กําหนดความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายกับนโยบาย
5. ปรับความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายกับนโยบาย

9.ใครสนใจในการวิเคราะห์นโยบาย
(1) E.S. Quade
(2) Stuart S. Nagel
(3) William Dunn
(4) ข้อ 1 และ 2 ถูก
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 5 ดูคําอธิบายข้อ 7. ประกอบ

10. การรับรู้ถึงปัญหาสาธารณะเกี่ยวข้องกับนโยบายในด้านใด
(1) Policy Analysis
(2) Policy Implementation
(3) Policy Evaluation
(4) Policy Impacts
(5) เกี่ยวข้องกับนโยบายทุกด้าน
ตอบ 1 หน้า 73 เควด (E.S. Quade) กล่าวว่า จุดมุ่งหมายที่สําคัญของการวิเคราะห์นโยบาย (Policy Analysis) มีดังนี้
1. เพื่อให้ผู้กําหนดนโยบายได้รับรู้ถึงปัญหาสาธารณะโดยแจ้งชัด
2. เพื่อปรับปรุงคุณภาพการตัดสินใจของผู้กําหนดนโยบายที่สามารถแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการของประชาชนได้
3. เพื่อสร้างกระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นรูปธรรมและเป็นระบบ

11. การเปลี่ยนจุดเน้นจากผลผลิตนโยบายมาสู่การศึกษากระบวนการนโยบายอยู่ในยุคใด
(1) ยุคเริ่มต้น
(2) ยุคพัฒนาให้เป็นศาสตร์
(3) ยุคการนําไปปฏิบัติให้บรรลุผล
(4) ยุคกึ่งกลางระหว่างเริ่มต้นและพัฒนา
(5) ในทุกยุค
ตอบ 3 หน้า 60 – 61 ยุคการนําไปปฏิบัติให้บรรลุผล เป็นยุคที่แนวคิดในการวิเคราะห์นโยบาย มีการเปลี่ยนจุดเน้นจากผลผลิตของนโยบาย (Policy Outputs) มาสู่การศึกษากระบวนการ นโยบาย (Policy Process) และมีการเปลี่ยนวิธีการวิเคราะห์จากวิธีการเชิงปริมาณไปสู่วิธีการ ที่ผสมผสานระหว่างเชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพมากขึ้น

12. ใครให้เหตุผลในการกําหนดนโยบายไว้ 3 ประการ คือ เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เหตุผลทางวิชาชีพ
และเหตุผลทางการเมือง
(1) Harold Lasswell
(2) Thomas R. Dye
(3) Stuart S. Nagel
(4) William Dunn
(5) Date E. Richards
ตอบ 2 หน้า 57, (คําบรรยาย) โทมัส อาร์. ดาย (Thomas R. Dye) ได้ชี้ให้เห็นถึงเหตุผล (ความสําคัญ)
ของการศึกษาและการกําหนดนโยบายสาธารณะไว้ 3 ประการ คือ
1. เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Reasons) คือ การทําความเข้าใจเหตุและผลของ การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบาย เพื่อให้ได้นโยบายที่มีเหตุผลมากที่สุด
2. เหตุผลทางวิชาชีพ (Professional Reasons) คือ การนําความรู้เชิงนโยบายไปใช้แก้ปัญหา ทางด้านการปฏิบัติ โดยวิชาชีพที่แตกต่างกันจะทําให้การกําหนดนโยบายและการนํานโยบาย
ไปปฏิบัติของแต่ละวิชาชีพมีความแตกต่างกัน
3. เหตุผลทางการเมือง (Political Reasons) คือ การดัดแปลงนโยบายที่ถูกต้องเหมาะสม ทางการเมืองมาใช้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการเมือง โดยการใช้เหตุผลทางการเมือง มักจะทําให้การกําหนดนโยบายเป็นไปอย่างไม่มีเหตุผลแต่เป็นที่ยอมรับของประชาชน เช่น นโยบายประชานิยมต่าง ๆ) เป็นต้น

13. ใครให้ความหมายของการวิเคราะห์นโยบายไว้ว่า เป็นการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดในชุดของเป้าหมายที่กําหนดไว้
(1) Farold Lasswell
(2) Thomas R. Dye
(3) Stuart S. Nagel
(4) William Dunn
(5) Date E. Richards
ตอบ 3 หน้า 72 สจ๊วตท์ เอส. นาเกล (Stuart S. Nagel) กล่าวว่า การวิเคราะห์นโยบายเป็นการกําหนดและตัดสินทางเลือกของนโยบาย โดยการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่คิดว่าดีที่สุด ในชุดของเป้าหมายที่กําหนดไว้ โดยเปรียบเทียบทางเลือกเหล่านั้นกับการบรรลุเป้าหมาย

14. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จัดเป็นแผนในเรื่องใด
(1) การวางแผนที่เน้นการตัดสินใจ
(2) การวางแผนที่เน้นลักษณะผู้นํา
(3) การวางแผนที่เน้นบุคลิกภาพ
(4) การวางแผนที่เน้นเนื้อหา
(5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 4 หน้า 109 ทฤษฎีการวางแผนที่เน้นเนื้อหา (Object-Centred Planning Theory) เป็น
โดยมุ่งทฤษฎีที่ให้ความสําคัญกับเนื้อหาสาระเฉพาะเรื่องที่จะนํามาวางแผนเป็นอย่างมาก อธิบายรายละเอียดของปัญหาและการแก้ปัญหาที่เจาะลึกในแต่ละเรื่อง แต่ไม่สนใจเรื่องวิธีการ เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นต้น

15. ข้อใดไม่ใช่สิ่งสําคัญที่อยู่ในตัวแบบ SWOT
(1) จุดอ่อน
(2) จุดแข็ง
(3) สิ่งแวดล้อม
(4) โอกาส
(5) ภัยคุกคาม
ตอบ 3 หน้า 117, (คําบรรยาย) ตัวแบบ SWOT เป็นตัวแบบใช้ในการวิเคราะห์นโยบาย เพื่อให้ทราบ จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) และภัยคุกคาม (Threats)

ตั้งแต่ข้อ 16. – 20. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
(1) ทฤษฎีกลุ่ม
(2) ทฤษฎีผู้นํา
(3) ทฤษฎีระบบ
(4) ทฤษฎีสถาบันนิยม
(5) ทฤษฎีการตัดสินใจ

16. สังคมถูกแบ่งเป็นคนกลุ่มน้อยที่มีอํานาจกับกลุ่มใหญ่ที่ไม่มีอํานาจ คนกลุ่มน้อยเป็นผู้กําหนดนโยบาย
ตามความต้องการหรือค่านิยมของตน เกี่ยวข้องกับทฤษฎีอะไร
ตอบ 2 หน้า 106 – 107, (คําบรรยาย) ทฤษฎีผู้นํา (Elite Theory) อธิบายว่า
1. สังคมถูกแบ่งเป็นคนกลุ่มน้อยที่มีอํานาจกับคนกลุ่มใหญ่ที่ไม่มีอํานาจ โดยผู้นําซึ่งเป็นคนกลุ่มน้อยในสังคม แต่มีอํานาจเป็นผู้ตัดสินหรือจัดสรรคุณค่าของสังคมและกําหนดนโยบายสาธารณะให้เป็นไปตามความต้องการหรือค่านิยมของตน ขณะที่ประชาชนหรือ คนส่วนใหญ่ไม่ได้มีส่วนตัดสินใจในนโยบายสาธารณะด้วย
2. ผู้นําจะแสดงความสมานฉันท์กับค่านิยมพื้นฐานของระบบสังคมและพยายามสงวนรักษาระบบไว้
3. นโยบายสาธารณะไม่ได้สะท้อนถึงความต้องการของมวลชน แต่เป็นการสะท้อนให้เห็น
ค่านิยมของผู้นํามากกว่า
4. ผู้นํามีอิทธิพลต่อมวลชนมากกว่ามวลชนมีอิทธิพลต่อผู้นํา ฯลฯ

17. นโยบายสาธารณะได้มาจากการเจรจาต่อรอง เกี่ยวข้องกับทฤษฎีอะไร
ตอบ 1 หน้า 107, (คําบรรยาย) ทฤษฎีกลุ่ม (Group Theory) อธิบายว่า นโยบายสาธารณะเป็น ผลผลิตของการต่อสู้ระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มผลประโยชน์กับนโยบายสาธารณะ โดยชี้ให้เห็นว่านโยบายสาธารณะเป็นผลผลิตที่ได้มาจาก การเจรจาต่อรอง การประนีประนอม และการถ่วงดุลผลประโยชน์ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ

18. ตัวแบบเหตุผลนิยม เกี่ยวข้องกับทฤษฎีอะไร
ตอบ 5 หน้า 108 ตัวแบบเหตุผลนิยม (Rational Comprehensive Model) เป็นตัวแบบที่อยู่ใน ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision Making Theory) อธิบายว่า นโยบายเกิดจากการตัดสินใจ ภายใต้หลักการของเหตุและผล โดยอาศัยข้อมูล ข้อเท็จจริง ประกอบกับการคํานึงถึงคุณค่า ต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เพื่อให้ได้มาซึ่งนโยบายที่ดีที่สุดและนําไปสู่การ บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ หรือเป็นนโยบายที่รัฐบาลจัดทําขึ้นเพื่อให้สังคมได้รับ ประโยชน์สูงสุด ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องเกิดความพอใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลตอบแทน ที่ได้รับมากกว่าค่าใช้จ่ายที่เสียไป

19.กิจกรรมต่าง ๆ ทางการเมืองเกิดขึ้นจากบทบาทของรัฐ เกี่ยวข้องกับทฤษฎีอะไร
ตอบ 4 หน้า 108 ทฤษฎีสถาบันนิยม (Institutional Theory) อธิบายว่า กิจกรรมต่าง ๆ ทางการเมือง เกิดขึ้นจากบทบาทของสถาบันของรัฐ ดังนั้นการกําหนดนโยบายสาธารณะซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่ง ทางการเมืองย่อมมาจากสถาบันของรัฐด้วย ทั้งนี้เนื่องจากรัฐบาลมีความชอบธรรม มีความเป็นสากล และมีการผูกขาดอํานาจบังคับ

20. สิ่งแวดล้อม เป็นตัวแปรที่สําคัญในทฤษฎีใด
ตอบ 3 หน้า 108, (คําบรรยาย) ทฤษฎีระบบ (System Theory) อธิบายว่า นโยบายสาธารณะ เป็นผลผลิตของระบบ โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่สําคัญ 5 ตัวแปร คือ
1. ปัจจัยนําเข้า (Inputs)
2. กระบวนการ (Process)
3. ปัจจัยนําออกหรือผลผลิต(Outputs)
4. ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)
5. สิ่งแวดล้อม (Environment)

21.Stuart S. Nagel สนใจการศึกษานโยบายเรื่องใด
(1) Policy Analysis
(2) F’olicy Process
(3) Policy Irnpacts
(4) Policy Implementation
(5) Policy Evaluation
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 7. ประกอบ

ตั้งแต่ข้อ 22 – 24. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
(1) ประสิทธิผล
(2) ประสิทธิภาพ
(3) ความเหมาะสม
(4) ความพอเพียง
(5) ความสามารถในการตอบสนอง

22. ความสามารถในการผลิตผลผลิตหรือให้บริการโดยมีต้นทุนต่อหน่วยต่ําสุด ถือว่าเป็นเกณฑ์ประเภทใด
ตอบ 2 หน้า 99, (คําบรรยาย) ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง ความสามารถในการบรรลุ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายโดยใช้ต้นทุนต่ําสุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ความสามารถในการผลิตผลผลิตหรือให้บริการโดยมีต้นทุนต่อหน่วยต่ําสุด

23. ความสามารถของทางเลือกที่สอดคล้องกับค่านิยมพื้นฐานของกลุ่มต่าง ๆ ถือว่าเป็นเกณฑ์ประเภทใด
ตอบ 5 หน้า 101 ความสามารถในการตอบสนอง (Responsiveness) หมายถึง ความสามารถ ของทางเลือกที่สอดคล้องกับความต้องการ ความชอบ และค่านิยมพื้นฐานของกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งทางเลือกที่มีความสามารถในการตอบสนองสูงก็คือ ทางเลือกที่สามารถทําให้กลุ่มที่มี ความจําเป็นสูงได้รับผลจากทางเลือกนั้นด้วย

24. ความสามารถในการดําเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายภายใต้เงื่อนไขของ
ทรัพยากรที่มีอยู่ ถือว่าเป็นเกณฑ์ประเภทใด
ตอบ 4 หน้า 100 ความพอเพียง (Adequacy) หมายถึง ความสามารถในการดําเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายภายใต้เงื่อนไขของทรัพยากรที่มีอยู่ โดยทั่วไปเงื่อนไข ของทรัพยากรมักจะวัดในรูปของงบประมาณที่มีอยู่

ตั้งแต่ข้อ 25 – 29. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
(1) การก่อตัวของนโยบาย
(2) การนํานโยบายไปปฏิบัติ
(3) การเตรียมและเสนอนโยบาย
(4) การอนุมัติและประกาศนโยบาย
(5) การปรับปรุงแก้ไขนโยบาย

25. การที่หน่วยงานนํานโยบายมาแปลงเป็นแผนงานและโครงการเป็นขั้นตอนใด
ตอบ 2 หน้า 50 – 51, (คําบรรยาย) การนํานโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) เป็นขั้นตอนที่แสดงให้เห็นถึงการนําทรัพยากรต่าง ๆ ไปจัดสรรเพื่อก่อให้เกิดผลตามนโยบายซึ่งประกอบด้วย
1. การส่งต่อนโยบาย (Policy Delivery)
2. การตีความหรือแปลงนโยบายออกมาเป็นแผนงานและโครงการ
3. การชี้แจงเกี่ยวกับนโยบาย
4. การดําเนินงานของหน่วยงานระดับปฏิบัติ(Street-Level Bureaucracy)
5. การจัดระบบสนับสนุน ได้แก่ ข้อมูลข่าวสาร การมอบหมายอํานาจหน้าที่ และการติดต่อสื่อสาร
6. การติดตามและควบคุมผลการปฏิบัติงาน

26. การพิจารณาปัญหานโยบายเป็นขั้นตอนใด
ตอบ 1 หน้า 23 – 25 ขั้นตอนการก่อตัวของนโยบาย (Policy Formation) ประกอบด้วย
1. การพิจารณาปัญหาหรือความต้องการของประชาชน
2. การพิจารณาเวลาที่เกิดปัญหา
3. ปัญหาที่รัฐบาลสนใจ
4. การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา

27. การกําหนดทางเลือก และการกําหนดวัตถุประสงค์เป็นขั้นตอนใด
ตอบ 3 หน้า 25 – 26, (คําบรรยาย) การเตรียมและเสนอนโยบาย (Policy Formulation) เป็นขั้นตอนที่ต้องมีการศึกษาค้นคว้าเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายเรื่องนั้น ๆ เพื่อช่วยประกอบการตัดสินใจของผู้กําหนดนโยบาย ซึ่งประกอบด้วย
1. การกําหนดวัตถุประสงค์
2. การกําหนดทางเลือก
3. การจัดทําร่างนโยบาย ซึ่งประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ แนวทางและมาตรการ การจัดลําดับทางเลือก และการหาข้อมูลประกอบการพิจารณา

28. การจัดวาระในการพิจารณานโยบายเป็นขั้นตอนใด
ตอบ 4 หน้า 49 – 50 ขั้นตอนการอนุมัติและประกาศนโยบาย (Policy Adoption) ประกอบด้วย
1. การจัดวาระในการพิจารณานโยบาย
2. การพิจารณาร่างนโยบาย
3. การอนุมัติหรือไม่อนุมัติ
4. การประกาศนโยบาย

29. การสรุปผลของนโยบายทั้งหมดไปใช้ในการกําหนดนโยบายอื่นเป็นขั้นตอนใด
ตอบ 5 หน้า 52 – 53 ขั้นตอนการปรับปรุง แก้ไข และยกเลิกนโยบาย (Policy Termination) ประกอบด้วย
1. การนําผลหรือข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลนโยบายมาพิจารณาเพื่อตัดสินใจในการปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิกนโยบาย
2. การนําผลสรุปของการประเมินผลนโยบายทั้งหมดไปใช้ในการกําหนดนโยบายอื่น ๆ ต่อไป

30. การนําศาสตร์ในหลาย ๆ สาขามาใช้ในการวิเคราะห์นโยบาย เป็นแนวโน้มในเรื่องใด
(1) แนวโน้มเกี่ยวกับเป้าหมายและคุณค่า
(2) แนวโน้มเกี่ยวกับวิธีการ
(3) แนวโน้มเกี่ยวกับแนวทางการดําเนินนโยบาย
(4) แนวโน้มเกี่ยวกับรูปแบบ
(5) แนวโน้มเกี่ยวกับการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลตอบแทน
ตอบ 3 หน้า 74 แนวโน้มการวิเคราะห์นโยบายในอนาคต มี 3 แนวโน้มใหญ่ คือ
1. แนวโน้มเกี่ยวกับเป้าหมายและคุณค่า จะมุ่งเน้นการบรรลุเป้าหมายโดยหาทางเลือกที่ดีที่สุด ที่ทําให้ประชาชนพอใจ และสนองต่อคุณค่าต่าง ๆ ของสังคม โดยการเน้นให้ประชาชน กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น เพื่อให้นโยบายที่เกิดขึ้นสนองตอบต่อสังคมโดยส่วนรวมอย่างแท้จริง
2. แนวโน้มเกี่ยวกับแนวทางการดําเนินนโยบาย จะมุ่งเน้นการหาวิธีการที่ดีที่สุดที่เป็นไปได้ โดยการพิจารณามิติทางการเมืองและการบริหาร และมีการนําศาสตร์ในหลาย ๆ สาขาวิชา มาใช้ในการวิเคราะห์นโยบายในลักษณะสหวิทยาการ
3. แนวโน้มเกี่ยวกับวิธีการ จะมุ่งเน้นการวิเคราะห์เชิงธุรกิจที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายและผลตอบแทน (Cost-Benefit) รวมทั้งการคํานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่จะเกิดขึ้นด้วย

ตั้งแต่ข้อ 31 – 35. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
(1) Regulative Policy
(2) Distributive Policy
(3) Economic Policy
(4) Capitalization Policy
(5) Administrative Policy

31. นโยบายปฏิรูประบบราชการ เกี่ยวข้องกับนโยบายประเภทใด
ตอบ 5 หน้า 7, (คําบรรยาย) นโยบายทางการบริหาร (Administrative Policy) เป็นนโยบายรอง ที่กําหนดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานหรือองค์การนั้น ๆ เช่น นโยบายธรรมาภิบาล นโยบายการปฏิรูประบบราชการ นโยบายเร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชน มีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง นโยบายการบริหารงานบุคคล นโยบายการบริหารงานคลัง โครงการประเทศไทยใสสะอาด เป็นต้น

32. นโยบายการมีถนนแยกเล่นไปสู่ทุกจังหวัด เกี่ยวข้องกับนโยบายประเภทใด
ตอบ 2 หน้า 5, (คําบรรยาย) นโยบายการกระจายบริการของรัฐ (Distributive Policy) เป็น นโยบายที่รัฐบาลต้องจัดบริการพื้นฐานให้ประชาชนทุกคนได้ใช้หรือเพื่อให้ประชาชนทั่วไป โดยส่วนรวมมีโอกาสได้รับบริการสาธารณะที่เป็นของรัฐบาลอย่างทั่วถึงและพอเพียง เช่น นโยบายการมีถนนแยกเล่นไปสู่ทุกจังหวัด นโยบายการลดราคาน้ำมันเบนซิน โครงการรถไฟฟ้าใต้ดิน การขยายช่องทางจราจรหรือการสร้างถนน นโยบายให้มีสถานพยาบาล ให้ครบทุกอําเภอ การจัดให้มีบัตรทอง 30 บาทรักษาทุกโรค การจัดให้มีไฟฟ้าและน้ําประปา ใช้ทุกหมู่บ้าน เป็นต้น

33. นโยบายกองทุนหมู่บ้าน เกี่ยวข้องกับนโยบายประเภทใด
ตอบ 3 หน้า 6, (คําบรรยาย) นโยบายทางด้านเศรษฐกิจ (Econornic Policy) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ การสร้างรายได้และการกินดีอยู่ดีของประชาชน โดยให้ประชาชนได้มีการซื้อขายแลกเปลี่ยน อะไรที่ได้มาซึ่งรายได้หรือรายจ่าย และเมื่อจ่ายไปแล้วก็จะมีการแลกเปลี่ยนหมุนเวียนกัน ทําให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายกองทุนหมู่บ้าน นโยบายจ่ายเงินให้ชาวนา ไร่ละ 1,000 บาท การส่งเสริมอาชีพให้ประชาชน โครงการธงฟ้าราคาประหยัด โครงการธนาคารประชาชน โครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ การพักชําระหนี้ให้เกษตรกร การดูแล ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคและราคาพลังงานให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและเป็นธรรมแก่
ผู้บริโภคและผู้ผลิต เป็นต้น

34. นโยบายจัดระเบียบสังคม เกี่ยวข้องกับนโยบายประเภทใด
ตอบ 1 หน้า 5, (คําบรรยาย) นโยบายที่เป็นกฎเกณฑ์หรือข้อบังคับ (Regulative Policy) เป็นนโยบายที่หน่วยงานของรัฐหรือรัฐบาลกําหนดขึ้นเพื่อให้ทุกคนต้องปฏิบัติตาม ถ้าใครไม่ปฏิบัติตามถือว่าผิดกฎหมายต้องถูกลงโทษ หรือเป็นกติกาในการอยู่ร่วมกันของสมาชิกในสังคมอย่างเสมอภาค และเป็นธรรม เช่น กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายจราจร (เช่น โครงการเมาไม่ขับ การขับรถยนต์ต้องมีใบขับขี่) นโยบายจัดระเบียบสังคม เป็นต้น

35. นโยบายพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคใต้ เกี่ยวข้องกับนโยบายประเภทใด
ตอบ 4 หน้า 6, (คําบรรยาย) นโยบายเพื่อการลงทุน (Capitalization Policy) เป็นนโยบายที่รัฐบาล กําหนดขึ้นเพื่อใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ หรือเพื่อแสวงหาทรัพยากรใหม่ ๆ คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ขึ้นมา แล้วก่อให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมและประเทศชาติ หรือการสร้างสิ่งก่อสร้างบางอย่างเพื่อเป็น พื้นฐานในการพัฒนาประเทศต่อไป เช่น นโยบายพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกและภาคใต้ การสร้างสนามบิน การสร้างนิคมอุตสาหกรรม การสร้างท่าเรือน้ําลึก การวางท่อก๊าซ เป็นต้น

36. ยูยีน บาร์แดช ให้ความหมายของกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติ ข้อใดถูก
(1) กระบวนการการบริหารงานบุคคล
(2) กระบวนการทํางานทางปฏิสัมพันธ์เชิงยุทธศาสตร์
(3) ความสัมพันธ์เกี่ยวกับการพัฒนาขององค์กร
(4) ขั้นตอนในการดําเนินการให้บรรลุเป้าหมายของนโยบาย
(5) การจัดหาตระเตรียมวิธีการทั้งหลายที่จะให้ดําเนินงานสําเร็จลุล่วง
ตอบ 2 หน้า 142 ยูยีน บาร์แดช (Eugene Bardach) กล่าวว่า กระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติ หมายถึง กระบวนการทํางานทางปฏิสัมพันธ์เชิงยุทธศาสตร์เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายของ กลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับเป้าหมายของนโยบายก็ได้

37. แรนดาล ริปเลย์ และเกรซ แฟรงกลิน ข้อใดถูก
(1) ภาครัฐดําเนินงานร่วมกับเอาชน
(2) นโยบายและโครงการมักเป็นกิจกรรมเล็ก ๆ แยกส่วนความรับผิดชอบ
(3) หน่วยงานมีหลายระดับ จากกระทรวง ทบวง กรม
(4) กระทรวงเป็นหน่วยงานหลักในการดําเนินงาน
(5) ผู้เกี่ยวข้องล้วนมีวัตถุประสงค์เหมือนกัน
ตอบ 3 หน้า 144 แรนดาล ริบเลย์ และเกรซ แฟรงกลิน (Randall Ripley and Grace Franklin) ได้พิจารณาลักษณะของการนํานโยบายไปปฏิบัติว่ามีลักษณะสําคัญ 5 ประการ คือ
1. มีผู้เกี่ยวข้องสําคัญ ๆ มากมาย
2. ผู้เกี่ยวข้องล้วนมีวัตถุประสงค์ที่หลากหลายและมักแตกต่างกัน
3. นโยบายและโครงการของรัฐบาลมักขยายใหญ่โตขึ้นทุกวัน
4. หน่วยงานในหลายระดับ จากหลายกระทรวง ทบวง กรม มีส่วนร่วมในการดําเนินกิจการ
5. มีปัจจัยหลายประการที่สําคัญมากและอยู่นอกเหนือการควบคุม

38.พอล เอ. ซาบาเดียร์ และดาเนียล เอ. แมซมาเนียน ข้อใดถูก
(1) การตัดสินพิพากษาอรรถคดีคําสั่งของฝ่ายตุลาการ
(2) กฤษฎีกาที่ออกมาจากพรรคการเมืองเสนอ
(3) กระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบายที่เกิดขึ้นจากกฎหมาย
(4) รัฐจะกระทําสิ่งต่าง ๆ เพื่อประชาชน
(5) แนวการทํางานของรัฐที่เน้นการบริการสาธารณะ
ตอบ 3 หน้า 142 พอล เอ. ซาบาเดียร์ และดาเนียล เอ. แม่ชม เนียน (Paul A. Sabatier and Daniel A. Mazmanian) กล่าวว่า การนํานโยบายไปปฏิบัติ หมายถึง กระบวนการตัดสินใจ เชิงนโยบายที่เกิดขึ้นจากกฎหมาย การตัดสินพิพากษาอรรถคดีคําสั่งของฝ่ายบริหาร หรือ กฤษฎีกาที่ออกมาจากสถาบันต่าง ๆ

39. สากล จริยวิทยานนท์ ข้อใดถูก
(1) บทบาทของสถาบันอุดมศึกษา
(2) แรงจูงใจของผู้ปฏิบัตินโยบาย
(3) การจัดสรรทรัพยากร
(4) เป้าหมายของนโยบาย
(5) การบังคับใช้กฎหมาย
ตอบ 1 หน้า 149 – 150 สากล จริยวิทยานนท์ ได้ศึกษาเรื่อง “บทบาทของสถาบันอุดมศึกษา ส่วนภูมิภาคในการพัฒนาชนบท : ศึกษากรณีวิทยาลัยครูภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์โครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ของวิทยาลัยครู ในส่วนภูมิภาคที่มีบทบาทในการช่วยเหลือและสนับสนุนการพัฒนาชนบท

40.เพรสแมนและวิลด์ฟสกี ตีพิมพ์งานวิจัยครั้งแรก ค.ศ. 1973 พบปัญหาเรื่องใด
(1) ระยะเวลาในการดําเนินงานนานเกิน
(2) งบประมาณไม่เพียงพอ
(3) มีจํานวนหน่วยงานน้อยเกินไป
(4) การนํานโยบายไปปฏิบัติ
(5) ขาดการสนับสนุนด้านงบประมาณ
ตอบ 4 หน้า 145 เพรสแมนและวิลดัฟสกี (Pressman & Wildavsky) ได้เสนอผลงานการวิจัย การนํานโยบายไปปฏิบัติโดยตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1973 ภายใต้ชื่อ “Implementation” โดยเป็นการศึกษานโยบายการจ้างงานชนกลุ่มน้อยในนครโอ๊คแลนด์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งพบว่า ในเบื้องต้นนโยบายดังกล่าวได้รับการขานรับที่ดี แต่สุดท้ายก็ต้องเผชิญกับปัญหาและความ ล้มเหลวในด้านการนํานโยบายไปปฏิบัติ กล่าวคือ วัตถุประสงค์ของนโยบายเพื่อการจ้างงาน คนผิวดําหรือชนกลุ่มน้อยในนครโอคแลนด์จํานวน 3,000 งาน แต่เมื่อโครงการดําเนินไปได้ 3 ปี สามารถจ้างงานได้เพียง 50 งานเท่านั้น

41. “การนํานโยบายไปปฏิบัติ คือ การนําไปปฏิบัติ ทําให้สําเร็จ เติมเต็ม ผลลัพธ์ ทําให้สมบูรณ์” แนวคิด นักวิชาการท่านใด
(1) มิลบรีย์ แมคลัฟลิน
(2) ดาเนียล เอ. แมซมาเนียน
(3) ยูยีน บาร์แดช
(4) พอล เอ. ซาบาเตียร์
(5) เพรสแมนและวิลดัฟสกี
ตอบ 5 หน้า 142 – 143 เพรสแมนและวิลด์ฟสกี (Pressman & Wildavsky) กล่าวว่า การนํานโยบาย ไปปฏิบัติ คือ การนําไปปฏิบัติ ทําให้สําเร็จ เติมเต็ม ผลลัพธ์ ทําให้สมบูรณ์ และการนํานโยบายไป ปฏิบัติให้เกิดผลสําเร็จนั้นต้องกําหนดรูปแบบของนโยบายไปพร้อมกับวิธีการนํานโยบายไปปฏิบัติ

42.Webster’s Dictionary ให้ความหมายการนํานโยบายไปปฏิบัติ ข้อใดถูก
(1) กระบวนการทํางานทางปฏิสัมพันธ์เชิงยุทธศาสตร์
(2) การจัดหาวิธีในการดําเนินการ หรือทําให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
(3) กระบวนการเชิงนโยบายที่เกิดขึ้นจากฝ่ายบริหาร
(4) นโยบายเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายของกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ
(5) ภารกิจหลักของภาครัฐในการดําเนินงานต่าง ๆ
ตอบ 2 หน้า 142 Webster’s Dictionary ให้ความหมาย “การนําไปปฏิบัติ” (to implement) ว่าหมายถึง การจัดหาวิธีในการดําเนินการ หรือทําให้เกิดผลในทางปฏิบัติ

43. บทความเรื่อง “Policy Implementation” เป็นการศึกษาความเป็นมาของการนํานโยบายไปปฏิบัติของนักวิชาการท่านใด
(1) ดาเนียล เอ. แมซมาเนียน
(2) ยูยีน บาร์แดช
(3) แมคลัฟลิน
(4) โทมัส บี. สมิท
(5) พอล เอ. ซาบาเตียร์
ตอบ 1, 5 หน้า 61 พอล เอ. ซาบาเดียร์ และดาเนียล เอ. แมชมาเนียน (Paul A. Sabatier and Daniel A. Mazmanian) ได้เขียนบทความเรื่อง “Policy Implementation” เมื่อปี 1982 ซึ่งเป็นการศึกษาถึงความเป็นมาของการนํานโยบายไปปฏิบัติ โดยแสดงทัศนะว่าการศึกษา สาขาการนํานโยบายไปปฏิบัติปรากฏเป็นรูปร่างที่ชัดเจนในต้นศตวรรษ 1970 โดยเฉพาะ นับจากผลงานเรื่อง “Implementation (1973)” ของเพรสแมนและวิลดัฟสกีเป็นต้นมา

44. การนํานโยบายไปปฏิบัติ หมายถึง
(1) กระบวนการในทางปฏิบัติที่จะทําให้นโยบวยใด ๆ บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กําหนด
(2) กระบวนการขององค์การที่ต่อเนื่องเป็นพลวัต
(3) การดําเนินงานให้สําเร็จลุล่วงตามเป้าหมายของกลุ่มผู้ปฏิบัติ
(4) การดําเนินงานให้ตรงตามเป้าหมายที่วางไว้
(5) ขั้นตอนการดําเนินงานของภาครัฐ
ตอบ 1 หน้า 143 กล่าวโดยสรุป การนํานโยบายไปปฏิบัติ หมายถึง กระบวนการในทางปฏิบัติ ที่จะทําให้นโยบายใด ๆ บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กําหนดไว้

45.แนวคิด “กระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติจะแปรผันไปตามลักษณะของนโยบาย” เป็นของนักคิดใด
(1) โทมัส บี. สมิท
(2) เออร์วิน ฮาร์โกรฟ
(3) แวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น
(4) มอลคอม กอกจิน
(5) อีมิลี ไซมี โลวี ไบรเซนไดน์
ตอบ 2 หน้า 169 เออร์วิน ฮาร์โกรฟ (Erwin Hargrove) ได้พัฒนาวิธีการจากแนวคิดฮิล (Hill) เพื่อสร้างเป็นทฤษฎีระดับกลาง (Middle Range Theory) สําหรับการวิเคราะห์โปรแกรม ประเภทต่าง ๆ โดยมีหลักการที่สําคัญ 3 ประการ คือ
1. ปัญหาทางนโยบายที่ต่างประเภทกันจะเกี่ยวข้องกับกลุ่มของผู้เข้าไปมีส่วนร่วมที่ต่างกันและระดับของการปฏิบัติการที่ต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัญหาของนโยบายที่นําเสนอ
2. กระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติจะแปรผันไปตามลักษณะของนโยบายและนโยบายนั้น ๆ ยังสามารถจําแนกเป็นประเภทต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการทํานายกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติ
3. ภาษาที่ใช้ในกฎหมายใดกฎหมายหนึ่งจะใช้เป็นพื้นฐานในการจําแนกประเภทของโปรแกรม

46. ยอร์ค เสนอบทความที่กําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จขององค์การ โดยกล่าวถึง
(1) การปฏิบัติ (Practice) กับความสําเร็จ (Achievement)
(2) ความรับผิดชอบ (Responsibility) กับความสําเร็จ (Achievement)
(3) ประสิทธิผล (Effectiveness) กับความสําเร็จ (Achievement)
(4) ประสิทธิผล (Effectiveness) กับความรับผิดชอบ (Responsibility)
(5) นโยบาย (Policy) กับความสําเร็จ (Achievement)
ตอบ 3 หน้า 177 ยอร์ค (Yorke) ได้เสนอบทความที่กําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จขององค์การภายใต้”Indicators of Institutional Achievement: Some Theoretical and Empirical Considerations” เมื่อปี ค.ศ. 1986 โดยเขากล่าวว่า ประสิทธิผลขององค์การเป็นกรอบ การวิเคราะห์ถึงความสําเร็จที่สําคัญของการอุดมศึกษา และเขาใช้คําว่า “ประสิทธิผล” (Effectiveness) กับ “ความสําเร็จ” (Achievement) ในความหมายเดียวกัน

47.มอลคอม กอกจิน กล่าวถึงตัวแปรหลักที่ส่งผลต่อศักยภาพของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่
(1) นโยบาย ขั้นตอน และการประเมิน
(2) นโยบาย บุคคล และผู้ปฏิบัติงาน
(3) องค์การ นโยบาย และการประเมิน
(4) นโยบาย องค์การ และผู้ปฏิบัติงาน
(5) นโยบาย ผู้ปฏิบัติ และการควบคุม
ตอบ 4 หน้า 156 มอลคอม กอกจิน (Malcom Goggin) ได้เสนอผลจากการศึกษาเพิ่มเติม โดยพบว่า ตัวแปรหลักที่ส่งผลต่อศักยภาพของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่ นโยบาย องค์การ และ ผู้ปฏิบัติงาน โดยมีปัจจัยอื่น ๆ เช่น สภาพแวดล้อม มาเกี่ยวข้องด้วย

48.“The Policy Implementation Process” เป็นผลงานของนักวิชาการท่านใด
(1) เออร์วิน ฮาร์โกรฟ
(2) โทมัส บี. สมิท
(3) เพรสแมนและวิลดัฟสกี
(4) เบอร์แมน
(5) แมซมาเนียน
ตอบ 2 หน้า 171 โทมัส บี. สมิท (Thomas B. Smith) ได้เขียนบทความเรื่อง “The Policy Implementation Process” เมื่อปี ค.ศ. 1973 เพื่อเสนอตัวแบบของกระบวนการนํานโยบาย ไปปฏิบัติในประเทศโลกที่สาม และได้ประยุกต์แนวความคิดเชิงระบบสําหรับใช้ในการศึกษา การนํานโยบายไปปฏิบัติในประเทศโลกที่สาม โดยเรียกตัวแบบนี้ว่า “A Model of the Policy Implementation Process”

49.วรเดช จันทรศร ได้เสนอบทความเรื่องใด
(1) ความสําเร็จของการนํานโยบายไปปฏิบัติ
(2) การนํานโยบายไปปฏิบัติ : ตัวแบบและคุณค่า
(3) ตัวแบบของนโยบายสาธารณะ
(4) อุปสรรคของการนํานโยบายไปปฏิบัติ
(5) สาระสําคัญการนํานโยบายไปปฏิบัติ
ตอบ 2 หน้า 182 – 183 วรเดช จันทรศร ได้เสนอบทความเรื่อง “การนํานโยบายไปปฏิบัติ : ตัวแบบและคุณค่า” เมื่อปี ค.ศ. 1984 ซึ่งในบทความนี้ได้นําเสนอตัวแบบการศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติ 6 ตัวแบบ คือ
1. ตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล
2. ตัวแบบทางด้านการจัดการ
3. ตัวแบบทางด้านการพัฒนาองค์การ
4. ตัวแบบกระบวนการของระบบราชการ
5. ตัวแบบกระบวนการทางการเมือง
6. ตัวแบบทั่วไป

50.วรเดช จันทรศร เสนอตัวแบบในการนํานโยบายไปปฏิบัติ ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) ตัวแบบด้านการจัดการ
(2) ตัวแบบทางด้านการพัฒนาองค์การ
(3) ตัวแบบทางการ
(4) ตัวแบบระบบราชการ
(5) ตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 49. ประกอบ

51.มอลคอม กอกจิน มีรูปแบบของนโยบายใด
(1) รูปแบบราชการ รูปแบบการบริหาร รูปแบบทางการ
(2) รูปแบบการเมือง รูปแบบการปกครอง รูปแบบราชการ
(3) รูปแบบการเมือง รูปแบบการบริหาร รูปแบบบริหารการเมือง
(4) รูปแบบการเมือง รูปแบบประสานงาน รูปแบบราชการ
(5) รูปแบบการเมือง รูปแบบการปกครอง รูปแบบความร่วมมือ
ตอบ 3 หน้า 156, 159 มอลคอม กอกจีน (Malcom Goggin) ได้เสนอรูปแบบของนโยบาย ซึ่งประกอบด้วย 3 รูปแบบ คือ
1. รูปแบบการเมือง (Political)
2. รูปแบบการบริหาร (Administration)
3. รูปแบบผสมหรือการบริหารการเมือง (Political Administrative)

52. “นโยบาย ตัวเชื่อม และสมรรถนะจะมีผลต่อพฤติกรรมในการนํานโยบายไปปฏิบัติ” ของนักวิชาการท่านใด
(1) แวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น
(2) ยูยีน บาร์แดช
(3) ดาเนียล เอ. แมซมาเนียน
(4) แมคลัฟลิน
(5) มอลคอม กอกจิน
ตอบ 1 หน้า 152 แวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น (Van Meter & Van Horn) ได้กําหนดถึงผลต่อพฤติกรรมในการนํานโยบายไปปฏิบัติว่าต้องมีขั้นตอนการปฏิบัติ ซึ่งจะเชื่อมโยงระหว่าง นโยบายและผลปฏิบัติการ ได้แก่
1. นโยบาย (Policy)
2. ตัวเชื่อม (Linkage)
3. สมรรถนะในการนํานโยบายไปปฏิบัติ (Performance)

53. วิลเลียมส์ กล่าวถึง นําไปปฏิบัติ ข้อใดถูกต้อง
(1) กระบวนการขององค์การที่ต่อเนื่องเป็นพลวัต
(2) มีการวางแผนและนําไปปฏิบัติ
(3) การดําเนินงานให้สําเร็จลุล่วงตามเป้าหมายของกลุ่มผู้ปฏิบัติ
(4) การจัดหาหรือตระเตรียมวิธีการ และการดําเนินการให้สําเร็จลุล่วง
(5) กระบวนการในทางปฏิบัติภาครัฐ
ตอบ 4 หน้า 143 วิลเลียมส์ ชี้ว่า กิริยาที่เรียกว่า นําไปปฏิบัติ (Implement) มีความหมายหลักอยู่ 2 ประการ คือ
1. การจัดหาหรือตระเตรียมวิธีการทั้งหลายทั้งปวงที่จะทําให้ดําเนินการสําเร็จลุล่วงให้พรักพร้อม
2. การดําเนินการให้สําเร็จลุล่วง

54.“California Educational Policy Implementation : The Case of Stull Act” ศึกษามุ่งเน้นเรื่องใด
(1) กฎหมาย
(2) สภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรียน
(3) คุณภาพการศึกษา
(4) การบริหารงานโรงเรียน
(5) คุณภาพชีวิตของครูในโรงเรียน
ตอบ 1 หน้า 145 – 146 อีมิลี ไซมี โลว์ ไบรเซนไดน์ (Emily Chi-Mei Lowe Brizendine) ได้เสนอ วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกเรื่อง “California Educational Policy Implementation : The Case of Stul, Act” เมื่อปี ค.ศ. 1986 ซึ่งเป็นการศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติของ รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยเน้นเรื่องกฎหมาย “Stull Act” ซึ่งเป็นกฎหมายที่กําหนดมาต าตรการ ในการปฏิรูปโรงเรียนรัฐบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเน้นที่การประเมินครูเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อความสําเร็จทางการศึกษาของโรงเรียน

55. ผลงานของอีมิลี ไซมี โลวี ไบรเซนไดน์ ข้อใดถูกต้อง
(1) การสํารวจโรงเรียนในเมืองแอลเอ
(2) เน้นศึกษานักเรียน
(3) การสัมภาษณ์อย่างเดียวในการเก็บข้อมูล
(4) ศึกษาแบ่งเป็น 3 ระยะ
(5) ศึกษาเมื่อปี ค.ศ. 1980
ตอบ 4 หน้า 146 อีมิลี ไซมี โลวี ไบรเซนไดน์ (Emily Chi-Mei Lowe Brizendine) ได้แบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ระยะ คือ
1. การสํารวจโรงเรียนในเขตพื้นที่
2. การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
3. การสัมภาษณ์และใช้แบบสอบถาม (ดูคําอธิบายข้อ 54. ประกอบ)

56. นักวิชาการใดกล่าวถึงกรอบการวิเคราะห์การนํานโยบายไปปฏิบัติ 2 ระดับ (มหภาคและจุลภาค)
(1) โทมัส บี. สมิท
(2) เบอร์แมน
(3) พอล เอ. ซาบาเตียร์
(4) ยูยีน บาร์แดช
(5) กอกจินและคณะ
ตอบ 2 หน้า 175 พอล เบอร์แมน (Paul Berman) ได้เสนอกรอบการวิเคราะห์การนํานโยบาย ไปปฏิบัติ 2 ระดับ คือ
1. การนํานโยบายไปปฏิบัติในระดับมหภาค (Macro-Implementation)
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติในระดับจุลภาค (Micro-Implementation)

57. มองจอยและโอทูเล จําแนกประเภทนโยบายที่ประเภท
(1) 2 ประเภท
(2) 3 ประเภท
(3) 4 ประเภท
(4) 5 ประเภท
(5) 6 ประเภท
ตอบ 3 หน้า 165 – 166 มองจอย (Montjoy) และโอทูเล (O’Toole) ได้เสนอปัจจัยที่นํามาสร้าง เป็นกรอบทฤษฎีในการวิเคราะห์การนํานโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ
1. ความเฉพาะเจาะจง และความไม่ชัดเจนของคําสั่งหรือนโยบาย
2. ความต้องการทรัพยากรใหม่ และไม่ต้องการสําหรับการปฏิบัติตามคําสั่งหรือนโยบาย

58. โทมัส บี. สมิท เสนอขั้นตอนการนํานโยบายไปปฏิบัติ มี 4 ตัวแปร ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) ปัจจัยทางสภาพแวดล้อม
(2) นโยบายที่เป็นอุดมคติ
(3) องค์การที่นํานโยบายไปปฏิบัติ
(4) กลุ่มเป้าหมาย
(5) การจัดสรรทรัพยากร
ตอบ 5 หน้า 171 โทมัส บี. สมิท (Thomas B. Smith) เสนอขั้นตอนของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรที่สําคัญ 4 ตัวแปร คือ
1. นโยบายที่เป็นอุดมคติ
2. องค์การที่นํานโยบายไปปฏิบัติ
3. กลุ่มเป้าหมาย
4. ปัจจัยทางสภาพแวดล้อม

59. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องสําหรับแวน มิเตอร์ และ แวน ฮอร์น
(1) บทความเรื่อง “The Policy Implementation Process : A Conceptual Framework
(2) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติในองค์การที่รับผิดชอบต่อนโยบายโดยตรง
(3) สํารวจกระบวนการของการนํานโยบายไปปฏิบัติ
(4) ให้ความสําคัญกับการบริหารงานบุคคล
(5) เสนอตัวแบบในการวิเคราะห์การนํานโยบายไปปฏิบัติ
ตอบ 4 หน้า 171 – 172 แวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น (Van Meter and Van Horn) ร่วมกันเขียน บทความเรื่อง “The Policy Implementation Process : A Conceptual Frarnework” เมื่อปี ค.ศ. 1975 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสํารวจกระบวนการของการนํานโยบายไปปฏิบัติพร้อมกับนําเสนอตัวแบบในการวิเคราะห์การนํานโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้อง กับผู้ปฏิบัติในองค์การที่รับผิดชอบต่อนโยบายโดยตรง และองค์การอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

60. ข้อใดไม่ใช่ทฤษฎีของมองจอย (Montjoy) และโอทูเล (O’Toole)
(1) มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในนโยบายหลากหลาย
(2) การจัดสรรทรัพยากร
(3) ลักษณะของกิจกรรม/นโยบาย
(4) ความเฉพาะเจาะจง และความไม่ชัดเจนของคําสั่งหรือนโยบาย
(5) ความต้องการทรัพยากรใหม่ และไม่ต้องการสําหรับการปฏิบัติตามคําสั่งหรือนโยบาย
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 57. ประกอบ

61. เพรสแมนและวิลด์ฟสกีกล่าวถึง X คือ ณ เวลาที่ 11 ส่วน Y คือ 2 ความหมายของ t2 คือ
(1) ห่างจากกันไปช่วงระยะเวลาหนึ่ง
(2) การนําไปปฏิบัติต่อเนื่อง
(3) ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ณ เวลาถัดไป
(4) ผลผลิตที่เกิดขึ้น
(5) การดําเนินงานตามวัตถุประสงค์
ตอบ 3 หน้า 164 เพรสแมนและวิลด์ฟสกี (Pressman & Wildavsky) กล่าวว่า นโยบายโดยทั่วไป จะต้องประกอบด้วย 2 ส่วน คือ เงื่อนไขแรกเริ่มและผลที่มุ่งหวัง ดังนั้นถ้ามีเงื่อนไข X เกิดขึ้น ณ เวลาที่ t1 จะเกิดผลลัพธ์ Y ขึ้น ณ เวลาถัดไปคือ t2

62.วรเดช จันทรศร กล่าวถึง 3 ปัจจัย ข้อใดถูก
(1) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยด้านขั้นตอนการดําเนินงาน และปัจจัยต่อผู้ปฏิบัติงาน
(2) ปัจจัยการสื่อสาร ปัจจัยด้านการลงทุน และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
(3) ปัจจัยการสื่อสาร ปัจจัยด้านปัญหาทางสมรรถนะ และปัจจัยด้านตัวผู้ปฏิบัติ
(4) ปัจจัยด้านการลงทุน ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และปัจจัยด้านตัวผู้ปฏิบัติงาน
(5) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยทรัพยากร และปัจจัยด้านวัตถุประสงค์
ตอบ 3 หน้า 183 – 184 วรเดช จันทรศร ได้กล่าวถึงสาระสําคัญของตัวแบบทั่วไปว่าประกอบด้วย ปัจจัยหลัก 3 ปัจจัย คือ
1. ปัจจัยด้านการสื่อสาร
2. ปัจจัยด้านปัญหาทางสมรรถนะ
3. ปัจจัยด้านตัวผู้ปฏิบัติ

63. นาคามูระ และสมอลวูด เสนอเกณฑ์การประเมินความสําเร็จหรือล้มเหลวของนโยบาย ข้อใดถูกต้อง
(1) เกณฑ์ในการบรรลุเป้าหมายของนโยบาย เห็นรูปธรรม
(2) ประสิทธิภาพของหน่วยงาน
(3) ความพึงพอใจของบุคคลภายใน
(4) ขั้นตอนมีมากมาย
(5) การสนองตอบต่อบุคลากร
ตอบ 1หน้า 180 โรเบิร์ต นาคามูระ และแฟรงค์ สมอลวูด ได้เสนอเกณฑ์การประเมินความสําเร็จ หรือล้มเหลวของนโยบายไว้ 5 เกณฑ์ ดังนี้
1. การบรรลุเป้าหมายของนโยบาย เห็นผลเป็นรูปธรรม
2. ประสิทธิภาพ คุณภาพงานที่สัมพันธ์กับต้นทุน
3. ความพึงพอใจของบุคคลภายนอก
4. การสนองตอบต่อความต้องการของลูกค้า
5. การดํารงอยู่ของระบบ

64. ข้อใดไม่ใช่มาตรการของรัฐในการยกระดับราคาสินค้าเกษตร
(1) มาตรการรับจํานําข้าวเปลือกนาปี
(2) มาตรการรับจํานําข้าวเปลือกนาปรัง
(3) โครงการแทรกแซงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
(4) โครงการแทรกแซงตลาดเมล็ดกาแฟ
(5) โครงการแทรกแซงราคาอ้อย
ตอบ 5 หน้า 195, 198 นโยบายและมาตรการของรัฐในการยกระดับราคาสินค้าเกษตร มีดังนี้
1. มาตรการรับจํานําข้าวเปลือกนาปีและนาปรัง
2. มาตรการแก้ไขปัญหาลําไย
3. โครงการแทรกแซงตลาดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
4. โครงการแทรกแซงตลาดมันสําปะหลัง
5. โครงการแทรกแซงตลาดเมล็ดกาแฟ

65. รัฐบาลเศรษฐา 1 มีนโยบายฟรี ซ่าระหว่าง 25 ก.ย. 56 – 29 ก.พ. 67 ให้กับ 2 ประเทศใด
(1) จีนกับไต้หวัน
(2) จีนกับอินเดีย
(3) จีนกับคาซัคสถาน
(4) จีนกับสหภาพยุโรป
(5) จีนกับมาเลเซีย
ตอบ 3 (คําบรรยาย) รัฐบาลเศรษฐา 1 มีนโยบายฟรีวีซ่าระหว่างวันที่ 25 กันยายน 2566 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 ให้กับนักท่องเที่ยว 2 ประเทศ คือ จีนและคาซัคสถาน ซึ่งเป็นนโยบาย กระตุ้นการท่องเที่ยวระยะเร่งด่วนของรัฐบาล

ตั้งแต่ข้อ 66 – 75. จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องตามเนื้อหาของหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

66. รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 68
(2) มาตรา 71
(5) มาตรา 73
(4) มาตรา 75
(5) มาตรา 77
ตอบ 1 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 68 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยสะดวก รวดเร็ว และไม่เสียค่าใช้จ่ายสูงเกินสมควร
2. รัฐจึงมีมาตรการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรม ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ โดยเคร่งครัด ปราศจากการแทรกแซงหรือครอบงําใด ๆ
3. รัฐจึงให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายที่จําเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาส ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม รวมตลอดถึงการจัดหาทนายความให้

67. รัฐจึงอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 66
(2) มาตรา 67
(3) มาตรา 68
(4) มาตรา 77
(5) มาตรา 78
ตอบ 2 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 67 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐพึงอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น
2. รัฐจึงส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาทเพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา
3. รัฐต้องมีมาตรการและกลไกในการป้องกันมิให้มีการบ่อนทําลายพระพุทธศาสนาไม่ว่ารูปแบบใด และพึ่งส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนมีส่วนร่วมในการดําเนินมาตรการหรือกลไกดังกล่าวด้วย

68. รัฐจึงเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวอันเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สําคัญของสังคม ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 64
(2) มาตรา 65
(3) มาตรา 68
(4) มาตรา 70
(5) มาตรา 71
ตอบ 5 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 71 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐจึงเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวอันเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สําคัญของสังคม
2. รัฐจึงส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นพลเมืองที่ดี มีคุณภาพและความสามารถสูงขึ้น

3. รัฐจึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาส ให้สามารถดํารงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ
4. ในการจัดสรรงบประมาณ รัฐจึงคํานึงถึงความจําเป็นและความต้องการที่แตกต่างกันของ เพศ วัย และสภาพของบุคคล

69. รัฐจึงพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติเป็นผู้ให้บริการประชาชนให้เกิด ความสะดวก รวดเร็ว ไม่เลือกปฏิบัติ และปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 72
(2) มาตรา 74
(3) มาตรา 75
(4) มาตรา 76
(5) มาตรา 78
ตอบ 4 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 76 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐจึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐอย่างอื่นให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
2. รัฐพึงพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติเป็นผู้ให้บริการประชาชน ให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ไม่เลือกปฏิบัติ และปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
3. รัฐพึงดำเนินการให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐให้เป็นไปตามระบบคุณธรรม
4. รัฐพึงจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักในการกําหนด ประมวลจริยธรรมสําหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น ๆ

70. รัฐจึงจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักในการกําหนดประมวลจริยธรรม สําหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น ๆ ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 74
(2) มาตรา 75
(3) มาตรา 76
(4) มาตรา 77
(5) มาตรา 78
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 69. ประกอบ

71. รัฐจึงวางแผนการใช้ที่ดินของประเทศให้เหมาะสมกับสภาพของพื้นที่และศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 68
(2) มาตรา 70
(3) มาตรา 72
(4) มาตรา 74
(5) มาตรา 76
ตอบ 3 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 72 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐจึงวางแผนการใช้ที่ดินของประเทศให้เหมาะสมกับสภาพของพื้นที่และศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน
2. จัดให้มีการวางผังเมืองทุกระดับและบังคับการให้เป็นไปตามผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ
3. จัดให้มีมาตรการกระจายการถือครองที่ดินเพื่อให้ประชาชนสามารถมีที่ทํากินได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ฯลฯ

72. รัฐจึงจัดให้มีมาตรการหรือกลไกที่ช่วยให้เกษตรกรประกอบเกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตที่มี ปริมาณและคุณภาพสูง มีความปลอดภัย โดยใช้ต้นทุนต่ําและสามารถแข่งขันในตลาดได้ ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 64
(2) มาตรา 73
(3) มาตรา 74
(4) มาตรา 76
(5) มาตรา 77
ตอบ 2 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 73 บัญญัติให้ รัฐจึงจัดให้มีมาตรการหรือ กลไกที่ช่วยให้เกษตรกรประกอบเกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตที่มีปริมาณและ คุณภาพสูง มีความปลอดภัย โดยใช้ต้นทุนต่ําและสามารถแข่งขันในตลาดได้ และพึงช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ยากไร้ให้มีที่ทํากินโดยการปฏิรูปที่ดินหรือวิธีอื่นใด

73. รัฐจึงส่งเสริม สนับสนุน คุ้มครอง และสร้างเสถียรภาพให้แก่ระบบสหกรณ์ประเภทต่าง ๆ และวิสาหกิจ ขนาดย่อมและขนาดกลางของประชาชนและชุมชน ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 73
(2) มาตรา 74
(3) มาตรา 75
(4) มาตรา 77
(5) มาตรา 78
ตอบ 3 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 75 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐพึงจัดระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนมีโอกาสได้รับประโยชน์จากความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจไปพร้อมกันอย่างทั่วถึง เป็นธรรม และยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ในการพัฒนาประเทศ รัฐจึงคํานึงถึงความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนา ด้านจิตใจ และความอยู่เย็นเป็นสุขของประชาชนประกอบกัน
3. รัฐจึงส่งเสริม สนับสนุน คุ้มครอง และสร้างเสถียรภาพให้แก่ระบบสหกรณ์ประเภทต่าง ๆ และวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลางของประชาชนและชุมชน ฯลฯ

74. รัฐจึงดําเนินการให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐให้เป็นไปตามระบบ
คุณธรรม ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 74
(2) มาตรา 75
(3) มาตรา 76
(4) มาตรา 77
(5) มาตรา 78
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 69. ประกอบ

75. รัฐจึงส่งเสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศโดยถือหลักความเสมอภาคในการปฏิบัติต่อกัน และไม่แทรกแซง กิจการภายในของกันและกัน ตรงตามมาตราด
(1) มาตรา 64
(2) มาตรา 66
(3) มาตรา 75
(4) มาตรา 76 (5) มาตรา 77
ตอบ 2 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 66 บัญญัติให้ รัฐจึงส่งเสริมสัมพันธไมตรีกับ นานาประเทศโดยถือหลักความเสมอภาคในการปฏิบัติต่อกัน และไม่แทรกแซงกิจการภายใน ของกันและกัน ให้ความร่วมมือกับองค์การระหว่างประเทศ และคุ้มครองผลประโยชน์ของชาติ
และของคนไทยในต่างประเทศ

ตั้งแต่ข้อ 76 – 80. จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามตามข้อมูลยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี Thailand 4.0 และเอกสารอื่น ๆ ดังต่อไปนี้
(1) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(2) Thailand 4.0
(3) คําแถลงนโยบายรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน
(4) ทิศทางกระแสต่างประเทศ
(5) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13

76. ประเทศไทยมี New Engines of Growth ได้แก่ ความหลากหลายทางชีวภาพ และความหลากหลาย
เชิงวัฒนธรรม
ตอบ 2 (คําบรรยาย) Thailand 4.0 มีสาระสําคัญดังนี้
1. เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไทยไปสู่ “Value-Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม”
2. เป็น “Reform in Action” ที่มีการผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ การปฏิรูปการวิจัย และการพัฒนา และการปฏิรูปการศึกษาไปพร้อม ๆ กัน

3. เป็นแนวคิดที่มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ภายใต้ทุนวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ ทุนมนุษย์
4. เป็นการพัฒนา “เครื่องยนต์เพื่อขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจชุดใหม่” (New Engines of Growth) ซึ่งประเทศไทยมีอยู่ 2 ด้าน ได้แก่ ความหลากหลายทางชีวภาพ และความหลากหลายเชิงวัฒนธรรมให้เป็นความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน โดยการเติมเต็มด้วย วิทยาการทั้ง 5 ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัย และพัฒนา ฯลฯ

77. มุ่งเน้นพลิกโฉมประเทศไทยสู่ “สังคมก้าวหน้า เศรษฐกิจสร้างมูลค่าอย่างยั่งยืน”
ตอบ 5 (คําบรรยาย) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 เป็นแผนที่มีเป้าหมายหลัก เพื่อพลิกโฉมประเทศไทยไปสู่ “สังคมก้าวหน้า เศรษฐกิจสร้างมูลค่าอย่างยั่งยืน” โดยมุ่งเน้น การพัฒนาดังนี้
1. มุ่งเน้นจากเศรษฐกิจฐานทรัพยากรสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรมและองค์ความรู้
2. มุ่งเน้นจากการผลิตและบริโภคที่ทําลายสิ่งแวดล้อมสู่วิถีชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปลอดภัย
3. มุ่งเน้นจากโอกาสที่กระจุกตัวสู่โอกาสสําหรับทุกกลุ่มคนและทุกพื้นที่
4. มุ่งเน้นจากกําลังคนทักษะต่ําและภาครัฐล้าสมัยสู่กําลังคนและภาครัฐสมรรถนะสูง

78. มุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไทยไปสู่ Value-Based Economy
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 76. ประกอบ

79. Reform in Action ที่มีการผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ การปฏิรูปการวิจัยและการพัฒนา และการปฏิรูปการศึกษา
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 76. ประกอบ

80. มุ่งเน้นวิทยาการทั้ง 5 เพื่อความได้เปรียบ ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และการวิจัยและพัฒนา
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 76. ประกอบ

ตั้งแต่ข้อ 81 – 85. จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามตามเนื้อหาของการประเมินผลนโยบาย
(1) Emil J. Posavac & Raymond G. Carey
(2) James E. Anderson
(3) Charles O. Jones
(4) William N. Dunn
(5) ศุภชัย ยาวะประภาษ

81. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประมาณการ การเปรียบเทียบผลของการนํานโยบายไปปฏิบัติกับสิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่กระทําอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
ในทุกขั้นตอนนโยบาย
ตอบ 2 หน้า 229 เจมส์ อี. แอนเดอร์สัน (James E. Anderson) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประมาณการ การเปรียบเทียบผลของการนํานโยบายไปปฏิบัติ กับสิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่กระทําอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาในทุกขั้นตอน ของนโยบาย

82. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นการใช้วิธีและทักษะหลาย ๆ ด้านเพื่อที่จะตกลงใจว่านโยบาย ที่กําหนดไว้นั้นจําเป็นหรือไม่ ควรจะใช้หรือไม่ ดําเนินการไปตามที่วางไว้หรือไม่ ช่วยแก้ไขปัญหาตามที่ มุ่งหวังไว้หรือไม่
ตอบ 1 หน้า 228 อีมิล เจ. โพชาวัค และเรย์มอนด์ จี. แครี (Emil J. Posavac & Raymond G. Carey) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นการใช้วิธีการหลายวิธีและทักษะหลาย ๆ ด้านเพื่อที่จะ ตกลงใจว่านโยบายที่กําหนดไว้นั้นจําเป็นหรือไม่ ควรจะใช้หรือไม่ ดําเนินการไปตามที่วางไว้ หรือไม่ ช่วยแก้ไขปัญหาตามที่มุ่งหวังไว้หรือไม่

83. ใครกล่าวว่า การประเมินผลเกี่ยวข้องกับกระบวนการวัดคุณค่าของผลการดําเนินการตามนโยบาย
เพื่อที่จะนํามาเปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้
ตอบ 5 หน้า 230 ศุภชัย ยาวะประภาษ กล่าวว่า การประเมินผลเกี่ยวข้องกับกระบวนการวัดคุณค่า ของผลการดําเนินการตามนโยบายเพื่อที่จะนํามาเปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ ที่กําหนดไว้ ซึ่งการประเมินผลนี้ไม่ได้แยกเป็นเอกเทศจากขั้นตอนนโยบายอื่น แต่เกี่ยวข้องกันตลอดเวลา

84. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นขั้นตอนหนึ่งของการวิเคราะห์นโยบาย โดยเป็นขั้นตอน ที่มุ่งผลิตข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับผลของการดําเนินงานตามนโยบายว่าสามารถสนองความต้องการ
ของสังคม สนองคุณค่าของสังคม และแก้ไขปัญหาที่เป็นเป้าหมายของนโยบายได้หรือไม่
ตอบ 4 หน้า 229 วิลเลียม เอ็น, ดันน์ (William N. Dunn) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบาย เป็นขั้นตอนหนึ่งของการวิเคราะห์นโยบาย โดยเป็นขั้นตอนที่มุ่งผลิตข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับผลของการดําเนินงานตามนโยบายว่าสามารถสนองความต้องการของสังคม สนองคุณค่า ของสังคม และแก้ไขปัญหาที่เป็นเป้าหมายของนโยบายได้หรือไม่

85. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นการกระทําที่มีระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบถึงผลของนโยบาย โดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กําหนดไว้กับผลกระทบของการดําเนินการตามนโยบายที่มีต่อปัญหาของ
สังคมที่เป็นเป้าหมายที่นโยบายนั้นมุ่งแก้ไข
ตอบ 3 หน้า 229 ชาร์ลส์ โอ. โจนส์ (Charles O. Jones) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบาย เป็นการกระทําที่มีระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบถึงผลของนโยบายโดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กําหนดไว้กับผลกระทบของการดําเนินการตามนโยบายที่มีต่อปัญหาของสังคมที่เป็นเป้าหมายที่นโยบายนั้นมุ่งแก้ไข

ตั้งแต่ข้อ 86. – 90. จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามตามเนื้อหาของวิธีการประเมินผลนโยบาย
(1) Experimental Design
(2) Quasi-Experimental Design
(3) Pre-Experimental Design
(4) Post-Experimental Design
(5) ผิดทุกข้อ

86. มีความมุ่งหมายที่จะทําให้การตีความต่าง ๆ ถูกต้อง เพื่อที่จะแสดงให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เป็นผลมาจากโครงการ มีบ่อยครั้งที่คําอธิบายในผลลัพธ์ที่ถูกต้องจะแสดงให้เห็นถึงการไม่มีการเปลี่ยนแปลงนอกเหนือไปจากการแสดงให้เห็นความล้มเหลวของโครงการ
ตอบ 2 หน้า 235 – 236 การวิจัยเชิงประเมินในรูปแบบกึ่งทดลอง หรือการประเมินผลด้วยวิธี กึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) มีลักษณะสําคัญดังนี้

1. ในกรณีที่เงื่อนไขไม่เอื้ออํานวยที่จะใช้การประเมินผลด้วยวิธีการทดลอง วิธีการนี้จะทําให้
ได้เปรียบในการนําไปปฏิบัติ โดยผู้ใช้จะต้องยอมรับเบื้องต้นก่อนว่าวิธีการที่จะนําไปใช้มีความสนใจที่ปัจจัยใดบ้างและปล่อยให้ปัจจัยใดบ้างปราศจากการควบคุม
2. มีวิธีการที่สําคัญวิธีหนึ่งคือ การจับคู่ (Matching) ได้แก่ การแสวงหาคู่ในระดับบุคคล พื้นที่ หรือหน่วยการทดลองที่เกี่ยวข้องที่มีความคล้ายคลึงกันตั้งแต่หนึ่งคุณลักษณะที่ศึกษา
3. วิธีการนี้มีความมุ่งหมายที่จะทําให้การตีความต่าง ๆ ถูกต้อง เพื่อที่จะแสดงให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นผลมาจากโครงการ ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คําอธิบายในผลลัพธ์ ที่ถูกต้องจะแสดงให้เห็นถึงการไม่มีการเปลี่ยนแปลง นอกเหนือไปจากการแสดงให้เห็น ความล้มเหลวของโครงการ ฯลฯ

87. แบบศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากที่ได้นําโครงการเข้ามาใช้โดยมีกลุ่มควบคุมที่ได้มาโดยมิได้มีการ สุ่มตัวอย่าง ข้อดี ทําให้ผู้ประเมินได้รับรายละเอียดและมโนภาพมากมาย ทําให้เกิดการตื่นตัวและรับรู้ เรื่องราวต่าง ๆ มากขึ้น
ตอบ 3 หน้า 236 – 237 การวิจัยเชิงประเมินแบบเตรียมทดลอง หรือการประเมินผลด้วยวิธี เตรียมทดลอง (Pre–Experimental Design) แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ แบบศึกษาก่อนและหลังจากที่ได้นําโครงการหนึ่ง ๆ เข้ามาใช้ แบบศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากที่ได้นําโครงการ เข้ามาใช้แล้วเพียงอย่างเดียว และแบบศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากที่ได้นําโครงการเข้ามาใช้ โดยมีกลุ่มควบคุมที่ได้มาโดยมิได้มีการสุ่มตัวอย่าง ซึ่งข้อดีของการประเมินผลด้วยวิธีการนี้ คือ
1. ทําให้ผู้ประเมินได้รับรายละเอียดและมโนภาพมากมาย
2. ทําให้เกิดการตื่นตัวและรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ มากขึ้น
3. ทําให้ผู้ประเมินได้รับข้อมูลข่าวสารด้วยความระมัดระวังและเป็นระบบ

88. ไม่สามารถจะไปประเมินกระบวนการทั้งหมดของนโยบายได้ จะนําไปใช้ได้เฉพาะในเรื่องของ Input และ
Product เท่านั้น
ตอบ 1 หน้า 234 – 235 การวิจัยเชิงประเมินในรูปแบบทดลอง หรือการประเมินผลด้วยวิธีการทดลอง (Experimental Design) มีข้อจํากัดดังนี้
1. วิธีการที่ใช้ในการแบ่งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมักมีปัญหาในทางปฏิบัติ เช่น การมีผลประโยชน์ในการเลือกกลุ่มเข้ามาเกี่ยวข้อง หรือการมีลักษณะความเคร่งครัด ในการเลือกกลุ่มในทางปฏิบัติจะมีน้อย
2. วิธีการทดลองไม่สามารถจะไปประเมินกระบวนการทั้งหมดของนโยบายได้ จะนําไปใช้ได้ เฉพาะในเรื่องของ Input และ Product เท่านั้น
3. วิธีการทดลองไม่สามารถควบคุมความเที่ยงตรงภายนอกได้ จึงทําให้ผลที่ได้มาจาก การทดลองอาจจะไม่เหมือนกับผลที่ได้มาจากการดําเนินการจริง ฯลฯ

89. การมีผลประโยชน์ในการเลือกกลุ่มเข้ามาเกี่ยวข้อง หรือการมีลักษณะความเคร่งครัดในการเลือกกลุ่มในทางปฏิบัติจะมีน้อย
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 38. ประกอบ

90. มีวิธีการที่สําคัญวิธีหนึ่งคือ การจับคู่ (Matching) การแสวงหาคู่ในระดับบุคคล พื้นที่ หรือหน่วยการทดลอง ที่เกี่ยวข้องที่มีความคล้ายคลึงกันตั้งแต่หนึ่งคุณลักษณะที่ศึกษา
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 36. ประกอบ

ตั้งแต่ข้อ 91. – 100. จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามในเนื้อหาของเทคนิค
ในการประเมินผลนโยบาย
(1) Formal Evaluation
(2) Decision Theoretical Evaluation
(3) Policy Delphi
(4) Interrupted Time Series Analysis
(5) Regression-Discontinuity Analysis

91. เป็นเทคนิคที่เน้นประเมินผลนโยบายจากวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายที่กําหนดไว้อย่างเป็นทางการ โดยเชื่อว่าวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กําหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยผู้กําหนดนโยบายเป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมแล้ว
ตอบ 1 หน้า 251 – 252 การประเมินผลแบบเป็นทางการ (Formal Evaluation) เป็นเทคนิคที่ใช้วิธีการที่เป็นวิทยาศาสตร์ในการสร้างข่าวสารที่ถูกต้องและเชื่อถือได้เกี่ยวกับผลของนโยบาย โดยประเมินผลของนโยบายจากวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายที่กําหนดไว้ อย่างเป็นทางการ เพราะเชื่อว่าวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กําหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยผู้กําหนดนโยบายเป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมแล้ว

92. เป็นเทคนิคที่ช่วยให้เห็นการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังการนํานโยบายไปปฏิบัติในรูปของ ตารางและ/หรือค่าทางสถิติ และกราฟแบบต่าง ๆ
ตอบ 4 หน้า 264 – 265 การวิเคราะห์อนุกรมเวลาแบบขาดตอน (Interrupted Time Series Analysis) เป็นวิธีการที่ช่วยให้เห็นการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังการนํานโยบาย ไปปฏิบัติในรูปของตารางและ/หรือค่าทางสถิติ และกราฟแบบต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะสําหรับการประเมินผลนโยบายที่มีกลุ่มเป้าหมายหลักเพียงกลุ่มเดียวหรือมีขอบเขตการ ดําเนินงานที่แน่นอนเพียงแห่งเดียว จุดเด่นของวิธีการนี้ คือ ช่วยให้ผู้ประเมินผลนโยบายสามารถพิจารณาผลของนโยบายได้อย่างเป็นระบบ โดยสามารถแยกแยะผลของนโยบาย
ที่เกิดขึ้นจริงได้จากผลที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุอื่น

93. เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้ประเมินผลนโยบายสามารถพิจารณาผลของนโยบายได้อย่างเป็นระบบ โดยสามารถ แยกแยะผลของนโยบายที่เกิดขึ้นจริงได้จากผลที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุอื่น
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 92. ประกอบ

94. เป็นเทคนิคที่มีหลักการ 5 ประการ คือ Selective Anonymity, Informed Multiple Advocacy, Polarized Statistical Response, Structured Conflict, Computer Conferencing
ตอบ 3 หน้า 260 – 261 วิธีเดลฟีเชิงนโยบาย (Policy Delphi) มีหลักการสําคัญ 5 ประการ คือ
1. ความเป็นนิรนามเฉพาะระยะแรก (Selective Anonymity)
2. ผู้เชี่ยวชาญต่างสํานัก (Informed Multiple Advocacy)
3. การวิเคราะห์ทางสถิติแบบแยกกลุ่ม (Polarized Statistical Response)
4. การจัดโครงสร้างความขัดแย้ง (Structured Conflict)
5. การประชุมโดยคอมพิวเตอร์ (Computer Conferencing)

95. เป็นเทคนิคที่เหมาะสําหรับการประเมินผลนโยบายที่มีกลุ่มเป้าหมายหลักเพียงกลุ่มเดียวหรือมีขอบเขตการดําเนินงานที่แน่นอนเพียงแห่งเดียว
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 92. ประกอบ

96. เป็นเทคนิคที่ช่วยในการประเมินผลแบบเทียม โดยช่วยให้ผู้ประเมินผลสามารถคํานวณและเปรียบเทียบผลโดยประมาณของนโยบายที่เกิดขึ้นในกลุ่มเป้าหมายที่กําหนดไว้และกลุ่มเปรียบเทียบที่นํามาพิจารณา
ตอบ 5 หน้า 265 การวิเคราะห์เชิงถดถอยแบบไม่ต่อเนื่อง (Regression-Discontinuity Analysis) เป็นเทคนิคที่ช่วยในการประเมินผลแบบเทียม โดยช่วยให้ผู้ประเมินผลสามารถ คํานวณและเปรียบเทียบผลโดยประมาณของนโยบายที่เกิดขึ้นในกลุ่มเป้าหมายที่กําหนดไว้และกลุ่มเปรียบเทียบที่นํามาพิจารณา เทคนิคนี้เหมาะสําหรับการประเมินผลตามแนวการทดลองทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทดลองที่มีการกําหนดกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มควบคุมเอาไว้ เรียบร้อยแล้ว

97. เป็นเทคนิคที่นําเอาข้อคิดและความเห็นของผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สูงในเนื้อหาและเรื่องราว ของนโยบายที่กําลังประเมินมาประมวลและเปรียบเทียบกันเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับผลของนโยบาย
ตอบ 3 หน้า 259 วิธีเดลฟีเชิงนโยบาย (Policy Delphi) เป็นวิธีการที่นําเอาข้อคิดและความเห็น ของผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สูงในเนื้อหาและเรื่องราวของนโยบายที่กําลังประเมิน มาประมวลและเปรียบเทียบกันเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับผลของนโยบาย

98. เป็นเทคนิคที่ประกอบไปด้วย การประเมินความสามารถที่จะประเมินได้ และการวิเคราะห์อรรถประโยชน์ แบบพหุลักษณ์
ตอบ 2 หน้า 254 – 255 การประเมินผลแบบพิจารณาความเหมาะสม (Decision Theoretical Evaluation) เป็นเทคนิคการประเมินผลที่มุ่งสร้างข่าวสารที่ถูกต้องและเชื่อถือได้เกี่ยวกับผลของนโยบายโดยใช้คุณค่าหรือผลประโยชน์ที่ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ได้รับเป็นเกณฑ์ประเมิน ซึ่งรูปแบบของการประเมินผลแบบนี้มี 2 รูปแบบด้วยกัน คือ การประเมินความสามารถที่จะ ประเมินได้ และการวิเคราะห์อรรถประโยชน์แบบพหุลักษณ์

99. เป็นเทคนิคที่เหมาะสําหรับการประเมินผลตามแนวการทดลองทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทดลอง ที่มีการกําหนดกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มควบคุมเอาไว้เรียบร้อยแล้ว
ตอบ 5 ดูคําอธิบายข้อ 96. ประกอบ

100. เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ข้อมูล เหตุผล และข้อสรุปที่ละเอียดครอบคลุมความเห็นของทุกกลุ่มทุกฝ่าย ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในนโยบาย เป็นประโยชน์ต่อผู้กําหนดนโยบายในการตัดสินใจว่าอะไรแน่ ที่เป็นผลของนโยบายนั้น ๆ
ตอบ 3 หน้า 264 ประโยชน์ของวิธีเดลฟีเชิงนโยบาย (Policy Delphi) คือ สามารถให้ข้อมูลเหตุผล และข้อสรุปที่ละเอียดครอบคลุมความเห็นของทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ในนโยบาย การประเมินจึงครอบคลุมกว้างขวางรวมทุกประเด็นไว้หมด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ อย่างมากต่อผู้กําหนดนโยบายในการตัดสินใจว่าอะไรแน่ที่เป็นผลของนโยบายนั้น ๆ

 

POL3301 นโยบายสาธารณะ s/2565

การสอบไล่ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2565
ข้อสอบกระบวนวิชา POL 3301 นโยบายสาธารณะ
คําสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1.Pressman & Wildavsky กล่าวถึง การนําไปปฏิบัติ ทําให้สําเร็จ เติมเต็ม ผลลัพธ์ ทําให้สมบูรณ์ ให้เกิดผลสําเร็จนั้นต้องกําหนดเรื่องอะไร
(1) กําหนดภารกิจหลักของภาครัฐ ภารกิจรอง
(2) กําหนดโดยฝ่ายบริหารเป็นผู้ดําเนินงานต่าง ๆ ไปพร้อมกับนํานโยบายไปปฏิบัติ
(3) กําหนดยุทธศาสตร์ที่สามารถเป็นกรอบในการดําเนินงานได้ในระยะยาว
(4) กําหนดรูปแบบนโยบายไปพร้อมกับวิธีการนํานโยบายไปปฏิบัติ
(5) กําหนดการจัดหาวิธีในการดําเนินการ
ตอบ 4 หน้า 142 – 143 เพรสแมนและวิลด์ฟสกี (Pressman & Wildavsky) กล่าวว่า การนํานโยบาย ไปปฏิบัติ คือ การนําไปปฏิบัติ ทําให้สําเร็จ เติมเต็ม ผลลัพธ์ ทําให้สมบูรณ์ และการนํานโยบาย ไปปฏิบัติให้เกิดผลสําเร็จนั้นต้องกําหนดรูปแบบของนโยบายไปพร้อมกับวิธีการนํานโยบายไปปฏิบัติ

2. กล่าวโดยสรุป การนํานโยบายไปปฏิบัติ หมายถึง
(1) การตัดสินใจของรัฐในการกําหนดแนวทางดําเนินนโยบาย
(2) กระบวนการในทางปฏิบัติที่จะทําให้นโยบายใด ๆ บรรลุวัตถุประสงค์
(3) การดําเนินงานของฝ่ายบริหารเพื่อบริการสาธารณะแก่ประชาชน
(4) รัฐจะกําหนดนโยบาย ดําเนินงานต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมายที่กําหนดไว้
(5) ยุทธศาสตร์การทํางานของรัฐที่จะบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน
ตอบ 2 หน้า 143 กล่าวโดยสรุป การนํานโยบายไปปฏิบัติ หมายถึง กระบวนการในทางปฏิบัติ ที่จะทําให้นโยบายใด ๆ บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กําหนดไว้

3.ในทรรศนะของวิลเลียมส์ เขามักเน้นความหมายประการที่สอง ข้อใดถูกต้อง
(1) กระบวนการขององค์การที่ต่อเนื่องเป็นพลวัต
(2) การดําเนินการเพื่อให้นโยบายสําเร็จลุล่วง
(3) กระบวนการในทางปฏิบัติที่จะทําให้นโยบายใด ๆ บรรลุวัตถุประสงค์
(4) การจัดหาหรือตระเตรียมวิธีการ และการดําเนินการ
(5) มีการวางแผนและเตรียมงานให้พร้อม
ตอบ 2 หน้า 143 วิลเลียมส์ ชี้ว่า กิริยาที่เรียกว่า นําไปปฏิบัติ (Implement) มีความหมายหลักอยู่ 2 ประการ คือ
1. การจัดหาหรือตระเตรียมวิธีการทั้งหลายทั้งปวงที่จะทําให้ดําเนินการ สําเร็จลุล่วงให้พรักพร้อม
2. การดําเนินการให้สําเร็จลุล่วง ซึ่งในทรรศนะของวิลเลียมส์ เขามักเน้นความหมายประการที่สองมากกว่าความหมายแรก นั่นคือ ในทรรศนะของวิลเลียมส์ การนํานโยบายไปปฏิบัติ คือ การดําเนินการเพื่อให้นโยบายสําเร็จลุล่วงซึ่งเป็นความหมายที่ คล้ายคลึงกับความหมายที่เพรสแมนและวิลดัฟสกี และซาบาเตียร์และแม่ชมาเนียนยึดถือนั่นเอง

4.ความหมายการนํานโยบายไปปฏิบัติของวิลเลียมส์มีความคล้ายคลึงกับนักวิชาการท่านใด
(1) พอล เอ. ซาบาเตียร์
(2) เพรสแมนและวิลดัฟสกี
(3) ยูยีน บาร์แดช
(4) โทมัส บี. สมิท
(5) มิลบรีย์ แมคลัฟลิน
ตอบ 1. 2 ดูคําอธิบายข้อ 3. ประกอบ

5.การศึกษา “การนํานโยบายไปปฏิบัติ” นักวิชาการรุ่นบุกเบิกคือท่านใด
(1) พอล เอ. ซาบาเตียร์
(2) เพรสแมนและวิลด์ฟสกี
(3) ยูยีน บาร์แดช
(4) โทมัส บี. สมิท
(5) มิลบรีย์ แมคลัฟลิน
ตอบ 2 หน้า 144 – 145 เพรสแมน (Pressman) และวิลด์ฟสกี (Wildavsky) นักวิชาการรุ่นบุกเบิก
ของการศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติ ได้เสนอผลงานการวิจัยการนํานโยบายไปปฏิบัติภายใต้ ชื่อ “Implementation” เมื่อปี ค.ศ. 1973 ซึ่งผลงานฉบับนี้ถือว่าเป็นก้าวหน้าสําคัญชิ้นหนึ่ง ที่ทําให้เกิดวิชาการนํานโยบายไปปฏิบัติขึ้นในการศึกษานโยบายสาธารณะ

6.แนวคิดของแรนดาล ริปเลย์ และเกรซ แฟรงกลิน กล่าวถึงลักษณะของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ข้อใดถูก (1) มีปัจจัยหลายประการที่สําคัญมากและอยู่นอกเหนือการควบคุม
(2) มีผู้เกี่ยวข้องสําคัญ ๆ เป็นชนชั้นนํา
(3) นโยบายเป็นของรัฐและเอกชนร่วมมือกัน
(4) รัฐและเอกชนมีส่วนรับผิดชอบ
(5) หน่วยงานในทุกระดับ หลายระดับที่กําหนดนโยบาย
ตอบ 1 หน้า 144 แรนดาล ริปเลย์ และเกรซ แฟรงกลิน (Randell Ripley and Grace Franklin) ได้พิจารณาลักษณะของการนํานโยบายไปปฏิบัติว่ามีลักษณะสําคัญ 5 ประการ คือ
1. มีผู้เกี่ยวข้องสําคัญ ๆ มากมาย
2. ผู้เกี่ยวข้องล้วนมีวัตถุประสงค์ที่หลากหลายและมักแตกต่างกัน
3. นโยบายและโครงการของรัฐบาลมักขยายใหญ่โตขึ้นทุกวัน
4. หน่วยงานในหลายระดับ จากหลายกระทรวง ทบวง กรม มีส่วนร่วมในการดําเนินกิจการ
5. มีปัจจัยหลายประการที่สําคัญมากและอยู่นอกเหนือการควบคุม

7.ผลงานเรื่อง “Implementation (1973)” ท่านใดเป็นผู้แต่ง
(1) มิลบรีย์ แมคลัฟลิน (Milbrey McLaughlin)
(2) ยูยืน บาร์แดช (Eugene Bardach)
(3) เพรสแมน (Pressman) และวิลดัฟสกี (Wildavsky)
(4) พอล เอ. ซาบาเตียร์ (Paul A. Sabatier)
(5) ดาเนียล เอ. แมชมาเนียน (Daniel A. Mazmanian)
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ

8.กฎหมาย Stull Act ของ Brizendine ศึกษาเกี่ยวกับ ข้อใดถูกต้อง
(1) แบ่งการศึกษาเป็น 4 ระยะ
(2) เป็นการศึกษาระดับปริญญาโท
(3) ศึกษาเมื่อปี ค.ศ. 1988
(4) ศึกษาชนกลุ่มน้อยในนครโอคแลนด์
(5) กําหนดมาตรการในการปฏิรูปโรงเรียนรัฐบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ตอบ 5 หน้า 145 – 146 อีมิลี ไซมี โลว์ ไบรเซนไดน์ (Emily Chi-Mei Lowe Brizendine) ได้เสนอ วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกเรื่อง “California Educational Policy Implementation : The Case of Stutt Act” เมื่อปี ค.ศ. 1986 ซึ่งเป็นการศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติของ รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยเน้นเรื่องกฎหมาย “Stull Act” ซึ่งเป็นกฎหมายที่กําหนดมาตรการ ในการปฏิรูปโรงเรียนรัฐบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเน้นที่การประเมินครูเพื่อให้เกิด ความรับผิดชอบต่อความสําเร็จทางการศึกษาของโรงเรียน

9.ข้อใดกล่าวถึงวิธีการศึกษาของอาคม ใจแก้ว เกี่ยวกับการนํานโยบายไปปฏิบัติ
(1) ความชัดเจนของนโยบายเป็นเป้าหมายแรกของนโยบาย
(2) การจัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอและเหมาะสม
(3) ปัจจัยด้านนโยบายมีความสัมพันธ์กับปัจจัยด้านองค์การ
(4) แรงจูงใจของผู้ปฏิบัตินโยบาย คือ ค่าตอบแทน เงินเดือน และสวัสดิการ
(5) การแสวงหาผลประโยชน์ภายในองค์การ
ตอบ 3 หน้า 148 – 149 อาคม ใจแก้ว ได้ศึกษาเรื่อง “การนํานโยบายไปปฏิบัติในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ : ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสําเร็จ” ซึ่งพบว่า ในการทดสอบ เชิงปริมาณตัวแบบที่ 2 ปัจจัยด้านข้าราชการและปัจจัยด้านงบประมาณมีความสัมพันธ์ทางตรงกับความสําเร็จของการนํานโยบายไปปฏิบัติเชิงทัศนคติ ส่วนปัจจัยด้านนโยบาย มีความสัมพันธ์กับปัจจัยด้านองค์การ และปัจจัยด้านข้าราชการ ปัจจัยด้านการใช้ข้อมูลและกระบวนการติดต่อไม่มีความสัมพันธ์กับความสําเร็จเชิงทัศนคติ

10.Van Meter & Van Horn เชื่อมโยงระหว่างนโยบายและผลปฏิบัติการ ได้แก่อะไรบ้าง
(1) การตัดสินใจเลือกนโยบาย ตัวเชื่อม และการประเมินผล
(2) นโยบาย ตัวเชื่อม และสมรรถนะ
(3) ปัจจัยนําเข้า ตัวเชื่อม และนโยบาย
(4) สมรรถนะ ตัวเชื่อม และผลสําเร็จ
(5) กําหนด ปฏิบัติ และการประเมินผลนโยบาย
ตอบ 2 หน้า 152 แวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น (Van Meter & Van Horn) ได้กําหนดถึงผลต่อ พฤติกรรมในการนํานโยบายไปปฏิบัติว่าต้องมีขั้นตอนการปฏิบัติ ซึ่งจะเชื่อมโยงระหว่าง นโยบายและผลปฏิบัติการ ได้แก่ 1. นโยบาย (Policy)
2. ตัวเชื่อม (Linkage)
3. สมรรถนะในการนํานโยบายไปปฏิบัติ (Performance)

11. การศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติเหมือนเป็น………….ระหว่างการกําหนดนโยบายและการประเมินผลนโยบาย ตรงที่……………….ใดถูกต้อง
(1) การสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก
(2) เป้าหมายชัดเจน
(3) พฤติกรรมของบุคคลในองค์การ
(4) ช่องว่างที่ขาดหายไป
(5) ได้มาตรฐานเดียวกัน
ตอบ 4 หน้า 152 ความรู้ของนักวิชาการเกี่ยวกับเรื่องกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติมีไม่มากนัก เมื่อเปรียบเทียบกับความรู้เกี่ยวกับการกําหนดนโยบายที่เป็นเช่นนี้เพราะที่ผ่านมาในการศึกษา วิเคราะห์นโยบายสาธารณะนั้นจะมุ่งเน้นหนักไปที่กระบวนการของการกําหนดนโยบายและการศึกษาการประเมินผลนโยบายเป็นส่วนใหญ่ การศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติจึงเหมือนเป็นช่องว่างที่ขาดหายไประหว่างการกําหนดนโยบายและการประเมินผลนโยบาย

12.Van Meter & Van Horn กล่าวถึงตัวเชื่อมมีความสําคัญคือ
(1) พฤติกรรมของบุคคลในองค์การและภายนอกองค์การ
(2) การสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก เช่น ภาคเอกชนและประชาชน
(3) มีเป้าหมายที่แน่นอนสามารถดําเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์
(4) การสื่อสารภายในองค์การ
(5) นโยบายต้องได้มาตรฐานเดียวกัน
ตอบ 4 หน้า 152 – 153 แวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น (Van Meter & Van Horn) กล่าวว่าตัวเชื่อม (Linkage) นั้น ความสําคัญที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือเรื่องการสื่อสารภายในองค์การ
และกิจกรรมสนับสนุนภายใน โดยอาจจัดให้มีการสัมมนาอบรม และมีการบรรยายพิเศษ โดยสม่ําเสมอ เพื่อเพิ่มพูนทักษะและความเข้าใจของผู้ที่มีหน้าที่นํานโยบายไปปฏิบัติเพื่อจะให้สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน

13.Malcom Goggin กล่าวถึงตัวแปรหลักที่ส่งผลต่อศักยภาพของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่
(1) นโยบาย เวลา และทรัพยากร
(2) นโยบาย ขั้นตอน และการประเมิน
(3) นโยบาย ผู้ปฏิบัติ และการประเมิน
(4) นโยบาย องค์การ และผู้ปฏิบัติงาน
(5) องค์การ กระบวนการ และการควบคุม
ตอบ 4 หน้า 156 มอลคอม กอกจิน (Malcom Goggin) ได้เสนอผลจากการศึกษาเพิ่มเติม โดยพบว่า ตัวแปรหลักที่ส่งผลต่อศักยภาพของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่ นโยบาย องค์การ และ ผู้ปฏิบัติงาน โดยมีปัจจัยอื่น ๆ เช่น สภาพแวดล้อม มาเกี่ยวข้องด้วย

14. ยูยีน บาร์แดช กล่าวถึงการใช้เส้นสายทางสังคม ข้อใดถูกต้อง
(1) ปัญหาการประสานงานระหว่างหน่วยงาน
(2) ความเห็นพ้องระหว่างผู้ปฏิบัติฝ่ายต่าง ๆ
(3) สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน
(4) ปัจจัยที่เข้ามาแทรกแซงการดําเนินงานของรัฐ
(5) ความไม่ต่อเนื่องของการดําเนินงาน
ตอบ 4 หน้า 157 ยูยีน บาร์แดช (Eugene Bardach) ได้ทําการศึกษาการปฏิรูปนโยบายด้าน สุขภาพจิตในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งพบปัญหาในการนํานโยบายไปปฏิบัติ ล้มเหลวเพราะเกิดจากความไม่เห็นพ้องระหว่างผู้ปฏิบัติฝ่ายต่าง ๆ หรือมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ปฏิบัติในลักษณะที่ซับซ้อนจนเกินไป หรือเมื่อรัฐเข้ามาแทรกแซงกิจการทางสังคม เนื่องจาก การใช้เส้นสายทางสังคมได้ ที่สําคัญคือ ปัจจัยที่เข้ามาแทรกแซงการดําเนินงานของหน่วยงาน ของรัฐ ซึ่งเป็นเกมส์ที่ทางผู้บริหารหรือผู้มีอํานาจกําหนดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดการต่อรองจากฝ่ายต่าง ๆ

15.เพรสแมน (Pressman) และวิลด์ฟสกี (Wildavsky) กล่าวถึง นโยบายโดยทั่วไปจะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
(1) เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบาย
(2) เงื่อนไขแรกเริ่มและผลที่มุ่งหวัง
(3) ความยากและง่ายของปัญหา
(4) ความสามารถและทรัพยากรของนโยบาย
(5) ปัจจัยจากกลุ่มการเมืองและฝ่ายบริหารสนับสนุน
ตอบ 2 หน้า 164 เพรสแมน (Pressman) และวิลดัฟสกี (Wildavsky) กล่าวว่า นโยบายโดยทั่วไป จะต้องประกอบด้วย 2 ส่วน คือ เงื่อนไขแรกเริ่มและผลที่มุ่งหวัง ดังนั้นถ้ามีเงื่อนไข X เกิดขึ้น ณ เวลาที่ 11 จะเกิดผลลัพธ์ Y ขึ้น ณ เวลาถัดไปคือ t2

16. กรอบทฤษฎี คือ 1. ความเฉพาะเจาะจง และความไม่ชัดเจนของคําสั่งหรือนโยบาย 2. ความต้องการ ทรัพยากรใหม่ และไม่ต้องการสําหรับการปฏิบัติตามคําสั่งหรือนโยบาย เป็นของนักวิชาการท่านใด
(1) โทมัส บี. สมิท
(2) มิลบรีย์ แมคลัฟลิน
(3) ดาเนียล เอ. แมชมาเนียน
(4) เออร์วิน ฮาร์โกรฟ
(5) มองจอยและโอทูเล
ตอบ 5 หน้า 165 – 166 มองจอยและโอทูเล (Montjoy and O’Toole) ได้เสนอปัจจัยที่นํามาสร้างเป็นกรอบทฤษฎีในการวิเคราะห์การนํานโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ
1. ความเฉพาะเจาะจง และความไม่ชัดเจนของคําสั่งหรือนโยบาย
2. ความต้องการทรัพยากรใหม่ และไม่ต้องการสําหรับการปฏิบัติตามคําสั่งหรือนโยบาย

17.นโยบายประเภท C (Type C) ของมองจอยและโอทูเล ข้อใดถูกต้อง
(1) นโยบายมีความชัดเจนและทรัพยากรเพียงพอ
(2) นโยบายมีความชัดเจนและทรัพยากรไม่เพียงพอ
(3) นโยบายขาดทั้งความชัดเจนและทรัพยากรทําให้มีข้อจํากัด
(4) นโยบายขาดความชัดเจนแต่ทรัพยากรเพียงพอ
(5) นโยบายดําเนินการได้ตามเป้าหมาย
ตอบ 3 หน้า 167 นโยบายประเภท C (Type C) ของมองจอยและโอทูเล (Montjoy and O’Toole) เป็นนโยบายที่ขาดทั้งความชัดเจนและทรัพยากร ทําให้มีข้อจํากัด และเปิดช่องให้องค์การสามารถ ตีความนโยบายได้มาก แต่ก็มีข้อจํากัดที่องค์การจะต้องรับผิดชอบงานประจําการขาดทรัพยากรจึงทําให้ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงตามที่นโยบายต้องการ ซึ่งอาจจะทําให้องค์การถูกลงโทษจากหน่วยเหนือได้ แต่อย่างไรก็ตามจัดเป็นนโยบายที่มักจะไม่นําไปสู่การปฏิบัติ

18. “กระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติจะแปรผันไปตามลักษณะของนโยบาย” ของนักวิชาการท่านใด
(1) โทมัส บี. สมิท
(2) แวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น
(3) เออร์วิน ฮาร์โกรฟ
(4) กอกจินและคณะ
(5) มองจอยและโอทูเล ตอบ 3 หน้า 169 เออร์วิน ฮาร์โกรฟ (Erwin Hargrove) ได้พัฒนาวิธีการจากแนวคิดฮิล (Hill) เพื่อสร้างเป็นทฤษฎีระดับกลาง (Middle Range Theory) สําหรับการวิเคราะห์โปรแกรม ประเภทต่าง ๆ โดยมีหลักการที่สําคัญ 3 ประการ คือ
1. ปัญหาทางนโยบายที่ต่างประเภทกันจะเกี่ยวข้องกับกลุ่มของผู้เข้าไปมีส่วนร่วมที่ต่างกันและระดับของการปฏิบัติการที่ต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัญหาของนโยบายที่นําเสนอ
2. กระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติจะแปรผันไปตามลักษณะของนโยบายและนโยบายนั้นๆ ยังสามารถจําแนกเป็นประเภทต่างๆเพื่อประโยชน์ในการทํานายกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติ
3. ภาษาที่ใช้ในกฎหมายใดกฎหมายหนึ่งจะใช้เป็นพื้นฐานในการจําแนกประเภทของโปรแกรม

19. เออร์วิน ฮาร์โกรฟ ประยุกต์เพื่อตั้งสมมติการนํานโยบายประเภทต่าง ๆ ไปปฏิบัติ ข้อใดถูกต้อง
(1) ความสามารถของรัฐ
(2) การชี้นําและข้อจํากัดของรัฐบาลกลาง
(3) การชี้นําและข้อจํากัดของรัฐบาลส่วนท้องถิ่น
(4) ความสามารถของเอกชน
(5) การนํานโยบายการจัดสรรทรัพยากรไปปฏิบัติ
ตอบ 5 หน้า 169 – 170 เออร์วิน ฮาร์โกรฟ (Erwin Hargrove) ได้นําแนวคิดมาประยุกต์ เพื่อตั้งสมมติการนํานโยบายประเภทต่าง ๆ ไปปฏิบัติไว้ 2 ประการ คือ
1. การนํานโยบายการจัดสรรทรัพยากรไปปฏิบัติ (Distributive Policy)
2. การนํานโยบายที่มีบทบัญญัติในการบังคับไปปฏิบัติ (Regulatory Policy)

20. เออร์วิน ฮาร์โกรฟ พัฒนาวิธีการจากแนวคิดฮิลเพื่อสร้างเป็นทฤษฎีระดับกลาง ข้อใดถูกต้อง
(1) ทุกภาคส่วนล้วนมีความสําคัญในนโยบาย ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน
(2) ภาษาที่ใช้ในกฎหมายใดกฎหมายหนึ่งจะใช้เป็นพื้นฐานในการจําแนกประเภทโปรแกรม
(3) ไม่มีการกําหนดว่าใครได้อะไร เมื่อไร และอย่างไร
(4) ผู้ปฏิบัติจะมีความสัมพันธ์ต่อกันในองค์การ
(5) ปัจจัยภายนอกและภายในองค์การจะมีผลต่อความสําเร็จ
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 18. ประกอบ

21. นักวิชาการที่ประยุกต์แนวคิดเชิงระบบ และมองว่านโยบายสาธารณะเป็นพลังที่ทําให้เกิดความตึงเครียด
(1) โทมัส บี. สมิท
(2) เออร์วิน ฮาร์โกรฟ
(3) เพรสแมนและวิลดัฟสกี
(4) แมชมาเนียน
(5) เบอร์แมน
ตอบ 1หน้า 171 โทมัส บี. สมิท (Thomas B. Smith) ได้ประยุกต์แนวคิดเชิงระบบสําหรับใช้ใน การศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติในประเทศโลกที่สาม โดยเรียกตัวแบบนี้ว่า “A Model of the Policy Implementation Process” โดยมองว่านโยบายสาธารณะเป็นพลังที่ทําให้เกิด ความตึงเครียดในสังคม และขั้นตอนของการนํานโยบายไปปฏิบัติประกอบด้วยตัวแปรที่สําคัญ 4 ตัวแปร คือ
1. นโยบายที่เป็นอุดมคติ 2. องค์การที่นํานโยบายไปปฏิบัติ 3. กลุ่มเป้าหมาย 4. ปัจจัยทางสภาพแวดล้อม

22. โทมัส บี. สมิท ศึกษา 4 ตัวแปร ข้อใดถูกต้อง
(1) องค์กรที่กําหนดนโยบาย
(2) นโยบายไม่เป็นอุดมคติ
(3) ปัจจัยทางสภาพแวดล้อม
(4) กลุ่มตัวอย่างที่สําคัญในการศึกษานโยบาย
(5) กําลังศึกษาโลกที่สาม
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 21. ประกอบ

23. เบอร์แมน ศึกษานโยบายทางสังคมเกี่ยวข้องกับสิ่งใด
(1) ผู้กําหนดนโยบายจะมีความสัมพันธ์ต่อกันในองค์การ
(2) การส่งเสริมต่อบริการของรัฐไปยังประชาชน
(3) สวัสดิการของแรงงาน
(4) ภาครัฐจะกําหนดนโยบายเป็นภารกิจหลัก
(5) รายได้จะมีส่วนสัมพันธ์กับรัฐบาลท้องถิ่น
ตอบ 2 หน้า 174 – 175 พอล เบอร์แมน (Paul Berman) ได้นําเสนอบทความเรื่อง “The Dugy of Macro and Micro Implementation” เมื่อปี ค.ศ. 1978 เพื่อใช้เป็นกรอบการศึกษา การนํานโยบายไปปฏิบัติ โดยมีฐานคติที่สําคัญว่าปัญหาการนํานโยบายไปปฏิบัติส่วนมากจะ เกิดขึ้นจากปฏิสัมพันธ์จากสถาบันต่าง ๆ ที่รับผิดชอบต่อการนํานโยบายไปปฏิบัติ โดยเฉพาะ นโยบายทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมต่อบริการของรัฐไปยังประชาชนนั้นสามารถจะแยกปัญหาทางการนํานโยบายไปปฏิบัติในระดับมหภาคที่อยู่ในส่วนรับผิดชอบของรัฐบาลกลาง ออกจากปัญหาการนํานโยบายไปปฏิบัติในระดับจุลภาคซึ่งอยู่ในส่วนรับผิดชอบของรัฐบาล ส่วนท้องถิ่น กล่าวคือ ผู้ปฏิบัติในแต่ละระดับจะสร้างปฏิสัมพันธ์ในการจะกําหนดว่าใครได้อะไร เมื่อไร และอย่างไร และส่งผลต่อระดับของความสําเร็จในขั้นปฏิบัติการได้ นอกจากนี้เบอร์แมน ยังได้ชี้ให้เห็นว่าอํานาจอันทรงอิทธิพลในอันที่จะกําหนดผลสําเร็จของนโยบายอยู่ในมือของ ผู้ปฏิบัติในระดับท้องถิ่น หาใช่ผู้บริหารจากส่วนกลางแต่อย่างใด

24. ขั้นตอนใดของเบอร์แมนกล่าวถูกต้อง
(1) ขั้นการยอมรับเป็นระดับมหภาค
(2) ขั้นการนํานโยบายไปปฏิบัติเป็นระดับมหภาค
(3) ขั้นความเที่ยงตรงทางวิชาเป็นระดับมหภาค
(4) ขั้นการบริหารเป็นระดับมหภาค
(5) ขั้นการบริการเป็นระดับมหภาค
ตอบ 4 หน้า 176 – 177 พอล เบอร์แมน (Paul Berman) ได้เสนอขั้นตอนการนํานโยบายไปปฏิบัติ จากระดับมหภาคไปสู่ระดับจุลภาค ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นการบริหาร
2. ขั้นการยอมรับ
3. ขั้นการนํานโยบายไปปฏิบัติในระดับจุลภาค
4 ขั้นความเที่ยงตรงทางวิชา
โดยขั้นตอนที่ 1 จะเกี่ยวข้องกับระดับมหภาคโดยตรง ส่วนขั้นตอนที่ 2 – 4 จะเกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติในระดับจุลภาค

25. โรเบิร์ต นาคามูระ และแฟรงค์ สมอลวูด กล่าวถึงการประเมินความสําเร็จหรือล้มเหลวของนโยบาย
ข้อใดถูกต้อง
(1) ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของหน่วยงาน
(2) ความพึงพอใจของผู้รับบริการมีส่วนสําคัญต่อนโยบาย
(3) เกณฑ์ในการบรรลุเป้าหมายของนโยบาย เห็นรูปธรรม
(4) ขั้นตอนมีมากมายรวมถึงบุคลากรมีหลายระดับ
(5) การสนองตอบต่อบุคลากรภายในองค์กร
ตอบ 3 หน้า 180 โรเบิร์ต นาคามูระ และแฟรงค์ สมอลวูด ได้เสนอเกณฑ์การประเมินความสําเร็จ หรือล้มเหลวของนโยบายไว้ 5 เกณฑ์ ดังนี้
1. การบรรลุเป้าหมายของนโยบาย เห็นผล เป็นรูปธรรม
2. ประสิทธิภาพ คุณภาพงานที่สัมพันธ์กับต้นทุน
3. ความพึงพอใจของ บุคคลภายนอก
4. การสนองตอบต่อความต้องการของลูกค้า
5. การดํารงอยู่ของระบบ

26.วรเดช จันทรศร ได้เสนอ “การนํานโยบายไปปฏิบัติ : ตัวแบบและคุณค่า” มีตัวแบบในการนํานโยบาย ไปปฏิบัติ 6 ตัวแบบ ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) ตัวแบบกระบวนการของระบบราชการ
(2) ตัวแบบทางด้านการจัดการ
(3) ตัวแบบทางด้านการพัฒนาองค์การ
(4) ตัวแบบทางด้านเหตุและปัจจัย
(5) ตัวแบบกระบวนการทางการเมือง
ตอบ 4 หน้า 182 – 183 วรเดช จันทรศร ได้เสนอบทความเรื่อง “การนํานโยบายไปปฏิบัติ : ตัวแบบและคุณค่า” เมื่อปี ค.ศ. 1984 ซึ่งในบทความนี้ได้นําเสนอตัวแบบการศึกษา การนํานโยบายไปปฏิบัติ 6 ตัวแบบ คือ
1. ตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล
2. ตัวแบบทางด้านการจัดการ
3. ตัวแบบทางด้านการพัฒนาองค์การ
4. ตัวแบบกระบวนการของระบบราชการ
5. ตัวแบบกระบวนการทางการเมือง
6. ตัวแบบทั่วไป

27. ตัวแบบทั่วไปของวรเดช จันทรศร ได้ปรับปรุงจากผลงานของนักวิชาการท่านใด
(1) ดาเนียล เอ. แมซมาเนียน
(2) แวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น
(3) เออร์วิน ฮาร์โกรฟ
(4) โทมัส บี. สมิท
(5) มิลบรีย์ แมคลัฟลิน
ตอบ 2 หน้า 183 ตัวแบบทั่วไปของวรเดช จันทรศร ได้ปรับปรุงจากผลงานของแวน มิเตอร์ และ แวน ฮอร์น (Van Meter & Van Horn) ซึ่งพัฒนามาจากตัวแบบการวิเคราะห์ระบบการเมืองของเดวิด อีสตัน (David Easton) ประยุกต์กับผลการศึกษาด้านทฤษฎีองค์การเข้าด้วยกัน

28.วรเดช จันทรศร กล่าวถึงสาระสําคัญของตัวแบบทั่วไปว่าประกอบด้วย 3 ปัจจัย คือ
(1) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยด้านขั้นตอนการดําเนินงาน และปัจจัยต่อผู้ปฏิบัติงาน
(2) ปัจจัยการสื่อสาร ปัจจัยด้านปัญหาทางสมรรถนะ และปัจจัยด้านตัวผู้ปฏิบัติ
(3) ปัจจัยการสื่อสาร ปัจจัยด้านการลงทุน และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
(4) ปัจจัยด้านการลงทุน ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และปัจจัยด้านตัวผู้ปฏิบัติงาน
(5) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยการสื่อสาร และปัจจัยองค์การ
ตอบ 2 หน้า 183 – 184 วรเดช จันทรศร ได้กล่าวถึงสาระสําคัญของตัวแบบทั่วไปว่าประกอบด้วย ปัจจัยหลัก 3 ปัจจัย คือ
1. ปัจจัยด้านการสื่อสาร
2. ปัจจัยด้านปัญหาทางสมรรถนะ
3. ปัจจัยด้านตัวผู้ปฏิบัติ

29. ข้อใดไม่ใช่มาตรการของรัฐในการยกระดับราคาสินค้าเกษตร
(1) มาตรการรับจํานําข้าวเปลือกนาปี
(2) มาตรการรับจํานําข้าวเปลือกนาปรัง
(3) โครงการแทรกแซงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
(4) โครงการแทรกแซงตลาดเมล็ดกาแฟ
(5) โครงการแทรกแซงราคาอ้อย
ตอบ 5 หน้า 195, 198 นโยบายและมาตรการของรัฐในการยกระดับราคาสินค้าเกษตร มีดังนี้
1. มาตรการรับจํานําข้าวเปลือกนาปีและนาปรัง
2. มาตรการแก้ไขปัญหาลําไย
3. โครงการแทรกแซงตลาดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
4. โครงการแทรกแซงตลาดมันสําปะหลัง
5. โครงการแทรกแซงตลาดเมล็ดกาแฟ

30. ข้อใดกล่าวถูกต้องของ “นโยบายข้อปที่มีคืน 2566
(1) ใช้ลดเมื่อเดินทางไปต่างประเทศ
(2) ใช้ลดหย่อนภาษีสูงสุด 40,000 บาทเท่านั้น
(3) ใช้ลดสําหรับกลุ่มนิติบุคคล
(4) ใช้ลดเฉพาะผู้ที่มีรายได้เกิน 500,000 บาทเท่านั้น
(5) ใช้ระยะเวลา 1 – 31 มกราคม 2566
ตอบ 2 (คําบรรยาย) นโยบายช้อปที่มีคืน 2566 เป็นนโยบายกระตุ้นการใช้จ่ายภายในประเทศ โดยบุคคลที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสามารถนําค่าใช้จ่ายจากการซื้อสินค้าหรือบริการ ที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 1 มกราคม – 15 กุมภาพันธ์ 2566 มาใช้ลดหย่อนภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาได้สูงสุด 40,000 บาท

ตั้งแต่ข้อ 31. – 35. จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคําถาม
(1) Thomas R. Dye
(2) Ira Sharkansky
(3) David Easton
(4) James Anderson
(5) Theodore Lowi

31. ใครกล่าวว่า นโยบายสาธารณะ คือ สิ่งที่รัฐเลือกที่จะทําหรือไม่ทํา
ตอบ 1 หน้า 3 โทมัส อาร์. ดาย (Thomas R. Dye) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง สิ่งใด ก็ตามที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทําหรือไม่กระทํา

32. ใครกล่าวว่า นโยบายสาธารณะเกี่ยวข้องกับการจัดสรรและแจกแจงคุณค่าของสังคมโดยชอบด้วยกฎหมาย
ตอบ 3 หน้า 3 เดวิด อีสตัน (David Easton) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง การจัดสรรและ แจกแจงคุณค่า (Values) ต่าง ๆ ของสังคมโดยชอบด้วยกฎหมายและเป็นไปเพื่อประโยชน์ของ สังคมส่วนรวม

33. ใครกล่าวว่า นโยบายสาธารณะเกี่ยวข้องกับการจัดการบริการสาธารณะ
ตอบ 2 หน้า 3 ไอรา ซาร์แคนสกี้ (Ira Sharkansky) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง กิจกรรม ต่าง ๆ ที่รัฐบาลกระทํา เช่น การบริการสาธารณะ การควบคุมกิจกรรมของบุคคลหรือธุรกิจ ของเอกชน เป็นต้น

34. ใครกล่าวว่า นโยบายสาธารณะเกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม
ตอบ 4 หน้า 3 เจมส์ แอนเดอร์สัน (James Anderson) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมที่รัฐบาลกระทําเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเจตนาเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม
เช่น ความยากจน การผูกขาด เป็นต้น

35. ใครเกี่ยวข้องกับการจําแนกประเภทของนโยบายสาธารณะ
ตอบ 5 หน้า 5 – 6, (คําบรรยาย) ธีโอดอร์ โลวาย (Theodore Lowi) ได้เสนอให้จําแนกประเภท ของนโยบายตามเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์ของนโยบายนั้น ๆ ออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. นโยบายที่เป็นกฎเกณฑ์หรือข้อบังคับ (Regutative Policy)
2. นโยบายการกระจายบริการของรัฐ (Distributive Policy)
3. นโยบายเพื่อการจัดสรรทรัพยากรให้เหมาะสมหรือการจัดสรรทรัพยากรเสียใหม่ (Re-Distributive Policy)

36. ใครสนใจในการวิเคราะห์นโยบาย
(1) E.S. Quade
(2) Stuart S. Nagel
(3) William Dunn
(4) ข้อ 1 และ 2 ถูก
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 5 หน้า 72, (คําบรรยาย) นักวิชาการที่สนใจศึกษาการวิเคราะห์นโยบาย (Policy Analysis)ได้แก่
1. เควด (E.S. Quade)
2. วิลเลียม เอ็น. ดันน์ (William N. Dunn)
3. สจ๊วตท์ เอส. นาเกล (Stuart S. Nagel)
4. โทมัส อาร์. ดาย (Thomas R. Dye) ฯลฯ

37. ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) Dunn ศึกษาการวิเคราะห์นโยบาย
(2) Nagel ศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติ
(3) Anderson ศึกษากระบวนการนโยบาย
(4) Dimock อธิบายความคิดสร้างสรรค์
(5) Quade เสนอจุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์นโยบาย
ตอบ 2 หน้า 61 – 68, 164 – 171 นักวิชาการที่ศึกษาเรื่องการนํานโยบายไปปฏิบัติ (Policy
Implementation) ได้แก่
1. กรอส (Gross)
2. ไจแอคควินทา (Giacquinta)
3. เบิร์นสไตล์ (Bernstein)
4. กรีนวูด (Greenwood)
5. แมน (Mann)
6. แมคลัฟลิน (McLaughlin)
7. เบอร์แมน (Berman)
8. เดล อี. ริชาร์ด (Dale E. Richards)
9. เพรสแมน (Pressman)
10. วิลดัฟสกี (Wildavsky)
11. มองจอย (Montjoy)
12. โอทูเล (O’Toole)
13. โทมัส บี. สมิท (Thomas B. Smith)
14. พอล เอ. ซาบาเดียร์ (Paul A. Sabatier)
15. ดาเนียล เอ. แมซมาเนียน (Daniel A. Mazmanian)
16. อิมิลี ไซมี โลว์ ไบรเซนไดน์ (Emily Chi-Mei Lowe Brizendine) ฯลฯ (ดูคําอธิบายข้อ 36. ประกอบ)

38. ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) Harold Lasswell กล่าวว่า นโยบายเกี่ยวข้องกับแผนหรือโครงการที่กําหนดขึ้น
(2) Thomas R. Dye นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจว่าจะทําหรือไม่ทํา
(3) Theodore Lowi เป็นบิดาแห่งนโยบายศาสตร์
(4) David Easton เกี่ยวข้องกับการจัดสรรและแจกแจงคุณค่าต่าง ๆ
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3 หน้า 3, 58 – 59 ฮาโรลด์ ลาสเวลล์ (Harold Lasswell) ซึ่งเป็นผู้ที่อยู่ในกลุ่มที่เน้น การสร้างภาพรวมและได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งนโยบายศาสตร์” ได้ให้ความหมาย นโยบายสาธารณะร่วมกับอับราแฮม แคปแพลน (Abraham Kaplan) ว่า “นโยบายสาธารณะ หมายถึง แผนหรือโครงการที่กําหนดขึ้น อันประกอบด้วยเป้าหมาย คุณค่า และแนวการ ปฏิบัติงานต่าง ๆ” (ดูคําอธิบายข้อ 31. และ 32. ประกอบ)

39. Emily Chi-Mei Lowe Brizendine ศึกษาเรื่องอะไร
(1) การปฏิรูปโรงเรียนรัฐบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
(2) การจ้างงานของชนกลุ่มน้อย
(3) โครงการให้ความช่วยเหลือทางการเงินของรัฐบาล
(4) Catalytic Role Model
(5) การพัฒนาวิทยาลัยครูให้มาเป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์
ตอบ 1 หน้า 62 – 67, 145 – 146, (คําบรรยาย) นักวิชาการต่างประเทศที่ศึกษาเกี่ยวกับการนํานโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) มีดังนี้
1. กรอสและคณะ (Gross, Giacquinta & Bernstein) ศึกษานวัตกรรมทางการสอนแบบใหม่ สําหรับครู โดยเน้นที่กระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาสาระของบทเรียน ซึ่งเรียกตัวแบบ การศึกษานี้ว่า “Catalytic Role Model”
2. กรีนวูดและคณะ (Greenwood, Mann & McLaughlin) ศึกษาโครงการของรัฐบาลกลาง ในการให้การสนับสนุนเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา โดยเน้นศึกษาโครงการ ให้ความช่วยเหลือทางการเงินของรัฐบาลในระดับท้องถิ่น
3. เบอร์แมนและแมคลัฟลิน (Berman & McLaughlin) ศึกษาโครงการของรัฐบาลกลาง ในการให้การสนับสนุนเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา โดยเน้นศึกษาความต่อเนื่อง
ของนโยบายนวัตกรรมหลังจากที่ความช่วยเหลือทางการเงินจากรัฐบาลกลางสิ้นสุดลง
4. อีมิลี ไซมี โลวี ไบรเซนไดน์ (Emily Chi-Mei Lowe Brizendine) ศึกษาการปฏิรูป โรงเรียนรัฐบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
5. เดล อี. ริชาร์ด (Cale E. Richards) ศึกษาการพัฒนาวิทยาลัยครูให้มาเป็นมหาวิทยาลัย ที่สมบูรณ์
6. เพรสแมนและวิลดัฟสกี (Pressman & Wildavsky) ศึกษานโยบายการจ้างงานของ ชนกลุ่มน้อยที่เมืองโอคแลนด์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ภายใต้ชื่อ “Implementation” ฯลฯ

40.เพรสแมนและวิลด์ฟสกีสนใจการศึกษานโยบายเรื่องใด
(1) Policy Analysis
(2) Policy Process
(3) Policy Impacts
(4) Policy Evaluation
(5) Policy Implementation
ตอบ 5 ดูคําอธิบายข้อ 37. ประกอบ

ตั้งแต่ข้อ 41. – 45. จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคําถาม
(1) Harold Lasswell
(2) Thomas R. Dye
(3) Stuart S. Nagel
(4) William Dunn
(5) Dale E. Richards.

41. ใครศึกษาการพัฒนาวิทยาลัยครูจนเป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์
ตอบ 5 ดูคําอธิบายข้อ 39. ประกอบ

42. ใครได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งนโยบายศาสตร์
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 38. ประกอบ

43. ใครให้เห็นเหตุผลในการกําหนดนโยบายไว้ 3 ประการ คือ เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เหตุผลทางวิชาชีพ และเหตุผลทางการเมือง
ตอบ 2 หน้า 57, (คําบรรยาย) โทมัส อาร์. ดาย (Thomas R. Dye) ได้ชี้ให้เห็นถึงเหตุผล (ความสําคัญ) ของการศึกษาและการกําหนดนโยบายสาธารณะไว้ 3 ประการ คือ
1. เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Reasons) คือ การทําความเข้าใจเหตุและผลของ การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบาย เพื่อให้ได้นโยบายที่มีเหตุผลมากที่สุด
2. เหตุผลทางวิชาชีพ (Professional Reasons) คือ การนําความรู้เชิงนโยบายไปใช้แก้ปัญหา ทางด้านการปฏิบัติ โดยวิชาชีพที่แตกต่างกันจะทําให้การกําหนดนโยบายและการนํานโยบายไปปฏิบัติของแต่ละวิชาชีพมีความแตกต่างกัน
3. เหตุผลทางการเมือง (Political Reasons) คือ การดัดแปลงนโยบายที่ถูกต้องเหมาะสม ทางการเมืองมาใช้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการเมือง โดยการใช้เหตุผลทางการเมือง มักจะทําให้การกําหนดนโยบายเป็นไปอย่างไม่มีเหตุผลแต่เป็นที่ยอมรับของประชาชน เช่น นโยบายประชานิยมต่าง ๆ เป็นต้น

44. ใครให้ความหมายของการวิเคราะห์นโยบายไว้ว่า เป็นการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดในชุดของเป้าหมายที่กําหนดไว้
ตอบ 3 หน้า 72 สจ๊วตท์ เอส. นาเกล (Stuart S. Nagel) กล่าวว่า การวิเคราะห์นโยบายเป็น การกําหนดและตัดสินทางเลือกของนโยบาย โดยการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่คิดว่าดีที่สุด ในชุดของเป้าหมายที่กําหนดไว้
โดยเปรียบเทียบทางเลือกเหล่านั้นกับการบรรลุเป้าหมาย

45. ใครกล่าวว่า การวิเคราะห์นโยบายเป็นการใช้วิธีการที่หลากหลายในการนําเสนอข้อเท็จจริงและเหตุผล
มาแปรรูปในการกําหนดนโยบายเพื่อแก้ปัญหาทางการเมืองที่มีสภาวการณ์ที่แตกต่างกัน
ตอบ 4 หน้า 72 วิลเลียม เอ็น. ดันน์ (William N. Dunn) กล่าวว่า การวิเคราะห์นโยบายเป็นสาขาหนึ่ง ของสังคมศาสตร์ประยุกต์ที่ใช้วิธีการหลากหลายในการนําเสนอข้อเท็จจริงและเหตุผลมาแปรรูป ในการกําหนดนโยบายเพื่อแก้ปัญหาในทางการเมืองที่มีสภาวการณ์แตกต่างกัน

ตั้งแต่ข้อ 46. – 50. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
(1) Theodore Low:
(2) Ira Sharkansky
(3) Carl J. Friedrich
(4) William Greenwood
(5) David Easton

46. ใครเสนอว่า อุปสรรคจะเป็นแรงผลักดันให้มีการเสนอนโยบายเพื่อไปใช้ประโยชน์
ตอบ 3 หน้า 3 คาร์ล เจ. ฟรีดริช (Carl J. Friedrich) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง ข้อเสนอ สําหรับแนวทางการดําเนินงานของบุคคล กลุ่มบุคคล หรือรัฐบาล ภายในสภาพแวดล้อมแบบหนึ่ง ซึ่งอาจมีทั้งอุปสรรคและโอกาสบางประการ โดยอุปสรรคและโอกาสนี้จะเป็นแรงผลักดันให้มี การเสนอนโยบายขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ และเอาชนะสภาพการณ์ต่าง ๆ ทั้งนี้ก็เพื่อนําไปสู่ เป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งนั่นเอง

47. ใครเสนอว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมที่รัฐบาลกระทํา เช่น การบริการสาธารณะ ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 33. ประกอบ

48. ใครเสนอให้จําแนกประเภทของนโยบายตามเนื้อหาสาระของนโยบาย
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 35. ประกอบ

49. ใครเสนอว่า นโยบายสาธารณะเป็นแนวทางที่เป็นบรรทัดฐานในการดําเนินงานของหน่วยงาน
ตอบ 4 หน้า 3 วิลเลียม กรีนวูด (William Greenwood) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง การตัดสินใจขั้นต้นของรัฐบาลเพื่อเป็นแนวทางที่เป็นบรรทัดฐานในการดําเนินงานของหน่วยงานไปสู่วัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้

50. ใครเสนอว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง การจัดสรรและแจกแจงคุณค่าของสังคมโดยชอบด้วยกฎหมาย
ตอบ 5 ดูคําอธิบายข้อ 32. ประกอบ

51. ข้อใดถูกต้อง
(1) กรอสและคณะ ศึกษาการพัฒนาวิทยาลัยครูจนเป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์
(2) กรีนวูดและคณะ ศึกษาการให้ความช่วยเหลือทางการเงินของรัฐบาลในระดับท้องถิ่น
(3) เบอร์แมนและแมคลัฟลิน ศึกษานวัตกรรมทางการสอนแบบใหม่
(4) อีมิลี ไซมี โลว์ ไบรเซนไดน์ เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าสาระ
(5) เดล อี. ริชาร์ด ศึกษาความต่อเนื่องของนโยบายนวัตกรรมหลังสิ้นสุดการช่วยเหลือ
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 39. ประกอบ

52.Stuart S. Nagel สนใจการศึกษานโยบายเรื่องใด
(1) Policy Analysis
(2) Policy Process
(3) Policy Impacts
(4) Policy Evaluation
(5) Policy Implementation
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 36. ประกอบ

53. การรับรู้ถึงปัญหาสาธารณะเกี่ยวข้องกับนโยบายในด้านใด
(1) Policy Analysis
(2) Policy Evaluation
(3) Policy Impacts
(4) Policy Implementation
(5) เกี่ยวข้องกับนโยบายทุกด้าน
ตอบ 1 หน้า 73 เควด (E.S. Quade) กล่าวว่า จุดมุ่งหมายที่สําคัญของการวิเคราะห์นโยบาย (Policy Analysis) มีดังนี้
1. เพื่อให้ผู้กําหนดนโยบายได้รับรู้ถึงปัญหาสาธารณะโดยแจ้งชัด
2. เพื่อปรับปรุงคุณภาพการตัดสินใจของผู้กําหนดนโยบายที่สามารถแก้ปัญหาหรือตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนได้
3. เพื่อสร้างกระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นรูปธรรมและเป็นระบบ

54. ข้อใดไม่ใช่กระบวนการที่ Stuar: S. Nagel เสนอ
(1) การกําหนดแผนงาน
(2) การกําหนดเป้าหมายเพื่อบรรลุผล
(3) การกําหนดคน สถานที่ อุปกรณ์
(4) การกําหนดความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายกับนโยบาย
(5) การวิเคราะห์ผลตอบแทนสูงสุด
ตอบ 1 หน้า 239 – 240 สจ๊วตท์ เอส. นาเกล (Stuart S. Nagel) ได้เสนอแนวคิดในการวิเคราะห์ ข้อมูลแบบง่ายสําหรับการวิเคราะห์หรือการประเมินนโยบาย ซึ่งมีหลักการหรือกระบวนการ ที่สําคัญ 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. กําหนดเป้าหมายเพื่อการบรรลุผล หรือการให้ผลประโยชน์ ตอบแทนสูงสุด
2. กําหนดเป้าหมายสัมพันธ์
3. กําหนดคน สถานที่ หรือวัสดุอุปกรณ์ ให้สอดคล้องกับนโยบายนั้น ๆ
4. กําหนดความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายกับนโยบาย
5. ปรับความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายกับนโยบาย

55. การเปลี่ยนจุดเน้นจากผลผลิตนโยบายมาสู่การศึกษากระบวนการนโยบายอยู่ในยุคใด
(1) ยุคเริ่มต้น
(2) ยุคพัฒนาให้เป็นศาสตร์
(3) ยุคการนําไปปฏิบัติให้บรรลุผล
(4) ยุคกึ่งกลางระหว่างเริ่มต้นและพัฒนา
(5) ในทุกยุค
ตอบ 3 หน้า 60 – 61 ยุคการนําไปปฏิบัติให้บรรลุผล เป็นยุคที่แนวคิดในการวิเคราะห์นโยบาย มีการเปลี่ยนจุดเน้นจากผลผลิตของนโยบาย (Policy Outputs) มาสู่การศึกษากระบวนการนโยบาย (Policy Prccess) และมีการเปลี่ยนวิธีการวิเคราะห์จากวิธีการเชิงปริมาณไปสู่วิธีการ ที่ผสมผสานระหว่างเชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพมากขึ้น

56. การนําศาสตร์ในหลาย ๆ สาขามาใช้ในการวิเคราะห์นโยบาย เป็นแนวโน้มในเรื่องใด
(1) แนวโน้มเกี่ยวกับเป้าหมายและคุณค่า
(2) แนวโน้มเกี่ยวกับวิธีการ
(3) แนวโน้มเกี่ยวกับแนวทางการดําเนินนโยบาย
(4) แนวโน้มเกี่ยวกับรูปแบบ
(5) แนวโน้มเกี่ยวกับการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลตอบแทน
ตอบ 3 หน้า 74 แนวโน้มการวิเคราะห์นโยบายในอนาคต มี 3 แนวโน้มใหญ่ คือ
1. แนวโน้มเกี่ยวกับเป้าหมายและคุณค่า จะมุ่งเน้นการบรรลุเป้าหมายโดยหาทางเลือกที่ดีที่สุด ที่ทําให้ประชาชนพอใจ และสนองต่อคุณค่าต่าง ๆ ของสังคม โดยการเน้นให้ประชาชน กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น เพื่อให้นโยบายที่เกิดขึ้นสนองตอบต่อสังคมโดยส่วนรวมอย่างแท้จริง
2. แนวโน้มเกี่ยวกับแนวทางการดําเนินนโยบาย จะมุ่งเน้นการหาวิธีการที่ดีที่สุดที่เป็นไปได้ โดยการพิจารณามิติทางการเมืองและการบริหาร และมีการนําศาสตร์ในหลาย ๆ สาขาวิชา มาใช้ในการวิเคราะห์นโยบายในลักษณะสหวิทยาการ
3. แนวโน้มเกี่ยวกับวิธีการ จะมุ่งเน้นการวิเคราะห์เชิงธุรกิจที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายและผลตอบแทน (Cost-Benefit) รวมทั้งการคํานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่จะเกิดขึ้นด้วย

ตั้งแต่ข้อ 57. – 59. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
(1) การก่อตัวของนโยบาย
(2) การนํานโยบายไปปฏิบัติ
(3) การเตรียมและเสนอนโยบาย
(4) การอนุมัติและประกาศนโยบาย
(5) การปรับปรุงแก้ไขนโยบาย

57. การที่หน่วยงานนํานโยบายมาแปลงเป็นแผนงานและโครงการเป็นขั้นตอนใด
ตอบ 2 หน้า 50 – 51, (คําบรรยาย) การนํานโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) เป็นขั้นตอนที่แสดงให้เห็นถึงการนําทรัพยากรต่าง ๆ ไปจัดสรรเพื่อก่อให้เกิดผลตามนโยบาย
1. การส่งต่อนโยบาย (Policy Delivery)ซึ่งประกอบด้วย
2. การตีความหรือแปลงนโยบายออกมาเป็นแผนงานและโครงการ
3. การชี้แจงเกี่ยวกับนโยบาย
4. การดําเนินงานของหน่วยงานระดับปฏิบัติ(Street-Level Bureaucracy)
5. การจัดระบบสนับสนุน ได้แก่ ข้อมูลข่าวสาร การมอบหมาย อํานาจหน้าที่ และการติดต่อสื่อสาร
6. การติดตามและควบคุมผลการปฏิบัติงาน

58. การจัดทําร่างนโยบายอยู่ในขั้นตอนใด
ตอบ 3 หน้า 25 – 26, (คําบรรยาย) การเตรียมและเสนอนโยบาย (Policy Formulation) เป็นขั้นตอนที่ต้องมีการศึกษาค้นคว้าเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายเรื่องนั้น ๆ เพื่อช่วยประกอบการตัดสินใจของผู้กําหนดนโยบาย ซึ่งประกอบด้วย
1. การกําหนดวัตถุประสงค์
2. การกําาหนดทางเลือก
3. การจัดทําร่างนโยบาย ซึ่งประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ แนวทางและมาตรการ การจัดลําดับทางเลือก และการหาข้อมูลประกอบ การพิจารณา

59. การพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อนํามาหาทางเลือกในการแก้ปัญหาอยู่ในขั้นตอนใด
ตอบ 1 หน้า 23 – 25 ขั้นตอนการก่อตัวของนโยบาย (Policy Formation) ประกอบด้วย
1. การพิจารณาปัญหาหรือความต้องการของประชาชน
2. การพิจารณาเวลาที่เกิดปัญหา
3. ปัญหาที่รัฐบาลสนใจ
4. การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา

60. นโยบายปฏิรูประบบราชการ เกี่ยวข้องกับนโยบายประเภทใด
(1) Economic Policy
(2) Education Policy
(3) Social Policy
(4) Administrative Policy
(5) Politic & Defence Policy
ตอบ 4 หน้า 7, (คําบรรยาย) นโยบายทางการบริหาร (Administrative Policy) เป็นนโยบายรอง ที่กําหนดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานหรือองค์การนั้น ๆ เช่น นโยบายธรรมาภิบาล นโยบายการปฏิรูประบบราชการ นโยบายเร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชน มีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง นโยบายการบริหารงานบุคคล นโยบายการบริหารงานคลัง โครงการประเทศไทยใสสะอาด เป็นต้น

ตั้งแต่ข้อ 61 – 65. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
(1) ประสิทธิผล
(2) ประสิทธิภาพ
(3) ความเหมาะสม
(4) ความพอเพียง
(5) ความสามารถในการตอบสนอง

61. ความสามารถในการผลิตผลผลิตหรือให้บริการโดยมีต้นทุนต่อหน่วยต่ำสุด ถือว่าเป็นเกณฑ์ประเภทใด
ตอบ 2 หน้า 99, (คําบรรยาย) ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง ความสามารถในการบรรลุ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายโดยใช้ต้นทุนต่ำสุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ความสามารถในการผลิตผลผลิตหรือให้บริการโดยมีต้นทุนต่อหน่วยต่ำสุด

62. ความสามารถของทางเลือกที่สอดคล้องกับค่านิยมพื้นฐานของกลุ่มต่าง ๆ ถือว่าเป็นเกณฑ์ประเภทใด
ตอบ 5 หน้า 101 ความสามารถในการตอบสนอง (Responsiveness) หมายถึง ความสามารถ ของทางเลือกที่สอดคล้องกับความต้องการ ความชอบ และค่านิยมพื้นฐานของกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งทางเลือกที่มีความสามารถในการตอบสนองสูงก็คือ ทางเลือกที่สามารถทําให้กลุ่มที่มี ความจําเป็นสูงได้รับผลจากทางเลือกนั้นด้วย

63. ความสามารถในการดําเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายภายใต้เงื่อนไขของ
ทรัพยากรที่มีอยู่ ถือว่าเป็นเกณฑ์ประเภทใด
ตอบ 4 หน้า 100 ความพอเพียง (Adequacy) หมายถึง ความสามารถในการดําเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายภายใต้เงื่อนไขของทรัพยากรที่มีอยู่ โดยทั่วไปเงื่อนไข ของทรัพยากรมักจะวัดในรูปของงบประมาณที่มีอยู่

64. การนําเกณฑ์อื่น ๆ มาพิจารณาพร้อม ๆ กัน เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ประเภทใด
ตอบ 3 หน้า 101 ความเหมาะสม (Appropriateness) หมายถึง การพิจารณาคุณค่าและ ความเหมาะสมของเป้าหมายของทางเลือกที่กําหนดไว้ โดยการนําเกณฑ์อื่น ๆ หลายเกณฑ์ มาพิจารณาพร้อม ๆ กัน

65. ความสามารถในการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบาย ถือว่าเป็นเกณฑ์ประเภทใด
ตอบ 1 หน้า 98, (คําบรรยาย) ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ความสามารถในการบรรลุ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบาย หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ความสามารถในการผลิตผลผลิตหรือให้บริการได้ครบถ้วนตรงตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ตั้งไว้

ตั้งแต่ข้อ 66 – 75. จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามในเนื้อหาของเทคนิคในการประเมินผลนโยบาย
(1) Format Evaluation
(2) Decision Theoretical Evaluation
(3) Policy Delphi
(4) Interrupted Time Series Analysis
(5) Regression-Discontinuity Analysis.

66. เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้ประเมินผลนโยบายสามารถพิจารณาผลของนโยบายได้อย่างเป็นระบบ โดยสามารถ แยกแยะผลของนโยบายที่เกิดขึ้นจริงได้จากผลที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุอื่น
ตอบ 4 หน้า 264 – 265 การวิเคราะห์อนุกรมเวลาแบบขาดตอน (Interrupted Time Series Analysis) เป็นวิธีการที่ช่วยให้เห็นการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังการนํานโยบาย ไปปฏิบัติในรูปของตารางและ/หรือค่าทางสถิติ และกราฟแบบต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะสําหรับการประเมินผลนโยบายที่มีกลุ่มเป้าหมายหลักเพียงกลุ่มเดียวหรือมีขอบเขตการ ดําเนินงานที่แน่นอนเพียงแห่งเดียว จุดเด่นของวิธีการนี้ คือ ช่วยให้ผู้ประเมินผลนโยบาย สามารถพิจารณาผลของนโยบายได้อย่างเป็นระบบ โดยสามารถแยกแยะผลของนโยบายที่เกิดขึ้นจริงได้จากผลที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุอื่น

67. เป็นเทคนิคที่มีหลักการ 5 ประการ คือ Selective Anonymity, Informed Multiple Advocacy, Polarized Statistical Resporse, Structured Conflict, Computer Conferencing
ตอบ 3 หน้า 260 – 261 วิธีเดลฟีเชิงนโยบาย (Policy Delphi) มีหลักการสําคัญ 5 ประการ คือ
1. ความเป็นนิรนามเฉพาะระยะแรก (Selective Anonymity)
2. ผู้เชี่ยวชาญต่างสํานัก (Informed Multiple Advocacy)
3. การวิเคราะห์ทางสถิติแบบแยกกลุ่ม (Polarized Statistical Response)
4. การจัดโครงสร้างความขัดแย้ง (Structured Conflict)
5. การประชุมโดยคอมพิวเตอร์ (Computer Conferencing)

68. เป็นเทคนิคที่เหมาะสําหรับการประเมินผลนโยบายที่มีกลุ่มเป้าหมายหลักเพียงกลุ่มเดียวหรือมีขอบเขตการดําเนินงานที่แน่นอนเพียงแห่งเดียว
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 66. ประกอบ

69. เป็นเทคนิคที่ประกอบไปด้วย การประเมินความสามารถที่จะประเมินได้ และการวิเคราะห์อรรถประโยชน์ แบบพหุลักษณ์
ตอบ 2 หน้า 254 – 255 การประเมินผลแบบพิจารณาความเหมาะสม (Decision Theoretical Evaluation) เป็นเทคนิคการประเมินผลที่มุ่งสร้างข่าวสารที่ถูกต้องและเชื่อถือได้เกี่ยวกับผลของนโยบายโดยใช้คุณค่าหรือผลประโยชน์ที่ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ได้รับเป็นเกณฑ์ประเมิน ซึ่งรูปแบบของการประเมินผลแบบนี้มี 2 รูปแบบด้วยกัน คือ การประเมินความสามารถที่จะ ประเมินได้ และการวิเคราะห์อรรถประโยชน์แบบพหุลักษณ์

70. เป็นเทคนิคที่เหมาะสําหรับการประเมินผลตามแนวการทดลองทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทดลอง ที่มีการกําหนดกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มควบคุมเอาไว้เรียบร้อยแล้ว
ตอบ 5 หน้า 265 การวิเคราะห์เชิงถดถอยแบบไม่ต่อเนื่อง (Regression-Discontinuity Analysis) เป็นเทคนิคที่ช่วยในการประเมินผลแบบเทียม โดยช่วยให้ผู้ประเมินผลสามารถคํานวณและเปรียบเทียบผลโดยประมาณของนโยบายที่เกิดขึ้นในกลุ่มเป้าหมายที่กําหนดไว้และกลุ่มเปรียบเทียบที่นํามาพิจารณา เทคนิคนี้เหมาะสําหรับการประเมินผลตามแนวการทดลอง ทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทดลองที่มีการกําหนดกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มควบคุมเอาไว้ เรียบร้อยแล้ว

71. เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ข้อมูล เหตุผล และข้อสรุปที่ละเอียดครอบคลุมความเห็นของทุกกลุ่มทุกฝ่าย ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในนโยบาย เป็นประโยชน์ต่อผู้กําหนดนโยบายในการตัดสินใจว่าอะไรแน่ ที่เป็นผลของนโยบายนั้น ๆ
ตอบ 3 หน้า 264 ประโยชน์ของวิธีเดลฟีเชิงนโยบาย (Policy Delphi) คือ สามารถให้ข้อมูล เหตุผล และข้อสรุปที่ละเอียดครอบคลุมความเห็นของทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ในนโยบาย การประเมินจึงครอบคลุมกว้างขวางรวมทุกประเด็นไว้หมด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ อย่างมากต่อผู้กําหนดนโยบายในการตัดสินใจว่าอะไรแน่ที่เป็นผลของนโยบายนั้น ๆ

72. เป็นเทคนิคที่ช่วยในการประเมินผลแบบเทียม โดยช่วยให้ผู้ประเมินผลสามารถคํานวณและเปรียบเทียบผลโดยประมาณของนโยบายที่เกิดขึ้นในกลุ่มเป้าหมายที่กําหนดไว้และกลุ่มเปรียบเทียบที่นํามาพิจารณา
ตอบ 5 ดูคําอธิบายข้อ 70. ประกอบ

73. เป็นเทคนิคที่นําเอาข้อคิดและความเห็นของผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สูงในเนื้อหาและเรื่องราว ของนโยบายที่กําลังประเมินมาประมวลและเปรียบเทียบกันเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับผลของนโยบาย
ตอบ 3 หน้า 259 วิธีเดลฟีเชิงนโยบาย (Policy Delphi) เป็นวิธีการที่นําเอาข้อคิดและความเห็น ของผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สูงในเนื้อหาและเรื่องราวของนโยบายที่กําลังประเมิน มาประมวลและเปรียบเทียบกันเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับผลของนโยบาย

74. เป็นเทคนิคที่เน้นประเมินผลนโยบายจากวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายที่กําหนดไว้อย่างเป็นทางการ โดยเชื่อว่าวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กําหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยผู้กําหนดนโยบายเป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมแล้ว
ตอบ 1 หน้า 251 – 252 การประเมินผลแบบเป็นทางการ (Format Evaluation) เป็นเทคนิคที่ใช้วิธีการที่เป็นวิทยาศาสตร์ในการสร้างข่าวสารที่ถูกต้องและเชื่อถือได้เกี่ยวกับผลของนโยบาย โดยประเมินผลของนโยบายจากวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายที่กําหนดไว้ อย่างเป็นทางการ เพราะเชื่อว่าวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กําหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยผู้กําาหนดนโยบายเป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมแล้ว

75. เป็นเทคนิคที่ช่วยให้เห็นการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังการนํานโยบายไปปฏิบัติในรูปของ ตารางและ/หรือค่าทางสถิติ และกราฟแบบต่าง ๆ
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 66. ประกอบ

ตั้งแต่ข้อ 76 – 85. จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องตามเนื้อหาของหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

76. รัฐจึงวางแผนการใช้ที่ดินของประเทศให้เหมาะสมกับสภาพของพื้นที่และศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 68
(2) มาตรา 70
(3) มาตรา 72
(4) มาตรา 74
(5) มาตรา 76
ตอบ 3 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 72 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐจึงวางแผนการใช้ที่ดิน ของประเทศให้เหมาะสมกับสภาพของพื้นที่และศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน
2. จัดให้มีการวางผังเมืองทุกระดับและบังคับการให้เป็นไปตามผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ
3. จัดให้มีมาตรการกระจายการถือครองที่ดินเพื่อให้ประชาชนสามารถมีที่ทํากินได้อย่างทั่วถึง และเป็นธรรม ฯลฯ

77. รัฐพึงจัดให้มีมาตรการหรือกลไกที่ช่วยให้เกษตรกรประกอบเกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตที่มี ปริมาณและคุณภาพสูง มีความปลอดภัย โดยใช้ต้นทุนต่ำและสามารถแข่งขันในตลาดได้ ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 64
(2) มาตรา 73
(3) มาตรา 74
(4) มาตรา 76
(5) มาตรา 77
ตอบ 2 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 73 บัญญัติให้ รัฐจึงจัดให้มีมาตรการหรือ กลไกที่ช่วยให้เกษตรกรประกอบเกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตที่มีปริมาณและ คุณภาพสูง มีความปลอดภัย โดยใช้ต้นทุนต่ําและสามารถแข่งขันในตลาดได้ และพึงช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ยากไร้ให้มีที่ทํากินโดยการปฏิรูปที่ดินหรือวิธีอื่นใด

78. รัฐจึงส่งเสริม สนับสนุน คุ้มครอง และสร้างเสถียรภาพให้แก่ระบบสหกรณ์ประเภทต่าง ๆ และวิสาหกิจ ขนาดย่อมและขนาดกลางของประชาชนและชุมชน ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 73
(2) มาตรา 74
(3) มาตรา 75
(4) มาตรา 77
(5) มาตรา 78
ตอบ 3 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 75 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐพึงจัดระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนมีโอกาสได้รับประโยชน์จากความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจไปพร้อมกันอย่างทั่วถึง เป็นธรรม และยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ในการพัฒนาประเทศ รัฐจึงคํานึงถึงความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนา ด้านจิตใจ และความอยู่เย็นเป็นสุขของประชาชนประกอบกัน
3. รัฐจึงส่งเสริม สนับสนุน คุ้มครอง และสร้างเสถียรภาพให้แก่ระบบสหกรณ์ประเภทต่าง ๆ และวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลางของประชาชนและชุมชน ฯลฯ

79. รัฐจึงดําเนินการให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐให้เป็นไปตามระบบ
คุณธรรม ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 74
(2) มาตรา 75
(3) มาตรา 76
(4) มาตรา 77
(5) มาตรา 78
ตอบ 3 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 76 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐจึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐอย่างอื่นให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
2. รัฐจึงพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติเป็นผู้ให้บริการประชาชน ให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ไม่เลือกปฏิบัติ และปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
3. รัฐจึงดําเนินการให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐให้เป็นไป
ตามระบบคุณธรรม
4. รัฐพึงจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักในการกําหนด ประมวลจริยธรรมสําหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น ๆ

80. รัฐจึงส่งเสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศโดยถือหลักความเสมอภาคในการปฏิบัติต่อกัน และไม่แทรกแซง กิจการภายในของกันและกัน ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 64
(2) มาตรา 66
(3) มาตรา 75
(4) มาตรา 76
(5) มาตรา 77
ตอบ 2 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 66 บัญญัติให้ รัฐจึงส่งเสริมสัมพันธไมตรีกับ นานาประเทศโดยถือหลักความเสมอภาคในการปฏิบัติต่อกัน และไม่แทรกแซงกิจการภายใน ของกันและกัน ให้ความร่วมมือกับองค์การระหว่างประเทศ และคุ้มครองผลประโยชน์ของชาติและของคนไทยในต่างประเทศ

81. รัฐจึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 68
(2) มาตรา 71
(3) มาตรา 73
(4) มาตรา 75
(5) มาตรา 77
ตอบ 1 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 68 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยสะดวก รวดเร็ว และไม่เสียค่าใช้จ่ายสูงเกินสมควร
2. รัฐจึงมีมาตรการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรม ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ โดยเคร่งครัด ปราศจากการแทรกแซงหรือครอบงําใด ๆ
3. รัฐจึงให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายที่จําเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาส ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม รวมตลอดถึงการจัดหาทนายความให้

82. รัฐจึงอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 66
(2) มาตรา 67
(3) มาตรา 68
(4) มาตรา 77
(5) มาตรา 78
ตอบ 2 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 67 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐจึงอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น
2. รัฐจึงส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท
เพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา
3. รัฐต้องมีมาตรการและกลไกในการป้องกันมิให้มีการบ่อนทําลายพระพุทธศาสนาไม่ว่ารูปแบบใด และพึ่งส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนมีส่วนร่วมในการดําเนินมาตรการหรือกลไกดังกล่าวด้วย

83. รัฐจึงเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวอันเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สําคัญของสังคม ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 64
(2) มาตรา 65
(3) มาตรา 68
(4) มาตรา 70
(5) มาตรา 71
ตอบ 5 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 71 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐจึงเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวอันเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สําคัญของสังคม
2. รัฐจึงส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นพลเมืองที่ดี มีคุณภาพและความสามารถสูงขึ้น
3. รัฐจึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาส ให้สามารถดํารงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ
4. ในการจัดสรรงบประมาณ รัฐจึงคํานึงถึงความจําเป็นและความต้องการที่แตกต่างกันของ เพศ วัย และสภาพของบุคคล

84. รัฐจึงพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติเป็นผู้ให้บริการประชาชนให้เกิด ความสะดวก รวดเร็ว ไม่เลือกปฏิบัติ และปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 72
(2) มาตรา 74
(3) มาตรา 75
(4) มาตรา 76
(5) มาตรา 78
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 79. ประกอบ

85. รัฐพึงจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักในการกําหนดประมวลจริยธรรม สําหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น ๆ ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 74
(2) มาตรา 75
(3) มาตรา 76
(4) มาตรา 77
(5) มาตรา 78
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 79. ประกอบ

ตั้งแต่ข้อ 86. – 90. จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามตามเนื้อหาของการประเมินผลนโยบาย
(1) Emil J. Posavac & Raymond G. Carey
(2) James E. Anderson
(3) Charles O. Jones
(4) William N. Dunn
(5) ศุภชัย ยาวะประภาษ

86. ใครกล่าวว่า การประเมินผลเกี่ยวข้องกับกระบวนการวัดคุณค่าของผลการดําเนินการตามนโยบายเพื่อที่จะนํามาเปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้
ตอบ 5 หน้า 230 ศุภชัย ยาวะประภาษ กล่าวว่า การประเมินผลเกี่ยวข้องกับกระบวนการวัดคุณค่า ของผลการดําเนินการตามนโยบายเพื่อที่จะนํามาเปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ ซึ่งการประเมินผลนี้ไม่ได้แยกเป็นเอกเทศจากขั้นตอนนโยบายอื่น แต่เกี่ยวข้องกันตลอดเวลา

87. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นขั้นตอนหนึ่งของการวิเคราะห์นโยบาย โดยเป็นขั้นตอน ที่มุ่งผลิตข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับผลของการดําเนินงานตามนโยบายว่าสามารถสนองความต้องการของสังคม สนองคุณค่าของสังคม และแก้ไขปัญหาที่เป็นเป้าหมายของนโยบายได้หรือไม่
ตอบ 4 หน้า 229 วิลเลียม เอ็น. ดันน์ (William N. Dunn) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบาย เป็นขั้นตอนหนึ่งของการวิเคราะห์นโยบาย โดยเป็นขั้นตอนที่มุ่งผลิตข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับผลของการดําเนินงานตามนโยบายว่าสามารถสนองความต้องการของสังคม สนองคุณค่า ของสังคม และแก้ไขปัญหาที่เป็นเป้าหมายของนโยบายได้หรือไม่

88. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นการกระทําที่มีระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบถึงผลของนโยบาย โดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กําหนดไว้กับผลกระทบของการดําเนินการตามนโยบายที่มีต่อปัญหาของ
สังคมที่เป็นเป้าหมายที่นโยบายนั้นมุ่งแก้ไข
ตอบ 3 หน้า 229 ชาร์ลส์ อ. โจนส์ (Charles O. Jones) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบาย เป็นการกระทําที่มีระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบถึงผลของนโยบายโดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กําหนดไว้กับผลกระทบของการดําเนินการตามนโยบายที่มีต่อปัญหาของสังคมที่เป็นเป้าหมายที่นโยบายนั้นมุ่งแก้ไข

89. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประมาณการ การเปรียบเทียบผลของ
การนํานโยบายไปปฏิบัติกับสิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่กระทําอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
ในทุกขั้นตอนนโยบาย
ตอบ 2 หน้า 229 เจมส์ อี. แอนเดอร์สัน (James E. Anderson) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบาย เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประมาณการ การเปรียบเทียบผลของการนํานโยบายไปปฏิบัติ กับสิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่กระทําอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาในทุกขั้นตอนของนโยบาย

90. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นการใช้วิธีและทักษะหลาย ๆ ด้านเพื่อที่จะตกลงใจว่านโยบาย ที่กําหนดไว้นั้นจําเป็นหรือไม่ ควรจะใช้หรือไม่ ดําเนินการไปตามที่วางไว้หรือไม่ ช่วยแก้ไขปัญหาตามที่มุ่งหวังไว้หรือไม่
ตอบ 1 หน้า 228 อีมิล เจ. โพซาวัค และเรย์มอนด์ จี. แครี (Emil J. Posavac & Raymond G. Carey) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นการใช้วิธีการหลายวิธีและทักษะหลาย ๆ ด้านเพื่อที่จะ ตกลงใจว่านโยบายที่กําหนดไว้นั้นจําเป็นหรือไม่ ควรจะใช้หรือไม่ ดําเนินการไปตามที่วางไว้ หรือไม่ ช่วยแก้ไขปัญหาตามที่มุ่งหวังไว้หรือไม่

ตั้งแต่ข้อ 91 – 95. จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามตามเนื้อหาของวิธีการประเมินผลนโยบาย
(1) การวิจัยเชิงประเมินในรูปแบบทดลอง
(2) การวิจัยเชิงประเมินในรูปแบบกึ่งทดลอง
(3) การวิจัยเชิงประเมินแบบเตรียมทดลอง
(4) ข้อ 1 และ 2 ถูก
(5) ผิดทุกข้อ

91. ไม่สามารถจะไปประเมินกระบวนการทั้งหมดของนโยบายได้ จะนําไปใช้ได้เฉพาะในเรื่องของ Input และ
Product เท่านั้น
ตอบ 1 หน้า 234 – 235 การวิจัยเชิงประเมินในรูปแบบทดลอง หรือการประเมินผลด้วยวิธีการทดลอง (Experimental Design) มีข้อจํากัดดังนี้
1. วิธีการที่ใช้ในการแบ่งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมักมีปัญหาในทางปฏิบัติ เช่น การมีผลประโยชน์ในการเลือกกลุ่มเข้ามาเกี่ยวข้อง หรือการมีลักษณะความเคร่งครัด ในการเลือกกลุ่มในทางปฏิบัติจะมีน้อย
2. วิธีการทดลองไม่สามารถจะไปประเมินกระบวนการทั้งหมดของนโยบายได้ จะนําไปใช้ได้ เฉพาะในเรื่องของ Input และ Product เท่านั้น
3. วิธีการทดลองไม่สามารถควบคุมความเที่ยงตรงภายนอกได้ จึงทําให้ผลที่ได้มาจาก การทดลองอาจจะไม่เหมือนกับผลที่ได้มาจากการดําเนินการจริง ฯลฯ

92. การมีผลประโยชน์ในการเลือกกลุ่มเข้ามาเกี่ยวข้อง หรือการมีลักษณะความเคร่งครัดในการเลือกกลุ่มในทางปฏิบัติจะมีน้อย
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 91. ประกอบ

93. มีวิธีการที่สําคัญวิธีหนึ่งคือ การจับคู่ (Matching) การแสวงหาคู่ในระดับบุคคล พื้นที่ หรือหน่วยการทดลอง ที่เกี่ยวข้องที่มีความคล้ายคลึงกันตั้งแต่หนึ่งคุณลักษณะที่ศึกษา
ตอบ 2 หน้า 235 – 236 การวิจัยเชิงประเมินในรูปแบบกึ่งทดลอง หรือการประเมินผลด้วยวิธี กึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) มีลักษณะสําคัญดังนี้
1. ในกรณีที่เงื่อนไขไม่เอื้ออํานวยที่จะใช้การประเมินผลด้วยวิธีการทดลอง วิธีการนี้จะทําให้ได้เปรียบในการนําไปปฏิบัติ โดยผู้ใช้จะต้องยอมรับเบื้องต้นก่อนว่าวิธีการที่จะนําไปใช้มีความสนใจที่ปัจจัยใดบ้างและปล่อยให้ปัจจัยใดบ้างปราศจากการควบคุม
2. มีวิธีการที่สําคัญวิธีหนึ่งคือ การจับคู่ (Matching) ได้แก่ การแสวงหาคู่ในระดับบุคคล พื้นที่ หรือหน่วยการทดลองที่เกี่ยวข้องที่มีความคล้ายคลึงกันตั้งแต่หนึ่งคุณลักษณะที่ศึกษา
3.วิธีการนี้มีความมุ่งหมายที่จะทําให้การตีความต่าง ๆ ถูกต้อง เพื่อที่จะแสดงให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นผลมาจากโครงการ ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คําอธิบายในผลลัพธ์ ที่ถูกต้องจะแสดงให้เห็นถึงการไม่มีการเปลี่ยนแปลง นอกเหนือไปจากการแสดงให้เห็น ความล้มเหลวของโครงการ ฯลฯ

94. มีความมุ่งหมายที่จะทําให้การตีความต่าง ๆ ถูกต้อง เพื่อที่จะแสดงให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เป็นผลมาจากโครงการ มีบ่อยครั้งที่คําอธิบายในผลลัพธ์ที่ถูกต้องจะแสดงให้เห็นถึงการไม่มีการเปลี่ยนแปลงนอกเหนือไปจากการแสดงให้เห็นความล้มเหลวของโครงการ
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 93. ประกอบ

95. แบบศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากที่ได้นําโครงการเข้ามาใช้โดยมีกลุ่มควบคุมที่ได้มาโดยมิได้มีการ สุ่มตัวอย่าง ข้อดี ทําให้ผู้ประเมินได้รับรายละเอียดและมโนภาพมากมาย ทําให้เกิดการตื่นตัวและรับรู้ เรื่องราวต่าง ๆ มากขึ้น
ตอบ 3 หน้า 236 – 237 การวิจัยเชิงประเมินแบบเตรียมทดลอง หรือการประเมินผลด้วยวิธีเตรียมทดลอง (Pre-Experimental Design) แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ แบบศึกษาก่อนและ หลังจากที่ได้นําโครงการหนึ่ง ๆ เข้ามาใช้ แบบศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากที่ได้นําโครงการ

เข้ามาใช้แล้วเพียงอย่างเดียว และแบบศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากที่ได้นําโครงการเข้ามาใช้ โดยมีกลุ่มควบคุมที่ได้มาโดยมิได้มีการสุ่มตัวอย่าง ซึ่งข้อดีของการประเมินผลด้วยวิธีการนี้ คือ
1. ทําให้ผู้ประเมินได้รับรายละเอียดและมโนภาพมากมาย
2. ทําให้เกิดการตื่นตัวและรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ มากขึ้น
3. ทําให้ผู้ประเมินได้รับข้อมูลข่าวสารด้วยความระมัดระวังและเป็นระบบ

ตั้งแต่ข้อ 96. – 100.
จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามตามข้อมูลยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี Thailand 4.0 และเอกสารอื่น ๆ
(1) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(2) Thailand 4.0
(3) คําแถลงนโยบายรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา
(4) ทิศทางกระแสต่างประเทศ
(5) ไม่ตรงกับข้อใดเลย

96. มุ่งเน้นเศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยืน
ตอบ 5 (คําบรรยาย) แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 เป็นแผนที่มีเป้าหมายหลักเพื่อพลิกโฉมประเทศไทย ไปสู่ “เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยืน” หรือ “Hi-Value and Sustainable Thailand” โดยมุ่งเน้นการพัฒนาดังนี้
1. มุ่งเน้นจากเศรษฐกิจฐานทรัพยากรสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรมและองค์ความรู้
2. มุ่งเน้นจากการผลิตและบริโภคที่ทําลายสิ่งแวดล้อมสู่วิถีชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปลอดภัย
3. มุ่งเน้นจากโอกาสที่กระจุกตัวสู่โอกาสสําหรับทุกกลุ่มคนและทุกพื้นที่
4. มุ่งเน้นจากกําลังคนทักษะต่ําและภาครัฐล้าสมัยสู่กําลังคนและภาครัฐสมรรถนะสูง

97. มุ่งเน้นจากเศรษฐกิจฐานทรัพยากรสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรมและองค์ความรู้
ตอบ 5 ดูคําอธิบายข้อ 96. ประกอบ

98. มุ่งเน้นจากการผลิตและบริโภคที่ทําลายสิ่งแวดล้อมสู่วิถีชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปลอดภัย
ตอบ 5 ดูคําอธิบายข้อ 96. ประกอบ

99. มุ่งเน้นจากโอกาสที่กระจุกตัว โอกาส าหรับทุกกลุ่มคนและทุกพื้นที่
ตอบ 5 ดูคําอธิบายข้อ 96. ประกอบ

100. มุ่งเน้นจากกําลังคนทักษะต่ําาและภาครัฐล้าสมัยสู่กําลังคนและภาครัฐสมรรถนะสูง
ตอบ 5 ดูคําอธิบายข้อ 96. ประกอบ

 

POL3301 นโยบายสาธารณะ 1/2565

การสอบไล่ภาค 1 ปีการศึกษา 2565
ข้อสอบกระบวนวิชา POL 3301 นโยบายสาธารณะ
คําสั่ง ให้นักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว
ตั้งแต่ข้อ 1. – 5. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้

(1) Thomas R. Dye
(2) Stuart S. Nagel
(3) David Easton
(4) Carl J. Friedrich
(5) Theodore Lowi

1.ใครกล่าวว่า นโยบายสาธารณะ คือ สิ่งที่รัฐเลือกที่จะทําหรือไม่ทํา
ตอบ 1 หน้า 3 โทมัส อาร์. ดาย (Thomas R. Dye) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง สิ่งใด
ก็ตามที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทําหรือไม่กระทํา

2.ใครกล่าวว่านโยบายสาธารณะเกี่ยวข้องกับการจัดสรรและแจกแจงคุณค่าของสังคมโดยชอบด้วยกฎหมาย
ตอบ 3 หน้า 3 เดวิด อีสตัน (David Easton) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง การจัดสรรและ แจกแจงคุณค่า (Values) ต่าง ๆ ของสังคมโดยชอบด้วยกฎหมายและเป็นไปเพื่อประโยชน์ของสังคมส่วนรวม

3. ใครเสนอว่า อุปสรรคจะเป็นแรงผลักดันให้มีการเสนอนโยบายเพื่อไปใช้ประโยชน์
ตอบ 4 หน้า 3 คาร์ล เจ. หรีดริช (Carl J. Friedrich) กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง ข้อเสนอ สําหรับแนวทางการดําเนินงานของบุคคล กลุ่มบุคคล หรือรัฐบาล ภายในสภาพแวดล้อมแบบหนึ่ง ซึ่งอาจมีทั้งอุปสรรคและโอกาสบางประการ โดยอุปสรรคและโอกาสนี้จะเป็นแรงผลักดันให้มี การเสนอนโยบายขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ และเอาชนะสภาพการณ์ต่าง ๆ ทั้งนี้ก็เพื่อนําไปสู่ เป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งนั่นเอง

4. ใครเกี่ยวข้องกับการจําแนกประเภทของนโยบายสาธารณะ
ตอบ 5 หน้า 5 – 6, (คําบรรยาย) ธีโอดอร์ โลวาย (Theodore Lowi) ได้เสนอให้จําแนกประเภท ของนโยบายตามเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์ของนโยบายนั้น ๆ ออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. นโยบายที่เป็นกฎเกณฑ์หรือข้อบังคับ (Regulative Policy)
2. นโยบายการกระจายบริการของรัฐ (Distributive Policy)
3. นโยบายเพื่อการจัดสรรทรัพยากรให้เหมาะสมหรือการจัดสรรทรัพยากรเสียใหม่ (Re-Distributive Policy)

5.ใครสนใจในการวิเคราะห์นโยบาย
ตอบ 1, 2 หน้า 72, (คําบรรยาย) นักวิชาการที่สนใจศึกษาการวิเคราะห์นโยบาย (Policy Analysis)
ได้แก่
1. เควด (E..S. Ouade)
2. วิลเลียม เอ็น. ดันน์ (William N. Dunn)
3. สจ๊วตท์ เอส. นาเกล (Stuart S. Nagel)
4. โทมัส อาร์. ดาย (Thomas R. Dye) ฯลฯ

6.Stuart S. Nagel สนใจการศึกษานโยบายเรื่องใด
(1) Policy Analysis
(2) Policy Process
(3) Policy Impacts
(4) Policy Implementation
(5) Policy Evaluation
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 5. ประกอบ

7. ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) Harold Lasswett กล่าวว่า นโยบายเกี่ยวข้องกับแผนหรือโครงการที่กําหนดขึ้น
(2) Thomas R. Dye นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจว่าจะทําหรือไม่ทํา
(3) Theodore Lowi เป็นบิดาแห่งนโยบายศาสตร์
(4) David Easton เกี่ยวข้องกับการจัดสรรและแจกแจงคุณค่าต่าง ๆ
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3 หน้า 3, 58 – 59 ฮาโรลด์ ลาสเวลล์ (Harold Lasswell) ซึ่งเป็นผู้ที่อยู่ในกลุ่มที่เน้น การสร้างภาพรวมและได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งนโยบายศาสตร์” ได้ให้ความหมาย นโยบายสาธารณะร่วมกับอับราแฮม แคปแพลน (Abraham Kaplan) ว่า “นโยบายสาธารณะ หมายถึง แผนหรือโครงการที่กําหนดขึ้น อันประกอบด้วยเป้าหมาย คุณค่า และแนวการ ปฏิบัติงานต่าง ๆ” (ดูคําอธิบายข้อ 1. และ 2. ประกอบ)

8. ข้อใดไม่ใช่กระบวนการที่ Stuar: S. Nagel เสนอ
(1) การกําหนดเป้าหมายเพื่อบรรลุผล
(2) การกําหนดแผนงาน
(3) การกําหนดคน สถานที่ อุปกรณ์
(4) การวิเคราะห์ผลตอบแทนสูงสุด
(5) การกําหนดความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายกับนโยบาย
ตอบ 2 หน้า 239 – 240 สจ๊วตท์ เอส. นาเกล (Stuart S. Nagel) ได้เสนอแนวคิดในการวิเคราะห์ ข้อมูลแบบง่ายสําหรับการวิเคราะห์หรือการประเมินนโยบาย ซึ่งมีหลักการหรือกระบวนการ
ที่สําคัญ 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. กําหนดเป้าหมายเพื่อการบรรลุผล หรือการให้ผลประโยชน์ตอบแทนสูงสุด
2. กําหนดเป้าหมายสัมพันธ์
3. กําหนดคน สถานที่ หรือวัสดุอุปกรณ์ ให้สอดคล้องกับนโยบายนั้น ๆ
4. กําหนดความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายกับนโยบาย 5. ปรับความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายกับนโยบาย

9.การที่หน่วยงานนํานโยบายมาแปลงเป็นแผนงานและโครงการเป็นขั้นตอนใด
(1) การก่อตัวของนโยบาย
(2) การนํานโยบายไปปฏิบัติ
(3) การเตรียมและเสนอนโยบาย
(4) การอนุมัติและประกาศนโยบาย
(5) การปรับปรุงแก้ไขนโยบาย
ตอบ 2 หน้า 50 – 51, (คําบรรยาย) การนํานโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) เป็นขั้นตอนที่แสดงให้เห็นถึงการนําทรัพยากรต่าง ๆ ไปจัดสรรเพื่อก่อให้เกิดผลตามนโยบายซึ่งประกอบด้วย
1. การส่งต่อนโยบาย (Policy Delivery)
2. การตีความหรือแปลงนโยบายออกมาเป็นแผนงานและโครงการ
3. การชี้แจงเกี่ยวกับนโยบาย
4. การดําเนินงานของหน่วยงานระดับปฏิบัติ (Street-Level Bureaucracy)
5. การจัดระบบสนับสนุน ได้แก่ ข้อมูลข่าวสาร การมอบหมายอํานาจหน้าที่ และการติดต่อสื่อสาร
6. การติดตามและควบคุมผลการปฏิบัติงาน

10. การเปลี่ยนจุดเน้นจากผลผลิตนโยบายมาสู่การศึกษากระบวนการนโยบายอยู่ในยุคใด
(1) ยุคเริ่มต้น
(2) ยุคพัฒนาให้เป็นศาสตร์
(3) ยุคการนําไปปฏิบัติให้บรรลุผล
(4) ยุคกึ่งกลางระหว่างเริ่มต้นและพัฒนา
(5) ในทุกยุค
ตอบ 3 หน้า 60 – 61 ยุคการนําไปปฏิบัติให้บรรลุผล เป็นยุคที่แนวคิดในการวิเคราะห์นโยบาย มีการเปลี่ยนจุดเน้นจากผลผลิตของนโยบาย (Policy Outputs) มาสู่การศึกษากระบวนการนโยบาย (Policy Process) และมีการเปลี่ยนวิธีการวิเคราะห์จากวิธีการเชิงปริมาณไปสู่วิธีการ ที่ผสมผสานระหว่างเชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพมากขึ้น

ตั้งแต่ข้อ 11. – 15. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
(1) ประสิทธิผล
(2) ประสิทธิภาพ
(3) ความเหมาะสม
(4) ความพอเพียง
(5) ความสามารถในการตอบสนอง

11. ความสามารถในการผลิตผลผลิตหรือให้บริการโดยมีต้นทุนต่อหน่วยต่ําสุด ถือว่าเป็นเกณฑ์ประเภทใด ตอบ 2 หน้า 99, (คําบรรยาย) ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง ความสามารถในการบรรลุ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายโดยใช้ต้นทุนต่ําสุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ความสามารถในการผลิตผลผลิตหรือให้บริการโดยมีต้นทุนต่อหน่วยต่ําสุด

12. ความสามารถของทางเลือกที่สอดคล้องกับค่านิยมพื้นฐานของกลุ่มต่าง ๆ ถือว่าเป็นเกณฑ์ประเภทใด ตอบ 5 หน้า 101 ความสามารถในการตอบสนอง (Responsiveness) หมายถึง ความสามารถ ของทางเลือกที่สอดคล้องกับความต้องการ ความชอบ และค่านิยมพื้นฐานของกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งทางเลือกที่มีความสามารถในการตอบสนองสูงก็คือ ทางเลือกที่สามารถทําให้กลุ่มที่มี ความจําเป็นสูงได้รับผลจากทางเลือกนั้นด้วย

13. ความสามารถในการดําเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายภายใต้เงื่อนไขของ
ทรัพยากรที่มีอยู่ ถือว่าเป็นเกณฑ์ประเภทใด
ตอบ 4 หน้า 100 ความพอเพียง (Adequacy) หมายถึง ความสามารถในการดําเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายภายใต้เงื่อนไขของทรัพยากรที่มีอยู่ โดยทั่วไปเงื่อนไข ของทรัพยากรมักจะวัดในรูปของงบประมาณที่มีอยู่

14. การนําเกณฑ์อื่น ๆ มาพิจารณาพร้อม ๆ กัน เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ประเภทใด
ตอบ 3 หน้า 101 ความเหมาะสม (Appropriateness) หมายถึง การพิจารณาคุณค่าและ ความเหมาะสมของเป้าหมายของทางเลือกที่กําหนดไว้ โดยการนําเกณฑ์อื่น ๆ หลายเกณฑ์ มาพิจารณาพร้อม ๆ กัน

15. ความสามารถในการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบาย ถือว่าเป็นเกณฑ์ประเภทใด
ตอบ 1 หน้า 98, (คําบรรยาย) ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ความสามารถในการบรรลุ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบาย หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ความสามารถในการผลิตผลผลิตหรือให้บริการได้ครบถ้วนตรงตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ตั้งไว้

16.Harold Lassweil เป็นบุคคลสําคัญที่เกิดขึ้นในยุคใด
(1) ยุคเริ่มต้น
(2) ยุคพัฒนาให้เป็นศาสตร์
(3) ยุคการนําไปปฏิบัติให้บรรลุผล
(4) ยุคกึ่งกลางระหว่างเริ่มต้นและพัฒนา
(5) ในทุกยุค
ตอบ 2 หน้า 58 – 59 ฮาโรลด์ ลาสเวลล์ (Harold Lasswell) เป็นนักวิชาการที่เกิดขึ้นในยุคพัฒนา ให้เป็นศาสตร์ เขาได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งนโยบายศาสตร์” เพราะเป็นผู้ที่ผสมผสาน แนวความคิดทางวิทยาศาสตร์ ปรัชญาและสังคมศาสตร์เข้าด้วยกัน เนื่องจากเชื่อว่าวิธีการนี้ จะสามารถสร้างสังคมศาสตร์แบบใหม่ขึ้นมาได้

17. การศึกษาปัญหาที่สําคัญจะเกิดขึ้นในขั้นตอนใด
(1) การก่อตัวของนโยบาย
(2) การนํานโยบายไปปฏิบัติ
(3) การเตรียมและเสนอนโยบาย
(4) การอนุมัติและประกาศนโยบาย
(5) การปรับปรุงแก้ไขนโยบาย
ตอบ 1หน้า 23 – 25 ขั้นตอนการก่อตัวของนโยบาย (Policy Formation) ประกอบด้วย
1. การศึกษาหรือพิจารณาปัญหาหรือความต้องการของประชาชน
2. การพิจารณาเวลาที่เกิดปัญหา
3. ปัญหาที่รัฐบาลสนใจ
4. การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา

18. การนําศาสตร์ในหลาย ๆ สาขามาใช้ในการวิเคราะห์นโยบาย เป็นแนวโน้มในเรื่องใด
(1) แนวโน้มเกี่ยวกับเป้าหมายและคุณค่า
(2) แนวโน้มเกี่ยวกับวิธีการ
(3) แนวโน้มเกี่ยวกับแนวทางการดําเนินนโยบาย
(4) แนวโน้มเกี่ยวกับรูปแบบ
(5) แนวโน้มเกี่ยวกับการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลตอบแทน
ตอบ 3 หน้า 74 แนวโน้มการวิเคราะห์นโยบายในอนาคต มี 3 แนวโน้มใหญ่ คือ
1. แนวโน้มเกี่ยวกับเป้าหมายและคุณค่า จะมุ่งเน้นการบรรลุเป้าหมายโดยหาทางเลือกที่ดีที่สุด ที่ทําให้ประชาชนพอใจ และสนองต่อคุณค่าต่าง ๆ ของสังคม โดยการเน้นให้ประชาชน กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น เพื่อให้นโยบายที่เกิดขึ้นสนองตอบต่อสังคมโดยส่วนรวมอย่างแท้จริง
2. แนวโน้มเกี่ยวกับแนวทางการดําเนินนโยบาย จะมุ่งเน้นการหาวิธีการที่ดีที่สุดที่เป็นไปได้ โดยการพิจารณามิติทางการเมืองและการบริหาร และมีการนําศาสตร์ในหลาย ๆ สาขาวิชา มาใช้ในการวิเคราะห์นโยบายในลักษณะสหวิทยาการ
3. แนวโน้มเกี่ยวกับวิธีการ จะมุ่งเน้นการวิเคราะห์เชิงธุรกิจที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายและผลตอบแทน (Cost-Benefit) รวมทั้งการคํานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่จะเกิดขึ้นด้วย

19. การจัดทําร่างนโยบายอยู่ในขั้นตอนใด
(1) การก่อตัวของนโยบาย
(2) การนํานโยบายไปปฏิบัติ
(3) การเตรียมและเสนอนโยบาย
(4) การอนุมัติและประกาศนโยบาย
(5) การปรับปรุงแก้ไขนโยบาย
ตอบ 3หน้า 25 – 26, (คําบรรยาย) ขั้นตอนการเตรียมและเสนอนโยบาย (Policy Formulation) เป็นขั้นตอนที่ต้องมีการศึกษาค้นคว้าเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายเรื่องนั้น ๆ เพื่อช่วยประกอบการตัดสินใจของผู้กําหนดนโยบาย ซึ่งประกอบด้วย
1. การกําหนดวัตถุประสงค์
2. การกําหนดทางเลือก
3. การจัดทําร่างนโยบาย ซึ่งประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ แนวทางและ มาตรการ การจัดลําดับทางเลือก และการหาข้อมูลประกอบการพิจารณา

20. ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) การนํานโยบายไปปฏิบัติที่มีประสิทธิผลต้องการความสามารถทางการบริหารสูง
(2) การนํานโยบายไปปฏิบัติจะง่ายในประเทศที่มีขนาดใหญ่
(3) การนํานโยบายไปปฏิบัติจะเหมาะกับประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
(4) การนํานโยบายไปปฏิบัติจะง่ายขึ้นในประเทศที่ปกครองแบบรวมศูนย์อํานาจ
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 2 หน้า 61 – 62 การนํานโยบายไปปฏิบัติในประเทศต่าง ๆ อาจจะให้ผลแตกต่างกัน ดังนี้
1. การนํานโยบายไปปฏิบัติที่มีประสิทธิผลต้องการความสามารถทางการบริหารสูงจะกลายเป็นข้อจํากัดที่สําคัญของประเทศในโลกที่ 3 และในยุโรปบางประเทศ
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติจะง่ายในประเทศที่มีขนาดกลางหรือขนาดเล็ก
3. การนํานโยบายไปปฏิบัติจะเหมาะสมกับประเทศที่ยึดถือการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
4. การนํานโยบายไปปฏิบัติจะง่ายในประเทศที่มีการปกครองแบบรวมศูนย์อํานาจ
5. การนํานโยบายไปปฏิบัติจะมีประสิทธิผลมากในประเทศที่รัฐบาลมีเสถียรภาพสูง

ตั้งแต่ข้อ 21. – 23. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
(1) ปัญหาที่มีโครงสร้างแน่นอน
(2) ปัญหาที่มีโครงสร้างปานกลาง
(3) ปัญหาที่มีโครงสร้างไม่ชัดเจน
(4) ปัญหาที่ไม่มีตัวตนแท้จริง
(5) ปัญหาที่เชื่อถือไม่ได้

21. เมื่อผู้กําหนดนโยบายเปลี่ยน ทําให้การมองปัญหาเปลี่ยน เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
ตอบ 4 หน้า 91 ปัญหาที่ไม่มีตัวตนแท้จริง (Artificiality Problem) คือ ปัญหาของนโยบาย จะขึ้นอยู่กับการรับรู้และการนิยามของแต่ละกลุ่มบุคคล และจะเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา ตามอัตวิสัยของผู้กําหนดนโยบาย ไม่มีตัวตนที่แท้จริงหรือไม่ได้มีปัญหานั้นอยู่จริง ดังนั้น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผู้กําหนดนโยบาย ปัญหานโยบายก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย

22. ปัญหาในการพัฒนาชนบท เป็นปัญหาประเภทใด
ตอบ 3 หน้า 92 ปัญหาที่มีโครงสร้างไม่ชัดเจน (Ill-Structured Problem) ถือเป็นปัญหาที่ยุ่งยาก และสลับซับซ้อนที่สุด เนื่องจากมีผู้เกี่ยวข้องในการกําหนดประเด็นปัญหาจํานวนมาก ทางออก ในการแก้ปัญหามีหลายวิธีจนไม่จํากัด อรรถประโยชน์ไม่เป็นที่ยอมรับทั่วกัน นอกจากนี้ผลลัพธ์ ก็ไม่มีทางทราบได้ และการคํานวณหาความน่าจะเป็นของผลลัพธ์ก็ทําไม่ได้ด้วย เช่น ปัญหา ในการพัฒนาชนบท เป็นต้น

23. ปัญหาในการจัดซื้อยานพาหนะของหน่วยงาน เป็นปัญหาประเภทใด
ตอบ 1 หน้า 91, (คําบรรยาย) ปัญหาที่มีโครงสร้างแน่นอน (Well-Structured Problem) เป็นปัญหาที่มีผู้เกี่ยวข้องในการกําหนดประเด็นปัญหาจํานวนน้อย ทางออกในการแก้ปัญหา ค่อนข้างชัดเจนและมีเพียง 1 – 3 ทางเท่านั้น นอกจากนี้อรรถประโยชน์ก็เป็นที่ยอมรับกัน ของสาธารณชน และผลที่จะได้รับก็ค่อนข้างแน่นอนด้วย เช่น ปัญหาการจัดซื้อยานพาหนะ ปัญหาการจัดซื้อเครื่องบินรุ่นใหม่ ปัญหาการจัดซื้อเรือตาน้ําของกองทัพเรือ ปัญหาการสร้าง ตึกทําการใหม่ เป็นต้น

24.จากตําราในผลการวิจัยเรื่องการยกระดับราคาพืชผลทางการเกษตร พืชผลใดที่ไม่ได้ศึกษา
(1) ข้าว
(2) ลําไย
(3) กาแฟ
(4) มันสําปะหลัง
(5) ศึกษาทุกข้อที่กล่าวมา
ตอบ 5 หน้า 189, 195 การวิจัยเรื่องการยกระดับราคาพืชผลทางการเกษตร เป็นการวิจัยเพื่อหา แนวทางในการแก้ปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตร โดยพืชผลที่ทําการศึกษาวิจัย ได้แก่ ข้าว ลําไย ข้าวโพด มันสําปะหลัง และกาแฟ

25. ข้อใดไม่ใช่วิธีการศึกษานโยบายสาธารณะ
(1) ศึกษาในแง่ขอบเขตของนโยบาย
(2) ศึกษาในแง่กระบวนการของนโยบาย
(3) ศึกษาในแง่ผลผลิตของนโยบาย
(4) ศึกษาในแง่ตัวแบบหรือทฤษฎี
(5) เป็นวิธีการศึกษานโยบายทุกข้อ
ตอบ 3 หน้า 8 แนวทางหรือวิธีการศึกษานโยบายสาธารณะ แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ
1. การศึกษาในแง่ตัวแบบหรือทฤษฎี (Theory or Model of Study)
2. การศึกษาในแง่ขอบเขตของนโยบาย (Policy Area Study)
3. การศึกษาในแง่กระบวนการของนโยบาย (Policy Process Study)

ตั้งแต่ข้อ 26 – 30. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
(1) การวิเคราะห์อรรถประโยชน์แบบพหุลักษณ์
(2) การวิจัยสะสมทางสังคม
(3) เดลฟีเชิงนโยบาย
(4) การวิเคราะห์อนุกรมเวลาแบบขาดตอน
(5) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผล

26. วิธีการใดที่เน้นการรวบรวมข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผลการดําเนินนโยบายที่ผ่านมา
ตอบ 2 (คําบรรยาย) การวิจัยสะสมทางสังคม เป็นวิธีการที่เน้นการรวบรวมข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ
ผลการดําเนินนโยบายที่ผ่านมาแล้วนํามาเปรียบเทียบและประเมินเก็บสะสมไว้ประกอบ การประเมินผลนโยบายในครั้งต่อ ๆ ไป ซึ่งข้อมูลที่รวบรวมมานั้นมักเป็นข้อมูลที่มีบุคคลอื่น ได้จัดทําไว้แล้วในรูปของกรณีตัวอย่างและรายงานวิจัย

27. วิธีการใดที่พิจารณาสาเหตุของปัญหาว่ามีปัจจัยที่เกี่ยวข้องอะไรบ้างและปัจจัยเหล่านั้นก่อให้เกิดผลอย่างไร
ตอบ 5 หน้า 113, (คําบรรยาย) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผล (Cause-Effect Model) เป็นวิธีการที่พิจารณาสาเหตุของปัญหาว่ามีปัจจัยที่เกี่ยวข้องอะไรบ้าง และปัจจัยเหล่านั้นก่อให้เกิดผลอย่างไร นั่นคือ เป็นการวิเคราะห์ที่เน้นศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยสําคัญที่เป็นตัวกําหนด นโยบายและทําให้นโยบายเปลี่ยนแปลง พร้อมทั้งศึกษาว่าเมื่อมีนโยบายนั้น ๆ แล้วก่อให้เกิด ผลกระทบอะไรบ้าง เพื่อนําไปสู่การวัดประสิทธิผลของนโยบาย ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้นักวิเคราะห์ นโยบายคิดอย่าสมเหตุสมผล อธิบายถึงสาเหตุของปัญหา และตั้งสมมุติฐานอย่างเป็นระบบ

28. วิธีการใดที่พิจารณาความรู้สึกและทัศนะที่เป็นอัตวิสัยของประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในนโยบาย
ตอบ 1 หน้า 257 การวิเคราะห์อรรถประโยชน์แบบพหุลักษณ์ เป็นวิธีการที่ออกแบบมาเพื่อพิจารณา ความรู้สึกและทัศนะที่เป็นอัตวิสัยของประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในนโยบาย ซึ่งจุดเด่นของ วิธีการนี้อยู่ที่การพยายามดึงคุณค่าและความเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่แอบแฝงอยู่ไม่สามารถเห็นได้ชัดเจนออกมาให้เห็นชัดเจน

29. ในกรณีที่มีกลุ่มเป้าหมายหลักเพียงกลุ่มเดียวและต้องการทราบการเปลี่ยนแปลงภายหลังมีนโยบาย
ควรใช้วิธีการใด
ตอบ 4 หน้า 264 – 265 การวิเคราะห์อนุกรมเวลาแบบขาดตอน (Interrupted Time Series Analysis) เป็นวิธีการที่ช่วยให้เห็นการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังการนํานโยบาย ไปปฏิบัติในรูปของตารางและ/หรือค่าทางสถิติ และกราฟแบบต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะสําหรับการประเมินผลนโยบายที่มีกลุ่มเป้าหมายหลักเพียงกลุ่มเดียวหรือมีขอบเขตการ ดําเนินงานที่แน่นอนเพียงแห่งเดียว จุดเด่นของวิธีการนี้ คือ ช่วยให้ผู้ประเมินผลนโยบาย สามารถพิจารณาผลของนโยบายได้อย่างเป็นระบบ โดยสามารถแยกแยะผลของนโยบาย ที่เกิดขึ้นจริงได้จากผลที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุอื่น

30. วิธีการใดที่เน้นเอาข้อคิดและความเห็นของผู้เชี่ยวชาญมาเปรียบเทียบกันเพื่อหาข้อสรุป
ตอบ 3 หน้า 259 วิธีเดลฟีเชิงนโยบาย (Policy Delphi) เป็นวิธีการที่นําเอาข้อคิดและความเห็น ของผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สูงในเนื้อหาและเรื่องราวของนโยบายที่กําลังประเมิน มาประมวลและเปรียบเทียบกันเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับผลของนโยบาย

ตั้งแต่ข้อ 31. – 35. ให้พิจารณาคําตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
(1) ทฤษฎีกลุ่ม
(2) ทฤษฎีผู้นํา
(3) ทฤษฎีสถาบันนิยม
(4) ทฤษฎีการตัดสินใจ
(5) ทฤษฎีระบบ

31. นโยบายสาธารณะได้มาจากการเจรจาต่อรอง เกี่ยวข้องกับทฤษฎีอะไร
ตอบ 1 หน้า 107, (คําบรรยาย) ทฤษฎีกลุ่ม (Group Theory) อธิบายว่า นโยบายสาธารณะเป็น ผลผลิตของการต่อสู้ระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มผลประโยชน์กับนโยบายสาธารณะ โดยชี้ให้เห็นว่านโยบายสาธารณะเป็นผลผลิตที่ได้มาจาก การเจรจาต่อรอง การประนีประนอม และการถ่วงดุลผลประโยชน์ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ

32. สถาบันของรัฐเป็นผู้กําหนดนโยบายสาธารณะเนื่องจากมีความชอบธรรม เกี่ยวข้องกับทฤษฎีอะไร
ตอบ 3 หน้า 108, (คําบรรยาย) ทฤษฎีสถาบันนิยม (Institutional Theory) อธิบายว่า นโยบาย สาธารณะเป็นผลผลิตของสถาบัน โดยสถาบันหรือหน่วยงานของรัฐจะเป็นผู้กําหนดนโยบาย สาธารณะเนื่องจากมีความชอบธรรม มีความเป็นสากล และมีการผูกขาดอํานาจบังคับ นั่นคือ เป็นการพยายามเชื่อมโยงโครงสร้างหน้าที่ของสถาบันรัฐบาลกับการกําหนดนโยบายสาธารณะ เข้าด้วยกัน โดยชี้ให้เห็นว่าสถาบันรัฐบาลเป็นผู้กําหนดนโยบายสาธารณะเพราะเป็นอํานาจหน้าที่ อันชอบธรรม ซึ่งทฤษฎีนี้จะสะท้อนให้เห็นว่านโยบายสาธารณะก็คือนโยบายของรัฐบาลนั่นเอง

33. ตัวแบบเหตุผลนิยมอยู่ในทฤษฎีใด
ตอบ 4 หน้า 108 ตัวแบบเหตุผลนิยม (Rational Comprehensive Model) เป็นตัวแบบที่อยู่ใน ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision Making Theory) อธิบายว่า นโยบายเกิดจากการตัดสินใจ ภายใต้หลักการของเหตุและผล โดยอาศัยข้อมูล ข้อเท็จจริง ประกอบกับการคํานึงถึงคุณค่า ต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เพื่อให้ได้มาซึ่งนโยบายที่ดีที่สุดและนําไปสู่การ บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ หรือเป็นนโยบายที่รัฐบาลจัดทําขึ้นเพื่อให้สังคมได้รับ ประโยชน์สูงสุด ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องเกิดความพอใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลตอบแทน ที่ได้รับมากกว่าค่าใช้จ่ายที่เสียไป

34. สังคมถูกแบ่งเป็นคนกลุ่มน้อยที่มีอํานาจกับกลุ่มใหญ่ที่ไม่มีอํานาจ คนกลุ่มน้อยเป็นผู้กําหนดนโยบาย
ตามความต้องการหรือค่านิยมของตน เกี่ยวข้องกับทฤษฎีอะไร
ตอบ 2 หน้า 106 – 107, (คําบรรยาย) ทฤษฎีผู้นํา (Elite Theory) อธิบายว่า
1. สังคมถูกแบ่งเป็นคนกลุ่มน้อยที่มีอํานาจกับคนกลุ่มใหญ่ที่ไม่มีอํานาจ โดยผู้นําซึ่งเป็นคนกลุ่มน้อยในสังคมแต่มีอํานาจเป็นผู้ตัดสินหรือจัดสรรคุณค่าของสังคมและกําหนดนโยบายสาธารณะให้เป็นไปตามความต้องการหรือค่านิยมของตน ขณะที่ประชาชนหรือ คนส่วนใหญ่ไม่ได้มีส่วนตัดสินใจในนโยบายสาธารณะด้วย
2. ผู้นําจะแสดงความสมานฉันท์กับค่านิยมพื้นฐานของระบบสังคมและพยายามสงวนรักษาระบบไว้
3. นโยบายสาธารณะไม่ได้สะท้อนถึงความต้องการของมวลชน แต่เป็นการสะท้อนให้เห็น
ค่านิยมของผู้นํามากกว่า
4. ผู้นํามีอิทธิพลต่อมวลชนมากกว่ามวลชนมีอิทธิพลต่อผู้นํา ฯลฯ

35. สิ่งแวดล้อม เป็นตัวแปรที่สําคัญของทฤษฎีอะไร
ตอบ 5 หน้า 108, (คําบรรยาย) ทฤษฎีระบบ (System Theory) อธิบายว่า นโยบายสาธารณะ เป็นผลผลิตของระบบ โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่สําคัญ 5 ตัวแปร คือ
1. ปัจจัยนําเข้า (Inputs)
2. กระบวนการ (Process)
3. ปัจจัยนําออกหรือผลผลิต (Outputs)
4. ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)
5. สิ่งแวดล้อม (Environment)

36. เพรสแมนและวิลดัฟสก็ให้ความหมายของการนํานโยบายไปปฏิบัติอย่างไร
(1) กระบวนการทํางานทางปฏิสัมพันธ์เชิงนโยบาย
(2) การจัดหาวิธีในการดําเนินการให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
(3) ฝ่ายบริหารเป็นผู้ออกนโยบาย ข้าราชการเป็นฝ่ายปฏิบัติ
(4) การนําไปปฏิบัติ ทําให้สําเร็จ เติมเต็ม ผลลัพธ์ ทําให้สมบูรณ์
(5) ภารกิจหลักของภาครัฐในการดําเนินงานต่าง ๆ
ตอบ 4 หน้า 142 – 143 เพรสแมนและวิลด์ฟสกี (Pressman & Wildavsky) กล่าวว่า การนํานโยบาย ไปปฏิบัติ คือ การนําไปปฏิบัติ ทําให้สําเร็จ เติมเต็ม ผลลัพธ์ ทําให้สมบูรณ์ และการนํานโยบาย ไปปฏิบัติให้เกิดผลสําเร็จนั้นต้องกําหนดรูปแบบของนโยบายไปพร้อมกับวิธีการนํานโยบายไปปฏิบัติ

37.พอล เอ. ซาบาเดียร์ และดาเนียล เอ. แมซมาเนียน ให้ความหมายของการนํานโยบายไปปฏิบัติอย่างไร
(1) กระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบายที่เกิดขึ้นจากกฎหมาย
(2) กฤษฎีกาที่ออกมาจากพรรคการเมืองเสนอเข้าสภา
(3) แนวการทํางานของรัฐที่เน้นการบริการสาธารณะ
(4) รัฐจะกระทําสิ่งต่าง ๆ บริการประชาชน
(5) การตัดสินพิพากษาอรรถคดีคําสั่งของฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ
ตอบ 1 หน้า 142 พอล เอ. ซาบาเดียร์ และดาเนียล เอ. แมชมาเนียน (Paul A. Sabatier and Daniel A. Mazmanian) กล่าวว่า การนํานโยบายไปปฏิบัติ หมายถึง กระบวนการตัดสินใจ เชิงนโยบายที่เกิดขึ้นจากกฎหมาย การตัดสินพิพากษาอรรถคดีคําสั่งของฝ่ายบริหาร หรือ กฤษฎีกาที่ออกมาจากสถาบันต่าง ๆ

38. นักวิชาการท่านใดมองการนํานโยบายไปปฏิบัติเป็นกระบวนการขององค์การที่ต่อเนื่องเป็นพลวัต ปรับแต่ง โดยปฏิสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายและกลยุทธ์ของนโยบายกับสภาพขององค์การที่รับผิดชอบ
(1) โทมัส สมิท
(2) มิลบรีย์ แมคลัฟลิน
(3) แวน มิเตอร์และแวน ฮอร์น
(4) มอลคอม กอกจิน
(5) อีมิลี ไซมี โลวี ไบรเซนไดน์
ตอบ 2 หน้า 143 มิลบรีย์ แมคลัฟลิน (Milbrey McLaughlin) มองว่า การนํานโยบายไปปฏิบัติ เป็นกระบวนการขององค์การที่ต่อเนื่องเป็นพลวัต ซึ่งได้รับการปรับแต่งและหล่อหลอมโดยปฏิสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายและกลยุทธ์ของนโยบายกับสภาพขององค์การที่รับผิดชอบในการดําเนินการให้สําเร็จลุล่วง

39.ผลงาน Implementation (1973) เกิดขึ้นมาจากองค์ความรู้เชิงทฤษฎีและการวิจัยเชิงประจักษ์
2 สาขาวิชา คือ
(1) วิชารัฐศาสตร์และวิชารัฐประศาสนศาสตร์
(2) วิชารัฐศาสตร์และวิชาการบริหารรัฐกิจ
(3) วิชารัฐศาสตร์และวิชาการปกครอง
(4) วิชารัฐประศาสนศาสตร์และการวิเคราะห์ระบบ
(5) วิชารัฐประศาสนศาสตร์และวิชาการบริหารรัฐกิจ
ตอบ 4 หน้า 61 ผลงาน Implementation (1973) ของเพรสแมนและวิลดัฟสกี (Pressman & Wildavsky) เกิดขึ้นมาจากองค์ความรู้เชิงทฤษฎีและการวิจัยเชิงประจักษ์ 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) และการวิเคราะห์ระบบ (Systems Approach)

40. สรุปการนํานโยบายไปปฏิบัติ หมายถึง
(1) กระบวนการขององค์การที่ต่อเนื่องเป็นพลวัต
(2) การดําเนินงานให้สําเร็จลุล่วงตามเป้าหมายของกลุ่มผู้ปฏิบัติ
(3) การดําเนินงานให้ตรงตามเป้าหมายที่วางไว้
(4) กระบวนการในทางปฏิบัติที่จะทําให้นโยบายใด ๆ บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กําหนด
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 4 หน้า 143 กล่าวโดยสรุป การนํานโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) หมายถึง กระบวนการในทางปฏิบัติที่จะทําให้นโยบายใด ๆ บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กําหนดไว้

41. วิทยานิพนธ์ “California Educational Policy Implementation : The Case of Stull Act” เป็นการศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติ มุ่งเน้นเรื่อง
(1) การบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา
(2) คุณภาพชีวิตของครูและนักศึกษาในโรงเรียน
(3) กฎหมาย
(4) สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา
(5) ประกันคุณภาพการศึกษา
ตอบ 3 หน้า 145 – 146 อีมิลี ไซมี โลว์ ไบรเซนไดน์ (Emily Chi-Mei Lowe Brizendine) ได้เสนอ วิทยานิพนธ์เรื่อง “California Educational Policy Implementation : The Case of Stull Act” เมื่อปี ค.ศ. 1986 ซึ่งเป็นการศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติของรัฐแคลิฟอร์เนีย โดยเน้นเรื่องกฎหมาย “Stull Act” ซึ่งเป็นกฎหมายที่กําหนดมาตรการในการปฏิรูปโรงเรียน รัฐบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเน้นที่การประเมินครูเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อ ความสําเร็จทางการศึกษาของโรงเรียน

42. ข้อใดถูกสําหรับแนวคิดของแรนดาล ริปเลย์ และเกรซ แฟรงกลิน เกี่ยวกับการนํานโยบายไปปฏิบัติ
(1) กระทรวงเป็นหน่วยงานหลัก กรมเป็นหน่วยงานในสังกัด
(2) มีผู้เกี่ยวข้องสําคัญ ๆ มากมาย
(3) หน่วยงานมีหลายระดับทั้งรัฐและเอกชน
(4) ผู้เกี่ยวข้องล้วนมีวัตถุประสงค์เหมือนกัน
(5) นโยบายและโครงการมักเป็นของรัฐและเอกชนรับผิดชอบ
ตอบ 2 หน้า 144 แรนดาล ริปเลย์ และเกรซ แฟรงกลิน (Randell Ripley and Grace Franklin) ได้พิจารณาลักษณะของการนํานโยบายไปปฏิบัติว่ามีลักษณะสําคัญ 5 ประการ คือ
1. มีผู้เกี่ยวข้องสําคัญ ๆ มากมาย
2. ผู้เกี่ยวข้องล้วนมีวัตถุประสงค์ที่หลากหลายและมักแตกต่างกัน
3. นโยบายและโครงการของรัฐบาลมักขยายใหญ่โตขึ้นทุกวัน
4. หน่วยงานในหลายระดับ จากหลายกระทรวง ทบวง กรม มีส่วนร่วมในการดําเนินกิจการ
5. มีปัจจัยหลายประการที่สําคัญมากและอยู่นอกเหนือการควบคุม

43. การศึกษาของเจษฎา อุรพีพัฒนพงศ์ ได้ค้นพบปัจจัยตัวที่ 7 คือข้อใด
(1) เป้าหมายของนโยบาย
(2) แรงจูงใจของผู้ปฏิบัตินโยบาย
(3) การจัดสรรทรัพยากร
(4) การแสวงหาผลประโยชน์
(5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 4 หน้า 147 – 148 การศึกษาของเจษฎา อุรพีพัฒนพงศ์ ในเรื่องการปฏิบัตินโยบายของ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้จังหวัดนราธิวาสเป็นกรณีศึกษานั้น ได้ค้นพบปัจจัยตัวที่ 7 คือ การแสวงหาผลประโยชน์ ซึ่งมีส่วนสําคัญในการกําหนดความล้มเหลวหรือความสําเร็จของ การปฏิบัตินโยบาย

44. นักวิชาการท่านใดกล่าวว่า นโยบาย ตัวเชื่อม และสมรรถนะจะมีผลต่อพฤติกรรมในการนํานโยบาย ไปปฏิบัติ เชื่อมโยงระหว่างนโยบายและผลปฏิบัติการ
(1) แวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น
(2) มอลคอม กอกจิน
(3) ยูยีน บาร์แดช
(4) ดาเนียล เอ. แมชมาเนียน
(5) แมคลัฟลิน
ตอบ 1 หน้า 152 แวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น (Van Meter & Van Horn) ได้กําหนดถึงผลต่อ พฤติกรรมในการนํานโยบายไปปฏิบัติว่าต้องมีขั้นตอนการปฏิบัติ ซึ่งจะเชื่อมโยงระหว่าง นโยบายและผลปฏิบัติการ ได้แก่ 1. นโยบาย (Policy)
2. ตัวเชื่อม (Linkage)
3. สมรรถนะในการนํานโยบายไปปฏิบัติ (Performance)

45.มอลคอม กอกจิน ได้ศึกษาเพิ่มเติมตัวแปรหลักที่ส่งผลต่อศักยภาพของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ข้อใดถูกต้อง
(1) องค์การ กระบวนการ และการดําเนินงาน
(2) นโยบาย องค์การ และผู้ปฏิบัติงาน
(3) นโยบาย ขั้นตอน และการประเมิน
(4) นโยบาย ผู้ปฏิบัติ และการควบคุม
(5) นโยบาย เป้าหมาย และผู้ปฏิบัติงาน
ตอบ 2 หน้า 156 มอลคอม กอกจิน (Malcom Goggin) ได้เสนอผลจากการศึกษาเพิ่มเติม โดยพบว่า ตัวแปรหลักที่ส่งผลต่อศักยภาพของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่ นโยบาย องค์การ และ ผู้ปฏิบัติงาน โดยมีปัจจัยอื่น ๆ เช่น สภาพแวดล้อมมาเกี่ยวข้องด้วย

46.มอลคอม กอกจิน เสนอรูปแบบของนโยบาย ประกอบด้วย
(1) รูปแบบการเมือง รูปแบบการปกครอง รูปแบบความร่วมมือ
(2) รูปแบบราชการ รูปแบบการบริหาร รูปแบบบูรณาการ
(3) รูปแบบการเมือง รูปแบบประสานงาน รูปแบบราชการ
(4) รูปแบบการเมือง รูปแบบการบริหาร รูปแบบผสม (การบริหารการเมือง)
(5) รูปแบบการเมือง รูปแบบการปกครอง รูปแบบราชการ
ตอบ 4 หน้า 156, 159 มอลคอม กอกจิน (Malcom Goggin) ได้เสนอรูปแบบของนโยบาย ซึ่งประกอบด้วย 3 รูปแบบ คือ
1. รูปแบบการเมือง (Political)
2. รูปแบบการบริหาร (Administration)
3. รูปแบบผสมหรือการบริหารการเมือง (Political Administrative)

47. ยูยืน บาร์แดช พบว่าปัญหาในการนํานโยบายไปปฏิบัติล้มเหลวเพราะเหตุใด
(1) สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ปฏิบัติแตกต่างกัน
(2) ความไม่ต่อเนื่องของการดําเนินงาน
(3) ความไม่เห็นพ้องระหว่างผู้ปฏิบัติฝ่ายต่าง ๆ
(4) ปัญหาการเมืองท้องถิ่นแทรกแซงการเมืองระดับชาติ
(5) ปัญหาการประสานงานระหว่างหน่วยงาน
ตอบ 3 หน้า 157 ยูยีน บาร์แดช (Eugene Bardach) ได้ทําการศึกษาการปฏิรูปนโยบายด้าน สุขภาพจิตในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งพบปัญหาในการนํานโยบายไปปฏิบัติ ล้มเหลวเพราะเกิดจากความไม่เห็นพ้องระหว่างผู้ปฏิบัติฝ่ายต่าง ๆ หรือมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ปฏิบัติในลักษณะที่ซับซ้อนจนเกินไป รวมทั้งมีการแทรกแซงการดําเนินงานของหน่วยงานของรัฐ ซึ่งเป็นเกมส์ที่ทางผู้บริหารหรือผู้มีอํานาจกําหนดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดการต่อรองจาก ฝ่ายต่าง ๆ

48. ทฤษฎีของเพรสแมนและวิลด์ฟสกีกล่าวถึง X คือ ณ เวลาที่ 11 ส่วน Y คือ 2 ความหมายของ t2 คือ
(1) ห่างจากกันไปช่วงระยะเวลาหนึ่ง
(2) การนําไปปฏิบัติต่อเนื่อง
(3) การดําเนินงานตามวัตถุประสงค์
(4) ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ณ เวลาถัดไป
(5) ผลผลิตที่เกิดขึ้น
ตอบ 4 หน้า 164 เพรสแมนและวิลดัฟสกี (Pressman & Wildavsky) กล่าวว่า นโยบายโดยทั่วไป จะต้องประกอบด้วย 2 ส่วน คือ เงื่อนไขแรกเริ่มและผลที่มุ่งหวัง ดังนั้นถ้ามีเงื่อนไข X เกิดขึ้น ณ เวลาที่ 11 จะเกิดผลลัพธ์ Y ขึ้น ณ เวลาถัดไปคือ t2

49. แนวคิดเชิงระบบของเดวิด อีสตัน ประกอบด้วยข้อใดบ้าง
(1) สภาพแวดล้อม อุปสงค์ กระบวนการ นโยบาย การปฏิบัติ ข้อมูลย้อนกลับ
(2) สภาพแวดล้อมภายใน สภาพแวดล้อมภายนอก นโยบาย การปฏิบัติ ผลกระทบ
(3) ทรัพยากร อุปสงค์ กระบวนการ นโยบาย การปฏิบัติ ข้อมูลย้อนกลับ
(4) ทรัพยากร กระบวนการ นโยบาย การปฏิบัติ ข้อมูลย้อนกลับ
(5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 1 หน้า 172, (คําบรรยาย) เดวิด อีสตัน (David Easton) ได้เสนอแนวคิดเชิงระบบ โดยมี ตัวแปรสําคัญ ๆ ที่เกี่ยวข้อง 6 ตัวแปร คือ 1. สภาพแวดล้อม 2. อุปสงค์และทรัพยากร 3. กระบวนการทางการเมือง 4. นโยบาย 5. การปฏิบัติ 6. ข้อมูลย้อนกลับ

50. ข้อใดไม่ใช่ตามทฤษฎีของมองจอย (Montjoy) และโอทูเล (O’Toole)
(1) ลักษณะของกิจกรรม/นโยบาย
(2) การจัดสรรทรัพยากร
(3) ความเฉพาะเจาะจง และความไม่ชัดเจนของคําสั่งหรือนโยบาย
(4) ความต้องการทรัพยากรใหม่ และไม่ต้องการสําหรับการปฏิบัติตามคําสั่งหรือนโยบาย
(5) มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในนโยบายหลากหลาย
ตอบ 5 หน้า 165 – 166 มองจอย (Montjoy) และโอทูเล (O’Toole) ได้เสนอปัจจัยที่นํามาสร้าง เป็นกรอบทฤษฎีในการวิเคราะห์การนํานโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ
1.ความเฉพาะเจาะจง และความไม่ชัดเจนของคําสั่งหรือนโยบาย
2. ความต้องการทรัพยากรใหม่ และไม่ต้องการสําหรับการปฏิบัติตามคําสั่งหรือนโยบาย

51. เออร์วิน ฮาร์โกรฟ เขียนบทความเรื่องอะไรที่เสนอข้อสมมติเพื่อการทดสอบการนํานโยบายจากรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกาไปปฏิบัติในระดับหน่วยงานปฏิบัติ
(1) The Search for Implementation Theory (1983)
(2) Implementation (1973)
(3) The Policy Implementation Process (1973)
(4) The Policy Implementation Process : A Conceptual Framework (1975)
(5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 1 หน้า 168 เออร์วิน ฮาร์โกรฟ (Erwin Hargrove) ได้เสนอข้อสมมติเพื่อการทดสอบการนํา นโยบายที่กําหนดโดยรัฐบาลกลางของสหรัฐอเมริกาไปปฏิบัติในระดับหน่วยงานปฏิบัติไว้ใน บทความเรื่อง “The Search for Implementation Theory” ซึ่งตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1983 โดยเขาได้ให้ความหมายของการนํานโยบายไปปฏิบัติว่าประกอบด้วย 2 นัย คือ
1. การดําเนินการตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย
2. การดําเนินการซึ่งหมายรวมถึงการยินยอมปฏิบัติตามกฎหมายและการปฏิบัติงานประจําขององค์การอย่างคงเส้นคงวา

52. โทมัส บี. สมิท (Thomas B. Srnith) เสนอตัวแบบการนํานโยบายไปปฏิบัติในประเทศโลกที่สาม โดยเรียกตัวแบบนี้ว่า
(1) The Policy Implementation
(2) Distributive Policy
(3) Implementation Organization
(4) Policy Implementation
(5) A Model of the Policy Implementation Process
ตอบ 5 หน้า 171 โทมัส บี. สมิท (Thomas B. Smith) ได้เขียนบทความเรื่อง “The Policy
Implementation Process” เมื่อปี ค.ศ. 1973 เพื่อเสนอตัวแบบของกระบวนการนํานโยบาย ไปปฏิบัติในประเทศโลกที่สาม และได้ประยุกต์แนวความคิดเชิงระบบสําหรับใช้ในการศึกษา การนํานโยบายไปปฏิบัติในประเทศโลกที่สาม โดยเรียกตัวแบบนี้ว่า “A Model of the Policy Implementation Process”

53. เบอร์แมน เสนอกรอบการวิเคราะห์การนํานโยบายไปปฏิบัติ 2 ระดับ คือ
(1) ระดับบน และระดับล่าง
(2) ระดับผู้บังคับบัญชา และระดับผู้ปฏิบัติงาน
(3) ระดับกลาง และระดับภูมิภาค
(4) ระดับมหภาค และระดับจุลภาค
(5) ระดับหน่วยงาน และระดับผู้ปฏิบัติงาน
ตอบ 4 หน้า 175 พอล เบอร์แมน (Paul Berman) ได้เสนอกรอบการวิเคราะห์การนํานโยบายไปปฏิบัติ 2 ระดับ คือ
1. การนํานโยบายไปปฏิบัติในระดับมหภาค (Macro-Implementation)
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติในระดับจุลภาค (Micro-Implementation)

54. ตัวแบบของแวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) ตัวแบบ “A Model of the Policy Implementation Process”
(2) ประกอบด้วย 6 ตัวแปรอิสระ
(3) มาตรฐานและวัตถุประสงค์ของนโยบายเป็นตัวแปรอิสระ
(4) การสื่อสารระหว่างองค์การและกิจกรรมการนํานโยบายไปปฏิบัติเป็นตัวแปรอิสระ
(5) ผลของการนํานโยบายไปปฏิบัติเป็นตัวแปรตาม
ตอบ 2 หน้า 171 – 173 แวน มิเตอร์ และแวน ฮอร์น (Van Meter and Van Horn) ได้เสนอตัวแบบ ในการวิเคราะห์การนํานโยบายไปปฏิบัติ โดยตั้งชื่อตัวแบบว่า “A Model of the Policy Implementation Process” ซึ่งประกอบด้วยตัวแปร 6 ตัวแปร ได้แก่
1. มาตรฐานและวัตถุประสงค์ของนโยบาย
2. ทรัพยากร
3. การสื่อสารระหว่างองค์การและกิจกรรมการนํานโยบายไปปฏิบัติ
4. ลักษณะองค์กรในการนํานโยบายไปปฏิบัติ
5. เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
6. ผลของการนํานโยบายไปปฏิบัติ โดยตัวแปรที่ 1 – 5 นั้นเป็นตัวแปรอิสระ และตัวแปรที่ 6 เป็นตัวแปรตาม

55. ข้อใดถูกต้องตามแนวคิดของกอาจีนและคณะ
(1) ฐานคติ “การนํานโยบายไปปฏิบัติขึ้นอยู่กับตัวแปรทั้งระดับ “Top-Down” และ “Bottom-Up
(2) ตัวแบบที่นําเสนอได้รับอิทธิพลแนวความคิดการวิเคราะห์ระบบการเมืองของเดวิด อีสตัน
(3) พบ 4 ตัวแปรอิสระ
(4) ถูกทุกข้อ
(5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 4 หน้า 173 – 174 กอกจินและคณะ ได้เสนอตัวแบบการนํานโยบายไปปฏิบัติภายใต้ฐานคติ ที่ว่าการนํานโยบายไปปฏิบัติขึ้นอยู่กับตัวแปรทั้งระดับ “Top-Down” และ “Bottom-up โดยตัวแบบของกอกจีนและคณะได้รับอิทธิพลจากแนวความคิดการวิเคราะห์ระบบการเมืองของเดวิด อีสตัน ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรอิสระ 4 ตัวแปร ดังนี้
1. การชี้นําและข้อจํากัดของรัฐบาลกลาง
2. การชี้นําและข้อจํากัดของรัฐบาลส่วนท้องถิ่น
3. ความสามารถของรัฐ
4. การตัดสินใจของรัฐ

56. ข้อใดไม่ใช่ประสิทธิผลขององค์การ ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล 11 ตัวแปรตามแนวคิดของยอร์ค (Yorke)
(1) ความสําเร็จในเป้าหมายที่เป็นทางการ
(2) ทรัพยากร
(3) คุณภาพและการพัฒนาบุคลากร
(4) ทุนการศึกษา
(5) คุณภาพและการพัฒนานักศึกษา
ตอบ 4 หน้า 178 ยอร์ค (Yorke) ได้เสนอตัวแปรที่แสดงถึงความสัมพันธ์เชิงเหตุผล 11 ตัวแปร ดังนี้
1. ความสําเร็จในเป้าหมายที่เป็นทางการ
2. ทรัพยากร
3. คุณภาพและการพัฒนาบุคลากร
4. หลักสูตร
5. คุณภาพและการพัฒนานักศึกษา
6. บรรยากาศในสถาบัน
7. การวิจัยและ การให้คําปรึกษา
8. การบริหารสถาบัน โครงสร้างและกระบวนการ
9. ความสัมพันธ์กับ ภายนอก
10. ความสามารถในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
11. ชื่อเสียงของสถาบัน

57. โรเบิร์ต นาคามูระ และแฟรงค์ (สมอลวูด เสนอเกณฑ์การประเมินความสําเร็จหรือล้มเหลวของนโยบาย ข้อใดถูกต้อง
(1) ประสิทธิภาพ คุณภาพงานสัมพันธ์กับต้นทุน
(2) หน่วยงานภาครัฐต้องปฏิบัติหลายภารกิจ
(3) ความพึงพอใจของบุคคลภายใน
(4) การสนองตอบต่อบุคลากร
(5) ขั้นตอนมีมากมาย
ตอบ 1 หน้า 180 โรเบิร์ต นาคามูระ และแฟรงค์ สมอลวูด ได้เสนอเกณฑ์การประเมินความสําเร็จ หรือล้มเหลวของนโยบายไว้ 5 เกณฑ์ ดังนี้
1. การบรรลุเป้าหมายของนโยบาย เห็นผลเป็นรูปธรรม
2. ประสิทธิภาพ คุณภาพงานที่สัมพันธ์กับต้นทุน
3. ความพึงพอใจของบุคคลภายนอก
4. การสนองตอบต่อความต้องการของลูกค้า
5. การดํารงอยู่ของระบบ

58. ข้อใดไม่ใช่ตัวแบบการนํานโยบายไปปฏิบัติของวรเดช จันทรศร
(1) ตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล
(2) ตัวแบบด้านองค์การและการจัดการ
(3) ตัวแบบทางด้านการพัฒนาองค์การ
(4) ตัวแบบกระบวนการทางการเมือง
(5) ตัวแบบกระบวนการของระบบราชการ
ตอบ 2 หน้า 182 – 183 วรเดช จันทรศร ได้เสนอบทความเรื่อง “การนํานโยบายไปปฏิบัติ : ตัวแบบและคุณค่า” เมื่อปี ค.ศ. 1984 ซึ่งในบทความนี้ได้นําเสนอตัวแบบการศึกษา
การนํานโยบายไปปฏิบัติ 6 ตัวแบบ คือ
1. ตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล
2. ตัวแบบทางด้านการจัดการ
3. ตัวแบบทางด้านการพัฒนาองค์การ
4. ตัวแบบกระบวนการของระบบราชการ
5. ตัวแบบกระบวนการทางการเมือง
6. ตัวแบบทั่วไป

59.วรเดช จันทรศร กล่าวถึงสาระสําคัญของตัวแบบทั่วไปว่าประกอบด้วย 3 ปัจจัย คือ
(1) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยด้านขั้นตอนการดําเนินงาน และปัจจัยต่อผู้ปฏิบัติงาน
(2) ปัจจัยการสื่อสาร ปัจจัยด้านปัญหาทางสมรรถนะ และปัจจัยด้านตัวผู้ปฏิบัติ
(3) ปัจจัยการสื่อสาร ปัจจัยด้านการลงทุน และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
(4) ปัจจัยด้านการลงทุน ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และปัจจัยด้านตัวผู้ปฏิบัติงาน
(5) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยการสื่อสาร และปัจจัยองค์การ
ตอบ 2 หน้า 183 – 184 วรเดช จันทรศร ได้กล่าวถึงสาระสําคัญของตัวแบบทั่วไปว่าประกอบด้วย ปัจจัยหลัก 3 ปัจจัย คือ
1. ปัจจัยด้านการสื่อสาร
2. ปัจจัยด้านปัญหาทางสมรรถนะ
3. ปัจจัยด้านตัวผู้ปฏิบัติ

60. จากนโยบายและมาตรการของรัฐในการยกระดับราคาสินค้าเกษตร จากตํารา POL 3301 นั้น ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) มาตรการแทรกแซงตลาดเมล็ดกาแฟ
(2) มาตรการแก้ไขปัญหาทุเรียน
(3) มาตรการแทรกแซงตลาดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
(4) มาตรการแทรกแซงตลาดมันสําปะหลัง
(5) มาตรการรับจํานําข้าวเปลือกนาปีและนาปรัง
ตอบ 2 หน้า 195 นโยบายและมาตรการของรัฐในการยกระดับราคาสินค้าเกษตร มีดังนี้
1. มาตรการรับจํานําข้าวเปลือกนาปีและนาปรัง
2. มาตรการแก้ไขปัญหาลําไย
3. มาตรการแทรกแซงตลาดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
5. มาตรการแทรกแซงตลาดเมล็ดกาแฟ
4. มาตรการแทรกแซงตลาดมันสําปะหลัง

61. ข้อใดไม่ใช่หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและมาตรการของรัฐในการยกระดับราคาสินค้าเกษตร
(1) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
(2) กระทรวงพาณิชย์
(3) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(4) กรมการค้าภายใน
(5) ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 5 หน้า 218 หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและมาตรการของรัฐในการยกระดับ ราคาสินค้าเกษตร มีดังนี้
1. กรมการค้าภายใน
2. องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร
3. องค์การคลังสินค้า
4. กระทรวงพาณิชย์
5. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
6. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

62. บทวิเคราะห์นโยบายและมาตรการของรัฐในการยกระดับราคาสินค้าเกษตร ข้อใดถูกต้อง
(1) รัฐควรเปิดโอกาสให้เอกชนเข้าร่วมช่วยเหลือเกษตรกร
(2) รัฐควรมุ่งให้เกษตรกรมีส่วนรวมในการบริหารจัดการผลผลิตของตัวเองมากขึ้น
(3) รัฐไม่มีความต่อเนื่องในการช่วยเหลือเกษตรกร
(4) นอกจากสินค้าจากเกษตรกร ควรช่วยผลิตภัณฑ์ชุมชน
(5) รัฐและเอกชนร่วมมือช่วยเหลือเกษตรกร
ตอบ 2 หน้า 222 – 223 ในบทวิเคราะห์นโยบายและมาตรการของรัฐในการยกระดับราคาสินค้าเกษตรได้มีการเสนอมาตรการในการช่วยเหลือเกษตรกร ดังนี้
1. รัฐควรมุ่งให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการผลผลิตของตัวเองมากขึ้น
2. มีมาตรการจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่เกษตรกรโดยตรง ในกรณีที่ราคาผลผลิตตกต่ํากว่า
ราคาเป้าหมายที่รัฐกําหนด
3. ให้เกษตรกรบริหารจัดการความเสี่ยงจากราคาผลผลิตด้วยตัวเอง โดยการซื้อประกัน
ราคาพืชผลจากหน่วยงานที่รัฐเป็นผู้จัดหาให้

63. โครงการ U2T เป็นนโยบายของกระทรวงใด
(1) กระทรวงศึกษาธิการ
(2) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
(3) กระทรวงแรงงาน
(4) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
(5) กระทรวงพลังงาน
ตอบ 2 (ความรู้ทั่วไป) โครงการ U2T หรือโครงการมหาวิทยาลัยสู่ตําบล เป็นโครงการจ้างงาน บัณฑิตจบใหม่และประชาชนให้เข้าไปปฏิบัติงานในพื้นที่ระดับตําบลทั่วประเทศ เพื่อให้เกิด การสร้างงานและพัฒนาแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของตําบล โดยโครงการนี้เป็นนโยบายของ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

64.“คนละครึ่งเฟส 5” ประชาชนที่ลงทะเบียนได้รับเงินคนละเท่าไร
(1) 600 บาท
(2) 800 บาท
(3) 1,000 บาท
(4) 1,500 บาท
(5) 2,000 บาท
ตอบ 2 (ความรู้ทั่วไป) โครงการ “คนละครึ่งเฟส 5” เป็นโครงการเพื่อกระตุ้นการจับจ่ายใช้สอย ภายในประเทศ และบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายให้กับประชาชน โดยประชาชนที่ลงทะเบียนจะ ได้รับเงินคนละ 800 บาท โดยสามารถใช้จ่ายได้ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน – 31 ตุลาคม 2565

65. ข้อใดไม่ใช่นโยบายมุ่งเน้นของกระทรวงสาธารณสุขประจําปีงบประมาณ 2565
(1) สมุนไพร กัญชา กัญชง
(2) สุขภาพดีวิถีใหม่
(3) เศรษฐกิจสุขภาพ
(4) โรงเรียนผู้สูงอายุ
(5) ธรรมาภิบาล
ตอบ 4 (ความรู้ทั่วไป) นโยบายมุ่งเน้นของกระทรวงสาธารณสุขประจําปีงบประมาณ 2565 มีดังนี้
1. ระบบสุขภาพปฐมภูมิเข้มแข็ง
2. เศรษฐกิจสุขภาพ
3. สมุนไพร กัญชา กัญชง
4. สุขภาพดีวิถีใหม่
5. COVID-19
6. ระบบบริการก้าวหน้า
7. ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
8. ธรรมาภิบาล
9. องค์กรแห่งความสุข

ตั้งแต่ข้อ 66 – 70. จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามตามข้อมูลยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
Thailand 4.0 และเอกสารอื่น ๆ
(1) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(2) Thailand 4.0
(3) นโยบายของกระทรวงพาณิชย์
(4) ทิศทางกระแสต่างประเทศ
(5) แนวนโยบายแห่งรัฐ

66. มุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไทยไปสู่ Value-Based Economy
ตอบ 2 (คําบรรยาย) Thailand 4.0 มีสาระสําคัญดังนี้
1. เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไทยไปสู่ “Value-Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม”
2. เป็น “Reform in Action” ที่มีการผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ การปฏิรูปการ วิจัยและการพัฒนา และการปฏิรูปการศึกษาไปพร้อม ๆ กัน
3. เป็นแนวคิดที่มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ภายใต้ทุนวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ ทุนมนุษย์
4. เป็นการพัฒนา “เครื่องยนต์เพื่อขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจชุดใหม่” (New Engines of Growth) ซึ่งประเทศไทยมี 2 ด้าน คือ ความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลาย เชิงวัฒนธรรม ให้เป็นความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน โดยการเติมเต็มด้วยวิทยาการทั้ง 5 ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัยและพัฒนา ฯลฯ

67.Reform in Action ที่มีการผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ การปฏิรูปการวิจัยและการพัฒนา และการปฏิรูปการศึกษา
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 66. ประกอบ

68. มุ่งเน้นวิทยาการทั้ง 5 เพื่อความได้เปรียบ ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และการวิจัยและพัฒนา
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 66. ประกอบ

69. ประเทศไทยมี New Engines of Growth ได้แก่ ความหลากหลายทางชีวภาพ และความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 66. ประกอบ

70. มุ่งเน้นพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ภายใต้ทุนวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และทุนมนุษย์
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 66. ประกอบ

ตั้งแต่ข้อ 71, – 80. จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องตามเนื้อหาของหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

71. รัฐจึงส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 68
(2) มาตรา 70
(3) มาตรา 72
(4) มาตรา 74
(5) มาตรา 78
ตอบ 5 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 78 บัญญัติให้ รัฐจึงส่งเสริมให้ประชาชนและ ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ การจัดทําบริการสาธารณะ ทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น การตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐ การต่อต้านการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ รวมตลอดทั้งการตัดสินใจทางการเมือง และการอื่นใดบรรดาที่อาจมีผลกระทบต่อ ประชาชนหรือชุมชน

72. รัฐพึงจัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าที่จําเป็น และยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่หมดความจําเป็นหรือไม่สอดคล้อง กับสภาพการณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อการดํารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพ โดยไม่ชักช้าเพื่อไม่ให้เป็น ภาระแก่ประชาชน ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 64
(2) มาตรา 73
(3) มาตรา 74
(4) มาตรา 76
(5) มาตรา 77
ตอบ 5 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 77 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐจึงจัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าที่จําเป็น และยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่หมดความจําเป็น หรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อการดํารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพ โดยไม่ชักช้าเพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน
2. ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับ รัฐพึงจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบ
3. รัฐจึงใช้ระบบอนุญาตและระบบคณะกรรมการในกฎหมายเฉพาะกรณีที่จําเป็น

73. รัฐจึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และงาน ของรัฐอย่างอื่นให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 73
(2) มาตรา 74
(3) มาตรา 75
(4) มาตรา 76
(5) มาตรา 77
ตอบ 4 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 76 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐพึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐอย่างอื่นให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
2. รัฐจึงพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติเป็นผู้ให้บริการประชาชน ให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ไม่เลือกปฏิบัติ และปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
3. รัฐจึงดําเนินการให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐให้เป็นไปตามระบบคุณธรรม
4. รัฐพึงจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักในการกําหนด ประมวลจริยธรรมสําหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น ๆ

74. รัฐพึงจัดระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนมีโอกาสได้รับประโยชน์จากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไปพร้อมกัน อย่างทั่วถึง เป็นธรรม และยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 74
(2) มาตรา 75
(3) มาตรา 76
(4) มาตรา 77
(5) มาตรา 78
ตอบ 2 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 75 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐพึงจัดระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนมีโอกาสได้รับประโยชน์จากความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจไปพร้อมกันอย่างทั่วถึง เป็นธรรม และยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ในการพัฒนาประเทศ รัฐจึงคํานึงถึงความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนา ด้านจิตใจ และความอยู่เย็นเป็นสุขของประชาชนประกอบกัน
3. รัฐจึงส่งเสริม สนับสนุน คุ้มครอง และสร้างเสถียรภาพให้แก่ระบบสหกรณ์ประเภทต่าง ๆ และวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลางของประชาชนและชุมชน ฯลฯ

75. รัฐจึงส่งเสริมให้ประชาชนมีความสามารถในการทํางานอย่างเหมาะสมกับศักยภาพและวัยและให้มีงานทําและพึ่งคุ้มครองผู้ใช้แรงงานให้ได้รับความปลอดภัยและมีสุขอนามัยที่ดีในการทํางาน ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 64
(2) มาตรา 66
(3) มาตรา 74
(4) มาตรา 76
(5) มาตรา 77
ตอบ 3 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 74 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐจึงส่งเสริมให้ประชาชนมีความสามารถในการทํางานอย่างเหมาะสมกับศักยภาพและวัย และให้มีงานทํา และจึงคุ้มครองผู้ใช้แรงงานให้ได้รับความปลอดภัยและมีสุขอนามัยที่ดี ในการทํางาน ได้รับรายได้ สวัสดิการ การประกันสังคม และสิทธิประโยชน์อื่นที่เหมาะสม แก่การดํารงชีพ
2. รัฐพึงจัดให้มีระบบแรงงานสัมพันธ์ที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการดําเนินการ

76. รัฐพึงจัดให้มีมาตรการหรือกลไกที่ช่วยให้เกษตรกรประกอบเกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิต ที่มีปริมาณและคุณภาพสูง มีความปลอดภัย โดยใช้ต้นทุนต่ํา ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 68
(2) มาตรา 71
(3) มาตรา 73
(4) มาตรา 75
(5) มาตรา 77
ตอบ 3 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 73 บัญญัติให้ รัฐพึงจัดให้มีมาตรการหรือ กลไกที่ช่วยให้เกษตรกรประกอบเกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตที่มีปริมาณและ คุณภาพสูง มีความปลอดภัย โดยใช้ต้นทุนต่ําและสามารถแข่งขันในตลาดได้ และพึงช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ยากไร้ให้มีที่ทํากินโดยการปฏิรูปที่ดินหรือวิธีอื่นใด

77. รัฐจึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาสให้สามารถ ดํารงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 66
(2) มาตรา 67
(3) มาตรา 68
(4) มาตรา 71
(5) มาตรา 76
ตอบ 4(คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 71 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐจึงเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวอันเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สําคัญของสังคม
2. รัฐจึงส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นพลเมืองที่ดี มีคุณภาพและความสามารถสูงขึ้น
3. รัฐจึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาส ให้สามารถดํารงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ
4. ในการจัดสรรงบประมาณ รัฐจึงคํานึงถึงความจําเป็นและความต้องการที่แตกต่างกันของ เพศ วัย และสภาพของบุคคล

78. รัฐจึงส่งเสริมและให้ความคุ้มครองชาวไทยกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ให้มีสิทธิดํารงชีวิตในสังคมตามวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตดั้งเดิมตามความสมัครใจได้อย่างสงบสุข ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 64
(2) มาตรา 65
(3) มาตรา 68
(4) มาตรา 70
(5) มาตรา 71
ตอบ 4 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 70 บัญญัติให้ รัฐจึงส่งเสริมและให้ความ คุ้มครองชาวไทยกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ให้มีสิทธิดํารงชีวิตในสังคมตามวัฒนธรรม ประเพณี ะวิถีชีวิตดั้งเดิมตามความสมัครใจได้อย่างสงบสุข ไม่ถูกรบกวน ทั้งนี้เท่าที่ไม่เป็นการขัดต่อ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐหรือสุขภาพอนามัย

79. รัฐพึงจัดให้มีและส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศิลปวิทยาการแขนงต่าง ๆ ให้เกิดความรู้ การพัฒนา และนวัตกรรม ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 69
(2) มาตรา 74
(3) มาตรา 75
(4) มาตรา 76
(5) มาตรา 78
ตอบ 1 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 69 บัญญัติให้ รัฐพึงจัดให้มีและส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศิลปวิทยาการแขนงต่าง ๆ ให้เกิดความรู้ การพัฒนา และนวัตกรรม เพื่อความเข้มแข็งของสังคม และเสริมสร้างความสามารถของคนในชาติ

80. รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
ตรงตามมาตราใด
(1) มาตรา 68
(2) มาตรา 75
(3) มาตรา 76
(4) มาตรา 77
(5) มาตรา 78
ตอบ 1 (คําบรรยาย) รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 68 บัญญัติไว้ดังนี้
1. รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยสะดวก รวดเร็ว และไม่เสียค่าใช้จ่ายสูงเกินสมควร
2. รัฐจึงมีมาตรการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรม ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ โดยเคร่งครัด ปราศจากการแทรกแซงหรือครอบงําใด ๆ
3. รัฐจึงให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายที่จําเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาส ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม รวมตลอดถึงการจัดหาทนายความให้

ตั้งแต่ข้อ 81 – 90. จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามในเนื้อหาของเทคนิค
ในการประเมินผลนโยบาย
(1) Format Evaluation
(2) Decision Theoretical Evaluation
(3) Policy Delphi
(4) Interrupted Time Series Analysis
(5) Regression-Discontinuity Analysis

81. เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้ประเมินผลนโยบายสามารถพิจารณาผลของนโยบายได้อย่างเป็นระบบ โดยสามารถ แยกแยะผลของนโยบายที่เกิดขึ้นจริงได้จากผลที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุอื่น
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 29. ประกอบ

82. เป็นเทคนิคที่เหมาะสําหรับการประเมินผลนโยบายที่มีกลุ่มเป้าหมายหลักเพียงกลุ่มเดียวหรือมีขอบเขต
การดําเนินงานที่แน่นอนเพียงแห่งเดียว
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 29. ประกอบ

83.เป็นเทคนิคที่มีหลักการ 5 ประการ คือ Selective Anonymity, Informed Multiple Advocacy, Polarized Statistical Response, Structured Conflict, Computer Conferencing
ตอบ 3 หน้า 260 – 261 วิธีเดลฟีเชิงนโยบาย (Policy Delphi) มีหลักการสําคัญ 5 ประการ คือ
1. ความเป็นนิรนามเฉพาะระยะแรก (Selective Anonymity)
2. ผู้เชี่ยวชาญต่างสํานัก (Informed Multiple Advocacy)
3. การวิเคราะห์ทางสถิติแบบแยกกลุ่ม (Polarized Statistical Response)
4. การจัดโครงสร้างความขัดแย้ง (Structured Conflict)
5. การประชุมโดยคอมพิวเตอร์ (Computer Conferencing)

84. เป็นเทคนิคที่ประกอบไปด้วย การประเมินความสามารถที่จะประเมินได้ และการวิเคราะห์อรรถประโยชน์
แบบพหุลักษณ์
ตอบ 2 หน้า 254 – 255 การประเมินผลแบบพิจารณาความเหมาะสม (Decision Theoretical Evaluation) เป็นเทคนิคการประเมินผลที่มุ่งสร้างข่าวสารที่ถูกต้องและเชื่อถือได้เกี่ยวกับผลของนโยบายโดยใช้คุณค่าหรือผลประโยชน์ที่ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ได้รับเป็นเกณฑ์ประเมิน ซึ่งรูปแบบของการประเมินผลแบบนี้มี 2 รูปแบบด้วยกัน คือ การประเมินความสามารถที่จะ ประเมินได้ และการวิเคราะห์อรรถประโยชน์แบบพหุลักษณ์

85. เป็นเทคนิคที่เหมาะสําหรับการประเมินผลตามแนวการทดลองทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทดลอง ที่มีการกําหนดกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มควบคุมเอาไว้เรียบร้อยแล้ว
ตอบ 5 หน้า 265 การวิเคราะห์เชิงถดถอยแบบไม่ต่อเนื่อง (Regression-Discontinuity Analysis) เป็นเทคนิคที่ช่วยในการประเมินผลแบบเทียม โดยช่วยให้ผู้ประเมินผลสามารถคํานวณและเปรียบเทียบผลโดยประมาณของนโยบายที่เกิดขึ้นในกลุ่มเป้าหมายที่กําหนดไว้และกลุ่มเปรียบเทียบที่นํามาพิจารณา เทคนิคนี้เหมาะสําหรับการประเมินผลตามแนวการทดลองทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทดลองที่มีการกําหนดกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มควบคุมเอาไว้ เรียบร้อยแล้ว

86. เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ข้อมูล เหตุผล และข้อสรุปที่ละเอียดครอบคลุมความเห็นของทุกกลุ่มทุกฝ่าย ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในนโยบาย เป็นประโยชน์ต่อผู้กําหนดนโยบายในการตัดสินใจว่าอะไรแน่ ที่เป็นผลของนโยบายนั้น ๆ
ตอบ 3 หน้า 264 ประโยชน์ของวิธีเดลฟีเชิงนโยบาย (Policy Delphi) คือ สามารถให้ข้อมูล เหตุผล และข้อสรุปที่ละเอียดครอบคลุมความเห็นของทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่มีส่วนได้ส่วนเสียในนโยบาย การประเมินจึงครอบคลุมกว้างขวางรวมทุกประเด็นไว้หมด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ อย่างมากต่อผู้กําหนดนโยบายในการตัดสินใจว่าอะไรแน่ที่เป็นผลของนโยบายนั้น ๆ

87. เป็นเทคนิคที่ช่วยในการประเมินผลแบบเทียม โดยช่วยให้ผู้ประเมินผลสามารถคํานวณและเปรียบเทียบผลโดยประมาณของนโยบายที่เกิดขึ้นในกลุ่มเป้าหมายที่กําหนดไว้และกลุ่มเปรียบเทียบที่นํามาพิจารณา
ตอบ 5 ดูคําอธิบายข้อ 85. ประกอบ

88. เป็นเทคนิคที่นําเอาข้อคิดและความเห็นของผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สูงในเนื้อหาและเรื่องราว ของนโยบายที่กําลังประเมินมาประมวลและเปรียบเทียบกันเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับผลของนโยบาย
ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 30. ประกอบ

89. เป็นเทคนิคที่เน้นประเมินผลนโยบายจากวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายที่กําหนดไว้อย่างเป็นทางการ โดยเชื่อว่าวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กําหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยผู้กําหนดนโยบายเป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมแล้ว
ตอบ 1 หน้า 251 – 252 การประเมินผลแบบเป็นทางการ (Formal Evaluation) เป็นเทคนิค ที่ใช้วิธีการที่เป็นวิทยาศาสตร์ในการสร้างข่าวสารที่ถูกต้องและเชื่อถือได้เกี่ยวกับผลของนโยบาย โดยประเมินผลของนโยบายจากวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายที่กําหนดไว้ อย่างเป็นทางการ เพราะเชื่อว่าวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กําหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยผู้กําหนดนโยบายเป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมแล้ว

90. เป็นเทคนิคที่ช่วยให้เห็นการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังการนํานโยบายไปปฏิบัติในรูปของ ตารางและ/หรือค่าทางสถิติ และกราฟแบบต่าง ๆ
ตอบ 4 ดูคําอธิบายข้อ 29. ประกอบ

ตั้งแต่ข้อ 91 – 95. จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามตามเนื้อหาของการประเมินผลนโยบาย

(1) Emil J. Posavac & Raymond G. Carey
(2) James E. Anderson
(3) Charles O. Jones
(4) William N. Dunn
(5) ศุภชัย ยาวะประภาษ

91. ใครกล่าวว่า การประเมินผลเกี่ยวข้องกับกระบวนการวัดคุณค่าของผลการดําเนินการตามนโยบายเพื่อที่จะนํามาเปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้
ตอบ 5 หน้า 230 ศุภชัย ยาวะประภาษ กล่าวว่า การประเมินผลเกี่ยวข้องกับกระบวนการวัดคุณค่า ของผลการดําเนินการตามนโยบายเพื่อที่จะนํามาเปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ ที่กําหนดไว้ ซึ่งการประเมินผลนี้ไม่ได้แยกเป็นเอกเทศจากขั้นตอนนโยบายอื่น แต่เกี่ยวข้องกันตลอดเวลา

92. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นขั้นตอนหนึ่งของการวิเคราะห์นโยบาย โดยเป็นขั้นตอน ที่มุ่งผลิตข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับผลของการดําเนินงานตามนโยบายว่าสามารถสนองความต้องการของสังคม สนองคุณค่าของสังคม และแก้ไขปัญหาที่เป็นเป้าหมายของนโยบายได้หรือไม่
ตอบ 4 หน้า 229 วิลเลียม เอ็น, ดันน์ (William N. Dunn) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบาย เป็นขั้นตอนหนึ่งของการวิเคราะห์นโยบาย โดยเป็นขั้นตอนที่มุ่งผลิตข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับผลของการดําเนินงานตามนโยบายว่าสามารถสนองความต้องการของสังคม สนองคุณค่า ของสังคม และแก้ไขปัญหาที่เป็นเป้าหมายของนโยบายได้หรือไม่

93. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นการกระทําที่มีระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบถึงผลของนโยบายโดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กําหนดไว้กับผลกระทบของการดําเนินการตามนโยบายที่มีต่อปัญหาของ
สังคมที่เป็นเป้าหมายที่นโยบายนั้นมุ่งแก้ไข
ตอบ 3 หน้า 229 ชาร์ลส์ โอ. โจนส์ (Charles O. Jones) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบาย เป็นการกระทําที่มีระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบถึงผลของนโยบายโดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กําหนดไว้กับผลกระทบของการดําเนินการตามนโยบายที่มีต่อปัญหาของสังคมที่เป็นเป้าหมายที่นโยบายนั้นมุ่งแก้ไข

94. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประมาณการ การเปรียบเทียบผลของ
การนํานโยบายไปปฏิบัติกับสิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่กระทําอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
ในทุกขั้นตอนนโยบาย
ตอบ 2 หน้า 229 เจมส์ อี. แอนเดอร์สัน (James E. Anderson) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบาย เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประมาณการ การเปรียบเทียบผลของการนํานโยบายไปปฏิบัติ กับสิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่กระทําอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาในทุกขั้นตอนของนโยบาย

95. ใครกล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นการใช้วิธีและทักษะหลาย ๆ ด้านเพื่อที่จะตกลงใจว่านโยบาย ที่กําหนดไว้นั้นจําเป็นหรือไม่ ควรจะใช้หรือไม่ ดําเนินการไปตามที่วางไว้หรือไม่ ช่วยแก้ไขปัญหาตามที่ มุ่งหวังไว้หรือไม่
ตอบ 1 หน้า 228 อีมิล เจ. โพซาวัค และเรย์มอนด์ จี. แครี (Emit J. Posavac & Raymond G. Carey) กล่าวว่า การประเมินผลนโยบายเป็นการใช้วิธีการหลายวิธีและทักษะหลาย ๆ ด้านเพื่อที่จะตกลงใจว่านโยบายที่กําหนดไว้นั้นจําเป็นหรือไม่ ควรจะใช้หรือไม่ ดําเนินการไปตามที่วางไว้ หรือไม่ ช่วยแก้ไขปัญหาตามที่มุ่งหวังไว้หรือไม่

ตั้งแต่ข้อ 96. – 100. จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธ์กับข้อคําถามตามเนื้อหาของวิธีการประเมินผล นโยบาย
(1) การวิจัยเชิงประเมินในรูปแบบทดลอง
(2) การวิจัยเชิงประเมินในรูปแบบกึ่งทดลอง
(3) การวิจัยเชิงประเมินแบบเตรียมทดลอง
(4) การวิจัยเชิงประเมินแบบทดสอบความต่าง
(5) ผิดทุกข้อ

96. ไม่สามารถจะไปประเมินกระบวนการทั้งหมดของนโยบายได้ จะนําไปใช้ได้เฉพาะในเรื่องของ Input และProduct เท่านั้น
ตอบ 1 หน้า 234 – 235 การวิจัยเชิงประเมินในรูปแบบทดลอง หรือการประเมินผลด้วยวิธีการทดลอง (Experirnental Design) มีข้อจํากัดดังนี้
1. วิธีการที่ใช้ในการแบ่งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมักมีปัญหาในทางปฏิบัติ เช่น การมีผลประโยชน์ในการเลือกกลุ่มเข้ามาเกี่ยวข้อง หรือการมีลักษณะความเคร่งครัด ในการเลือกกลุ่มในทางปฏิบัติจะมีน้อย
2. วิธีการทดลองไม่สามารถจะไปประเมินกระบวนการทั้งหมดของนโยบายได้ จะนําไปใช้ได้ เฉพาะในเรื่องของ Input และ Product เท่านั้น
3. วิธีการทดลองไม่สามารถควบคุมความเที่ยงตรงภายนอกได้ จึงทําให้ผลที่ได้มาจาก การทดลองอาจจะไม่เหมือนกับผลที่ได้มาจากการดําเนินการจริง ฯลฯ

97. การมีผลประโยชน์ในการเลือกกลุ่มเข้ามาเกี่ยวข้อง หรือการมีลักษณะความเคร่งครัดในการเลือกกลุ่มในทางปฏิบัติจะมีน้อย
ตอบ 1 ดูคําอธิบายข้อ 96. ประกอบ

98. มีวิธีการที่สําคัญวิธีหนึ่งคือ การจับคู่ (Matching) การแสวงหาคู่ในระดับบุคคล พื้นที่ หรือหน่วยการทดลอง ที่เกี่ยวข้องที่มีความคล้ายคลึงกันตั้งแต่หนึ่งคุณลักษณะที่ศึกษา
ตอบ 2 หน้า 235 – 236 การวิจัยเชิงประเมินในรูปแบบกึ่งทดลอง หรือการประเมินผลด้วยวิธี กึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) มีลักษณะสําคัญดังนี้
1. ในกรณีที่เงื่อนไขไม่เอื้ออํานวยที่จะใช้การประเมินผลด้วยวิธีการทดลอง วิธีการนี้จะทําให้ได้เปรียบในการนําไปปฏิบัติ โดยผู้ใช้จะต้องยอมรับเบื้องต้นก่อนว่าวิธีการที่จะนําไปใช้มีความสนใจที่ปัจจัยใดบ้างและปล่อยให้ปัจจัยใดบ้างปราศจากการควบคุม
2. มีวิธีการที่สําคัญวิธีหนึ่งคือ การจับคู่ (Matching) ได้แก่ การแสวงหาคู่ในระดับบุคคล พื้นที่ หรือหน่วยการทดลองที่เกี่ยวข้องที่มีความคล้ายคลึงกันตั้งแต่หนึ่งคุณลักษณะที่ศึกษา
3. วิธีการนี้มีความมุ่งหมายที่จะทําให้การตีความต่าง ๆ ถูกต้อง เพื่อที่จะแสดงให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นผลมาจากโครงการ ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คําอธิบายในผลลัพธ์ ที่ถูกต้องจะแสดงให้เห็นถึงการไม่มีการเปลี่ยนแปลง นอกเหนือไปจากการแสดงให้เห็น ความล้มเหลวของโครงการ ฯลฯ

99. มีความมุ่งหมายที่จะทําให้การตีความต่าง ๆ ถูกต้อง เพื่อที่จะแสดงให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เป็นผลมาจากโครงการ มีบ่อยครั้งที่คําอธิบายในผลลัพธ์ที่ถูกต้องจะแสดงให้เห็นถึงการไม่มีการเปลี่ยนแปลงนอกเหนือไปจากการแสดงให้เห็นความล้มเหลวของโครงการ
ตอบ 2 ดูคําอธิบายข้อ 98. ประกอบ

100. แบบศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากที่ได้นําโครงการเข้ามาใช้โดยมีกลุ่มควบคุมที่ได้มาโดยมิได้มีการ สุ่มตัวอย่าง ข้อดี ทําให้ผู้ประเมินได้รับรายละเอียดและมโนภาพมากมาย ทําให้เกิดการตื่นตัวและรับรู้ เรื่องราวต่าง ๆ มากขึ้น
ตอบ 3 หน้า 236 – 237 การวิจัยเชิงประเมินแบบเตรียมทดลอง หรือการประเมินผลด้วยวิธีเตรียมทดลอง (Pre–Experimental Design) แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ แบบศึกษาก่อนและ หลังจากที่ได้นําโครงการหนึ่ง ๆ เข้ามาใช้ แบบศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากที่ได้นําโครงการ เข้ามาใช้แล้วเพียงอย่างเดียว และแบบศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากที่ได้นําโครงการเข้ามาใช้ โดยมีกลุ่มควบคุมที่ได้มาโดยมิได้มีการสุ่มตัวอย่าง ซึ่งข้อดีของการประเมินผลด้วยวิธีการนี้ คือ
1. ทําให้ผู้ประเมินได้รับรายละเอียดและมโนภาพมากมาย
2. ทําให้เกิดการตื่นตัวและรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ มากขึ้น
3. ทําให้ผู้ประเมินได้รับข้อมูลข่าวสารด้วยความระมัดระวังและเป็นระบบ

WordPress Ads
error: Content is protected !!